You are on page 1of 30

The Fourier Transform

อ.สมชาย อรุณรุงรัศมี
ปญหาของ CTFS
• CTFS เปนเครื่องมือสําหรับการวิเคราะหสัญญาณซ้ําคาบที่ดี แต
CTFS นั้นไมสามารถวิเคราะหสัญญาณที่ไมซ้ําคาบได
• อยางไรก็ตามถาเรามีการปรับเปลี่ยน CTFS เปน
continuous-time Fourier transform (CTFT)
ก็จะทําใหเราสามารถวิเคราะหสัญญาณไมซ้ําคาบได

8/27/2004 2
การเปลี่ยน CTFS เปน CTF
w
ลองพิจารณา periodic pulse-train signal, x(t), ทีม่ ี duty cycle =
T0

Aw ⎛ kw ⎞
จากที่เรียนมาเราจะได CTFS ของสัญญาณ Î X[k ] = sinc⎜ ⎟
T0 ⎝ T0 ⎠
ถาใหคาบเวลา T0 เพิ่มขึน้ โดยให w คงทีไ่ ว จะทําให duty cycle ลดลง
เมื่อคาบเวลามีคามากขึ้นจนเขาใกลอนันต (ซึง่ จะทําให duty cycle กลายเปนศูนย)
ดังนัน้ สัญญาณ x(t) ก็จะไมเปนสัญญาณซ้ําคาบอีกตอไป
8/27/2004 3
การเปลี่ยน CTFS เปน CTF
เพื่อความเขาใจถึงพฤติกรรมของ CTFS เมื่อ duty cycle ลดลง(คาบเวลามากขึ้น) รูป
ดานลางแสดงใหเห็นถึง magnitude spectrum ของ X[k] เมื่อ duty เปลี่ยนจาก
50% เปน 10% ซึง่ เราจะเห็นไดวาเมื่อคาบเวลาสูงขึ้นจะทําให sinc function กวางมากขึ้น
และขนาดของ spectrum ลดลง ถาคาบเวลามีคาจนเขาสูอนันตจะทําให harmonic
function ของ CTFS กวางขึน้ อยางไมมีที่สนิ้ สุด สวนขนาดก็จะลดลงจนกลายเปนศูนย

T0 T0
w= w=
2 10

8/27/2004 4
การเปลี่ยน CTFS เปน CTF
ปญหาของการที่คาบเวลามีคาเขาสูอนันตแลวทําให ขนาดของ harmonics ลดลงจนเปนศูนยนั้น
สามารถแกไขไดดวยการ normalizing ใหกับ CTFS harmonic function
โดยเราจะนิยาม harmonic function ตัวใหมวา modified CTFS
T0 X[k ] = Aw sinc(w(kf0 ))
สวนแกน x ปกติเราจะเปนคาของ k ก็เปลี่ยนเปน kf0 แทน

8/27/2004 5
การเปลี่ยน CTFS เปน CTF
เมื่อ limit ของการอินทริเกทเขาสูอนันตจะทําให modified CTFS กลายเปนฟงกชั่น
ตอเนื่อง ซึง่ หมายถึงวาความถี่กลายเปนฟงกชั่นตอเนื่อง (continuous frequency)
f ( kf0 ). และเราจะเรียก modified CTFS วา CT Fourier Transform

8/27/2004 6
นิยามของ CTFT
Forward f form Inverse
∞ ∞

X( f ) = F (x(t )) = ∫ x (t )e − j2 πft
dt x(t ) = F -1
(X( f )) = ∫ X( f )e + j 2πft df
−∞ −∞

Forward ω form Inverse


∞ ∞
1
X( jω ) = F (x(t )) = ∫ x(t )e− jωt dt x(t ) = F (X( jω )) =
-1
∫ X( j ω )e + jωt

−∞
2π −∞

สัญลักษณที่ใชกันทั่วไป:
x(t )←⎯→ X( f ) x(t )←⎯→ X( jω )
F F
or
8/27/2004 7
นัยที่นาสนใจของ Fourier Transform

The CTFT expresses a finite-amplitude, real-valued, aperiodic


signal which can also, in general, be time-limited, as a summation
(an integral) of an infinite continuum of weighted, infinitesimal-
amplitude, complex sinusoids, each of which is unlimited in
time. (Time limited means “having non-zero values only for a
finite time.”)

