You are on page 1of 5

ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ซอฟต์ แวร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer program) คือ กลุ่มชุดคำสัง่ ที่ใช้อธิ บายชิ้นงาน หรื อกลุ่ม
งานที่จะประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์อาจหมายถึง ซอฟต์แวร์ แอปพลิเคชัน
หรื อ โปรแกรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่น้ นั เป็ นชุดคำสัง่ ที่ออกแบบตามอัลกอริ ทึม โดย
ปกติแล้วเขียนโดยโปรแกรมเมอร์ หรื อไม่กส็ ร้างโดยโปรแกรมอื่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชุด หนึ่ง
ๆ อาจเขียนขึ้นด้วยระบบรหัส หรื อที่เรี ยกว่า ภาษาเครื่ อง ซึ่ งมักเขียนได้ยากและเหมาะกับช่าง
เทคนิคเฉพาะทาง ภายหลังจึงได้มีการสร้างภาษาโปรแกรมที่ใกล้เคียงภาษามนุษย์มากขึ้ น เช่น ภาษา
แอสเซมบลี (Assembly) ภาษาซี (C) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาเบสิ ก (BASIC) ภาษา C# ภาษา
จาวา เป็ นต้น ผูเ้ ขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์อาจเขียนโปรแกรมไว้ใช้ส่วนตัว หรื อเพื่อให้ผอู ้ ื่นใช้ต่อ
ไม่วา่ จะเป็ นโปรแกรมประยุกต์หรื อไลบรารี เช่น โปรแกรมสำหรับวาดภาพ (graphics) โปรแกรม
ประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมตารางจัดการ (spread sheet) โปรแกรมระบบ (systems
software) ซึ่ งเป็ นโปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยมักติดตั้งมาจากโรงงาน
ที่ผลิต และโปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ (operating system) ที่จะทำหน้าที่เหมือนผูจ้ ดั การคอยดูแลให้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานให้ประสานกัน ในการเขียนโปรแกรม ผูเ้ ขียนจะต้องเข้าใจขั้นตอนวิธี (อัลกอ
ริ ทึม) และภาษาที่จะใช้เป็ นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมเครื่ องให้ทำงานได้ตาม
ความต้องการ

ซอฟต์ แวร์

ซอฟต์ แวร์ (software) หรื อ ส่ วนชุ ดคำสั่ ง เป็ นส่ วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ ใช้ในการจัดเก็บและ
ประมวลผลข้อมูล ซอฟต์แวร์น้ นั นอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้
งานบนเครื่ องใช้ หรื ออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรื อหุ่นยนต์ในโรงงาน หรื อเครื่ องใช้ไฟฟ้ า
ต่าง ๆ คำว่า "ซอฟต์แวร์ " ใช้ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู. เทอร์กีย ์ (John W. Turkey) ในปี พ.ศ.
2500 (ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏครั้งแรกในเรี ยงความของแอลัน ทัวริ ง บิดาของ
วิทยาการคอมพิวเตอร์ กล่าวกันว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชิ้นแรกของโลกเขียนโดยเอดา ไบรอน
เป็ นโปรแกรมที่ใช้สำหรับเครื่ องวิเคราะห์ (analytical engine) ของชาร์ลส แบบเบจ

ประเภทของซอฟต์ แวร์

การแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์แบ่งออกได้เป็ นหลายแบบ เช่น