8/27/2004 8
องคประกอบความถี่

Lowpass Highpass

Bandpass

8/27/2004 9
การลูเขาและ Generalized Fourier Transform

ให x(t ) = A ดังนั้น CTFT ของสัญญาณคือ

∞ ∞

X( f ) = ∫ Ae − j 2πft dt = A ∫ e− j 2πft dt
−∞ −∞

จะเห็นไดวา X(f) นั้นไมลูเขา ซึง่ ทําใหเรา


ไมสามารถหาคา CTFT ได

8/27/2004 10
การลูเขาและ Generalized Fourier Transform
จากสไลดหนาที่แลวเราพบวาเราไมสามารถหาคา
CTFT ของคาคงที่ A ได แตถาเราคูณคาคงที่ A
ดวย e-σ|t| จะทําใหเราสามารหาคา CTFT ได

x σ (t ) = Ae− σ t , σ > 0

ดังนัน้ CTFT integral คือ


Xσ ( f ) = ∫ Ae−σ t e − j 2πft dt
−∞

ซึง่ จะเห็นไดวาเราสามารถหาคา
CTFT ของสัญญาณได

8/27/2004 11
การลูเขาและ Generalized Fourier Transform

ผลของ CTFT หลังทําการอินทิเกรทจะได, Xσ ( f ) = A 2 2 .
σ + (2πf )
เมื่อทําการให σ มีคาเปนศูนย

ถา f ≠ 0 ดังนัน้ lim A 2 2 = 0 และเราจะเห็นไดวาพืน
้ ทีข่ องมันคือ
σ →0 σ + (2πf )


Area = A ∫ 2 2 df
−∞ σ + (2πf )

และผลที่ไดคือ A ซึง่ แสดงใหเห็นวามันอิสระกับคาของ σ ดังนั้นเมื่อ σ เขาสูศูนย CTFT


จะมีพื้นทีใ่ ตกราฟเทากับ A และจะเปนศูนยเมื่อ f = 0 และถา f≠0 เราจะไดพื้นที่ใตกราฟเปน
ศูนยซงึ่ จะเห็นไดวามันเปนกรณีเดียวกับสัญญาณ impulse ดังนัน้ จึงนิยามผลลัพธของ CTFT
ของคาคงที่ A ดังนี้
A ←⎯→ Aδ ( f )
F

8/27/2004 12
การลูเขาและ Generalized Fourier Transform

จากกระบวนการหาคา CTFT ของคาคงที่ A เราจะกลาวไดวา

1
cos(2π f0 t )←⎯→ [δ ( f − f0 )+ δ ( f + f0 )]
F

2
และ
sin(2πf0 t )←⎯→ [δ ( f + f0 )− δ ( f − f0 )]
jF

จะเห็นวาผลของ CTFT ที่ไดเกี่ยวของกับสัญญาณ impulses เราจึงขอเรียก


CTFT ที่มีผลลัพธทเี่ กี่ยวของกับ impulse วา
generalized Fourier transforms
8/27/2004 13
การลูเขาและ Generalized Fourier Transform

8/27/2004 14
ความถี่ทเี่ ปนลบ
สัญญาณดานลางนี้คือสัญญาณที่อยูในรูปของ Sinusoid

ซึง่ เราสามารถบรรยายไดดวยสมการ
⎛ 2πt ⎞
x(t ) = Acos⎜ ⎟ = A cos(2πf0t )
⎝ T0 ⎠
หรือเขียนในรูปของความถี่ที่ติดลบได
x(t ) = Acos(2π (− f0 )t )
8/27/2004 15
ความถี่ทเี่ ปนลบ
ดังนัน x(t) สามารถบรรยายไดดวยสมการ

e j 2πf0 t + e − j 2 πf 0 t
x(t ) = A
2
หรือ
x(t ) = A1 cos(2πf0t ) + A2 cos(2π (− f0 )t ) , A1 + A2 = A

ดังจะเห็นไดวาความถี่ที่เปนลบและบวกนั้นไมไดสําคัญตอการอธิบายสัญญาณแตอยางใด

8/27/2004 16
คุณสมบัตขิ อง CTFT
ถา F (x(t )) = X( f ) หรือX( jω ) และ F (y(t )) = Y( f ) หรือY( jω )
ดังนัน้ คุณสมบัติของ CTFT จะเปนดังนี้

α x(t ) + β y(t )←⎯


F
→ α X( f ) + β Y( f )
Linearity
α x(t ) + β y(t )←⎯
F
→ α X( jω ) + β Y( jω )

8/27/2004 17
คุณสมบัตขิ อง CTFT

Time Shifting

x(t − t 0 )←⎯→ X( f )e− j 2πft0


F

x(t − t 0 )←⎯→ X( jω )e− jωt0


F

8/27/2004 18
คุณสมบัตขิ อง CTFT

Frequency Shifting

x(t )e + j2 πf0 t ←⎯→ X( f − f0 )


F

x(t )e + jω 0 t ←⎯→ X(ω − ω 0 )


F

8/27/2004 19
คุณสมบัตขิ อง CTFT
1 ⎛ f⎞
x(at )←⎯→ X
F

a ⎝ a⎠
Time Scaling 1 ⎛ ω⎞
x(at )←⎯→ X j
F

a ⎝ a⎠

1 ⎛t⎞ F
x ←⎯→ X(af )
a ⎝ a⎠
Frequency Scaling 1 ⎛t⎞ F
x ←⎯→ X( jaω )

a a ⎠

8/27/2004 20
The “Uncertainty” Principle
The time and frequency scaling properties indicate that if a signal
is expanded in one domain it is compressed in the other domain.
This is called the “uncertainty principle” of Fourier analysis.

2 2
−πt F −πf
e ←⎯→ e

2
⎛ t⎞
−π
− π (2 f )
2
⎝ 2⎠ F
e ←⎯→ 2e

8/27/2004 21
คุณสมบัตขิ อง CTFT
x *(t )←⎯→ X* (− f )
F
Transform of a Conjugate
x *(t )←⎯→ X* (− jω )
F

x(t )∗ y(t )←⎯→ X( f )Y( f )


F

x(t )∗ y(t )←⎯→ X( jω )Y( jω )


F
Multiplication-Convolution
Duality
x(t )y(t )←⎯→ X( f )∗ Y( f )
F

1
x(t )y(t )←⎯→
F
X( jω )∗ Y( jω )

8/27/2004 22
คุณสมบัตขิ อง CTFT

8/27/2004 23
คุณสมบัตขิ อง CTFT
An important consequence of multiplication-convolution
duality is the concept of the transfer function.

In the frequency domain, the cascade connection multiplies


the transfer functions instead of convolving the impulse
responses.

8/27/2004 24
คุณสมบัตขิ อง CTFT
d
(x(t ))←⎯F → j2πf X( f )
dt
Time
Differentiation d
(x(t ))←⎯F → jω X( jω )
dt

1
x(t )cos(2πf0 t )←⎯→
F

2
[X( f − f0 )+ X( f + f0 )]
Modulation 1
x(t )cos(ω 0t )←⎯→
F

2
[
X( j(ω − ω 0 ))+ X(j(ω + ω 0 )) ]
∞ ∞

Transforms of
x(t ) = ∑ X[k ]e − j 2π ( kfF )t
←⎯→ X( f ) =
F
∑ X[k ]δ ( f − kf )
0
k =−∞ k =−∞
∞ ∞
Periodic Signals x(t ) = ∑ X[k ]e − j ( kω F )t
←⎯→ X( jω ) = 2π
F
∑ X[k ]δ (ω − kω )
0
k =−∞ k =−∞

8/27/2004 25
คุณสมบัตขิ อง CTFT

8/27/2004 26
คุณสมบัตขิ อง CTFT
∞ ∞

∫ x(t ) dt = ∫ X( f ) df
2 2

−∞ −∞
Parseval’s ∞ ∞
1
∫−∞ x(t ) dt = 2π −∞∫ X( jω ) df
2 2
Theorem


Integral Definition
∫ e− j 2 πxydy = δ (x)
of an Impulse −∞

X(t )←⎯→ x(− f ) and X(−t )←⎯→ x( f )


F F

Duality
X( jt )←⎯→ 2π x(−ω ) and X(− jt )←⎯→ 2π x(ω )
F F

8/27/2004 27
คุณสมบัตขิ อง CTFT
⎡∞ ⎤ ∞

X(0 ) = ⎢ ∫ x(t )e − j2 πft dt ⎥ = ∫ x(t )dt


⎣ −∞ ⎦ f →0 −∞
⎡∞ ⎤ ∞

x(0 ) = ⎢ ∫ X( f )e + j 2πft df ⎥ = ∫ X( f )df


Total-Area ⎣ −∞ ⎦ t→0 −∞
Integral ⎡∞ ⎤ ∞

X(0 ) = ⎢ ∫ x(t )e − jωt dt ⎥ = ∫ x(t )dt


⎣ −∞ ⎦ ω →0 −∞
⎡1 ∞ ⎤ 1

x(0 ) = ⎢ ∫ X ( jω ) e + jωt
dω ⎥ = ∫ X( jω )dω
⎣ 2π −∞ ⎦ t→0 2π −∞
X( f ) 1
t

∫−∞ x(λ )dλ ←⎯→ j2πf + 2 X(0)δ ( f )


F

Integration
X( jω )
t

∫−∞ x(λ )dλ ←⎯→ jω + π X(0)δ (ω )


F

8/27/2004 28
คุณสมบัตขิ อง CTFT

X(0 ) = ∫ x(t )dt


−∞

x(0 ) = ∫ X( f )df
−∞

8/27/2004 29
คุณสมบัตขิ อง CTFT

8/27/2004 30

You might also like