1. การแบ่งเชิงเทคนิค อาจแบ่งซอฟต์แวร์เป็ น 3 ประเภทหลักคือ


o ซอฟต์แวร์ระบบ (System/Infrastructure software) ใช้ในการทำให้คอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์ทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยรวมถึงระบบปฏิบตั ิการ ไดรเวอร์
และระบบหลักของคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ
o โปรแกรมประยุกต์ หรื อซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software) ช่วยให้ผใู ้ ช้
งานสามารถดำเนินงานต่าง ๆ โดยทัว่ ไปเช่น โปรแกรมสำนักงาน ฐานข้อมูล
คอมพิวเตอร์เกม เว็บเบราว์เซอร์ โดยโปรแกรมประยุกต์จะมี จียไู อ
o โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Tools/Utilities) ประกอบไปด้วยเครื่ องมือช่วยให้
โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมอื่น ๆ หรื อโปรแกรมประยุกต์ได้ เครื่ องมือต่าง ๆ
ประกอบไปด้วย คอมไพเลอร์ อินเตอร์พรี เตอร์ ดีบกั เกอร์
2. การแบ่งตามรู ปแบบการส่ งมอบ แบ่งได้เป็ น 2 กลุ่มคือ
o ซอฟต์แวร์สำเร็ จรู ป (Package software) ซอฟต์แวร์ที่มีการขาย ให้เช่า หรื อให้
บริ การ โดยคิดค่าบริ การเป็ น transaction หรื อ license
o ซอฟต์แวร์ที่พฒั นาเงินเดือน (Outsources software development) เป็ นการ
ออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อใช้งานเฉพาะกับงานประเภทต่าง ๆ เฉพาะ
กิจกรรมไป ส่ วนใหญ่ลิขสิ ทธิ์ของซอฟต์แวร์น้ ี จะเป็ นของผูท้ ี่วา่ จ้างให้พฒั นาขึ้น
3. การแบ่งตามประเภทของการนำไปใช้งานหลัก แบ่งได้เป็ น 3 กลุ่มคือ
o ซอฟต์แวร์ช่วยในการบริ หารจัดการทัว่ ไป (Enterprise software) เป็ นซอฟต์แวร์ที่
ใช้กบั การทำงานเพื่อแก้ปัญหา/จัดการทรัพยากรของ บุคคล/องค์กร เช่น
ซอฟต์แวร์บญั ชี ซอฟต์แวร์จดั ทำเอกสาร เป็ นต้น
o ซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์พกพาขนาดเล็ก (Mobile applications software) เป็ น
ซอฟต์แวร์ที่ทำงานผ่านระบบปฏิบตั ิการพิเศษบนอุปกรณ์ขนาดเล็ก เช่น โทรศัพท์
มือถือ PDA โดยสามารถแบ่งเป็ นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ (1) ซอฟต์แวร์เพื่อ
สนับสนุนธุรกรรมทางธุรกิจ (Business applications) เช่น Mobile banking,
Mobile payment, GPS on Mobile, Mobile applications for business process
management และ(2) ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับนันทนาการและบันเทิง
(Entertainment applications) ซึ่ งรวมเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่
o ซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัว (Embedded System Software) เป็ นซอฟต์แวร์ซ่ ึ งฝังอยู่
ไว้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เพื่อใช้สำหรับควบคุมการทำงานของอุปกรณ์
นั้นๆ เช่น ระบบ GPRS ระบบทำความเย็นอัจริ ยะ ระบบตรวจสอบย้อนกลับ
เป็ นต้น

ประเภทของซอฟต์ แวร์

1. โปรแกรมประยุกต์

โปรแกรมประยุกต์ หรื อ ซอฟต์ แวร์ แอปพลิเคชัน (อังกฤษ: application software) ในบางครั้งเรี ยก


ย่อว่า แอปพลิเคชัน คือซอฟต์แวร์ประเภทหนึ่งสำหรับใช้งานสำหรับงานเฉพาะทาง ซึ่ งแตกต่างกับ
ซอฟต์แวร์ประเภทอื่น เช่น ระบบปฏิบตั ิการ ที่ใช้สำหรับรับรองการทำงานหลายด้าน โดยไม่
จำเพาะเจาะจง

ตัวอย่างโปรแกรมประยุกต์ เช่น

 โปรแกรมสำหรับการใช้งานอินเทอร์เน็ต เช่น อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ ไฟร์ฟอกซ์ ไฟล์


ซิลลา
 โปรแกรมเล่นเพลง เช่น วินแอมป์ วินโดวส์มีเดียเพลเยอร์ ไอทูนส์
 โปรแกรมสำนักงาน เช่น ไมโครซอฟท์ ออฟฟิ ศ โอเพนออฟฟิ ศ
 โปรแกรมอื่น ๆ เช่น ออโตแคด ไมโครสเตชัน

2.ระบบปฏิบตั ิการ

ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรื อ โอเอส (OS) เป็ นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็ นตัวกลาง


ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์ทวั่ ไป บางครั้งเราอาจะเห็นระบบปฏิบตั ิการเป็ นเฟิ ร์มแวร์
ก็ได้ระบบปฏิบตั ิการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริ การ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่ องการรับส่ งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่ งข้อมูลภาพไปแสดง
ผลที่จอภาพ การส่ งข้อมูลไปเก็บหรื ออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่ งข้อมูลในระบบเครื อข่าย การส่ ง
สัญญานเสี ยงไปออกลำโพง หรื อจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจำ ตามที่ซอฟต์แวร์ประยุกต์ร้องขอ
รวมทั้งทำหน้าที่จดั สรรเวลาการใช้หน่วยประมวลผลกลาง ในกรณี ที่อนุญาตให้รันซอฟต์แวร์ประ
ยุกต์หลายๆ ตัวพร้อมๆ กัน

ระบบปฏิบตั ิการ ช่วยให้ตวั ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ไม่ตอ้ งจัดการเรื่ องเหล่านั้นด้วยตนเอง เพียงแค่เรี ยก


ใช้บริ การจากระบบปฏิบตั ิการก็พอ ทำให้พฒั นาซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้ง่ายขึ้น

ระบบปฏิบตั ิการที่เป็ นที่นิยมในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกวันนี้ ได้แก่ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์


แมคโอเอส และลินุกซ์

นอกจากนี้ ยังมีระบบปฏิบตั ิการตระกูลยูนิกซ์ ซึ่ งได้รับความนิยมในเครื่ องเซิ ร์ฟเวอร์ที่ใช้กนั ใน


หน่วยงาน ระบบปฏิบตั ิการตระกูลยูนิกซ์ที่เป็ นที่รู้จกั กันดี ได้แก่ ยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี เอไอเอกซ์
และโซลาริ ส และรวมถึงลีนุกซ์ซ่ ึ งพัฒนาโดยอาศัยหลักการเดียวกันกับยูนิกซ์

ระบบปฏิบตั ิการบางตัว ถูกออกแบบมาสำหรับการเรี ยนการสอนวิชาระบบปฏิบตั ิการโดยเฉพาะ


เช่น มินิกซ์ ซินู หรื อ พินโทส

ในอุปกรณ์อื่นๆ ที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ก็อาจมีระบบปฏิบตั ิการเช่นกัน เช่น ระบบปฏิบตั ิ


การ ปาล์มโอเอส หรื อ ซิมเบียน ในโทรศัพท์มือถือ หรื อระบบปฏิบตั ิการ TRON ในเครื่ องใช้ไฟฟ้ า
ตามบ้าน
3. โปรแกรมสำเร็จรู ป  (Package Software) 
โปรแกรมสำเร็ จรู ป  (Package Software)  คือ ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในสำนักงานทัว่
ๆ ไป สร้างโดยบริ ษทั ที่มีความชำนาญในด้านนั้น ๆ โดยเฉพาะมีการปรับปรุ งรุ่ น (Version) ของ
ซอฟต์แวร์ให้มีประสิ ทธภาพสูงขึ้นอยูเ่ สมอ สามารถแบ่งออกเป็ นประเภท ตามลักษณะหน้าที่การ
ทำงานได้ดงั นี้ คือ
        -  โปรแกรมประมวลผลคำ   ใช้สำหรับพิมพ์เอกสารรายงานหรื อสร้างตารางแบบต่าง ๆ
        -  โปรแกรมตารางงาน   ใช้สำหรับคำนวณ  สร้างกราฟ  และจัดการด้านฐานข้อมูล
        -  โปรแกรมนำเสนอผลงาน  ใช้ในการนำเสนอผลงานและนำเสนอข้อมูลในรู แปบบสไลด
        -  โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล คือ โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการจัดการฐานข้อมูล
        -  โปรแกรมเว็บเพจ  ใช้ในการเขียนเว็บเพจเพื่อใช้งานในเว็บไซต์ของอินเทอร์เน็ต
        -  โปรแกรมสื่ อสารระยะไกล  ใช้ในการติดต่อสื่ อสารทางอินเตอร์เน็ต
        -  โปรแกรมเขียนแบบ  ใช้ในการออกแบบและเขียนแบบด้านต่าง ๆ เช่น ชิ้นงาน อาคาร
        -  โปรแกรมการฟิ กส์  ใช้ในการสร้างและจัดการรู ปภาพในคอมพิวเตอร์
        -  โปรแกรมเพื่อความบันเทิง ได้แก่ เกมส์  ภาพยนต์และเสี ยงเพลงต่าง ๆ     

ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/samutprakan/kritpa-
on/computer/sec02page03.html

You might also like