You are on page 1of 9

รัฐ

ตอนที่ 2

อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

ขอทดสอบ

1. ลักษณะสําคัญของเผด็จการขอใดถูกตอง
1. บุคคลมีความเสมอภาคเทาเทียมกันทุกสถานภาพ
2. เห็นความสําคัญของประชาชนมากกวาการใชอํานาจรัฐ
3. ไมยอมรับอิทธิพลจากกลุมผลประโยชนและพรรคการเมือง
4. เคารพในความมีเหตุผลและสามารถนําไปใชแกปญหาสังคมได
2. ขอความตอไปนี้ขอใดไมใชหลักการของระบอบการปกครองแบบเผด็จการ
1. รัฐบาลไมสนองความตองการของประชาชน
2. จํากัดสิทธิ เสรีภาพ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
3. ประชาชนมีสวนรวมในการปกครอง โดยการแสดงประชามติ
4. ประชาชนตองปฏิบัติตามความตองการของผูปกครองอยางเครงครัด
3. ขอใดไมใชขอเสียของระบบเผด็จการ
1. ตองใชคาใชจายในการดําเนินการปกครองมาก
2. อาจนําประเทศไปสูความพินาศได
3. คนดีไมมีโอกาสดํารงตําแหนงทางการปกครอง
4. ประชาชนถูกริดรอนสิทธิเสรีภาพ
4. ระบอบเผด็จการเชื่อวาประชาชนจะมีบทบาทอยางไร
1. รับผิดชอบรวมกัน
2. มีสวนรวมในการปกครอง
3. แสดงความคิดเห็น
4. เชื่อฟงคําสั่งของรัฐเทานั้น
5. เผด็จการแบบเบ็ดเสร็จแตกตางจากเผด็จการอํานาจนิยมในขอใด
1. มีผูปกครองคนเดียว ผูปกครองเปนกลุมเล็ก
2. ควบคุมโดยใชกําลังทหารมาบังคับ ควบคุมในทางเศรษฐกิจและสังคม
3. เนนความสําคัญของผูนํามากกวาเนนความสําคัญของรัฐ
4. เนนระบบควบคุมอํานาจโดยตรง เนนการควบคุมอํานาจทางออม
6. ระบอบการปกครองแบบใดที่ประชาชนตองยึดมั่นในผูนํามากที่สุด
1. เผด็จการทุนนิยม 2. เผด็จการสังคมนิยม
3. เผด็จการคอมมิวนิสต 4. เผด็จการฟาสซิสต
7. การปกครองแบบเผด็จการอํานาจนิยม มีความเชื่อเกี่ยวกับรัฐและประชากรอยางไร
1. รัฐเปนสวนประกอบของประชากร ประชากรจึงมีอํานาจเหนือรัฐ
2. ประชากรเปนสวนประกอบของรัฐ รัฐจึงมีอํานาจเหนือประชากร
3. รัฐเปนผูปกปอง และดูแลประชากรในฐานะสวนประกอบสําคัญของรัฐ
4. ประชากรปกปองคุมกันรัฐใหคงอยูในฐานะสวนประกอบสําคัญของรัฐ
8. ขอใดมีลักษณะของระบอบการเมืองการปกครองแบบเผด็จการนอยที่สุด
1. รัฐสังคมนิยม 2. ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย
3. ลัทธิฟาสซิสต 4. ลัทธิคอมมิวนิสต
9. ขอใดคือระบอบการปกครองของอิตาลี สมัยมุสโสลินีเปนผูนํา
1. การปกครองระบอบเผด็จการทหาร
2. การปกครองระบอบเผด็จการฟาสซิสต
3. การปกครองระบอบเผด็จการอํานาจนิยม
4. การปกครองระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต
10. หลักสําคัญในการปกครองแบบประชาธิปไตยคือขอใด
1. สิทธิและหนาที่ของมนุษย 2. สิทธิและเสรีภาพของมนุษย
3. ศักดิ์ศรีและคุณคาของมนุษย 4. การมีสวนรวมทางการเมือง
11. ขอใดเปนการดําเนินการตามประชาธิปไตยโดยตรง
1. การออกเสียงลงประชามติ
2. การใหประชาชนเลือกตั้งนายกรัฐมนตรี
3. การเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล
4. การสมัครเขารับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรดวยตนเอง
12. ขอใดเปนความจําเปนที่สุดที่ตองมีประชาธิปไตยโดยทางออม
1. มีการเลือกผูแทนเขาไปบริหารและตัดสินใจแทนตน
2. ประชาชนจะตองสละเวลามาประชุมสมํ่าเสมอ เอาใจใสบานเมืองเปนประจํา
3. บานเมืองขยายมากขึ้น จึงไมมีสถานที่พอที่จะประชุมพลเมืองไดจํานวนมากๆ
4. ปญหาตางๆ มีมากและยุงยากยิ่งขึ้น ตองใชผูมีความรูและผูมีหนาที่เฉพาะพิจารณา
13. ลักษณะใดที่ไมใชการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
1. ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพในขอบเขตของกฎหมาย
2. ประชาชนมีสิทธิเสมอกันในการไดรับบริการทุกชนิดของรัฐ
3. ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพอยางสมบูรณในดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
4. ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพในดานตางๆ ที่สําคัญตอการดํารงชีวิต แตตองยอมรับสิทธิอัน
ชอบธรรมของผูอื่น
14. การที่ประชาชนในประเทศตางๆ มีสิทธิและเสรีภาพในระดับที่แตกตางกันนั้น เนื่องมาจาก
สาเหตุสําคัญขอใด
1. ระบบกฎหมายของแตละประเทศแตกตางกัน
2. ระบอบการปกครองของแตละประเทศแตกตางกัน
3. อุดมการณทางการเมืองของแตละประเทศแตกตางกัน
4. การใชอํานาจการปกครองของแตละประเทศแตกตางกัน
15. ขอใดหมายถึงระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
1. มีพรรคการเมืองหลายพรรค
2. มีการเลือกตั้งประมุขของประเทศ
3. มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด
4. ประชาชนมีสวนรวมในการปกครอง
16. ขอความใดตอไปนี้มีความเปนประชาธิปไตยมากที่สุด
1. ไมมีรัฐก็ไมมีประชาชน 2. ประชาชนคือรัฐ
3. รัฐเพื่อประชาชน 4. ประชาชนเพื่อรัฐ
17. ปญหาสําคัญของประเทศที่ใชการปกครองแบบประชาธิปไตยประสบมากที่สุดคืออะไร
1. ความลาชาในการแกไขปญหาบานเมือง
2. ความรูสึกไมมั่นคงในชีวิตของประชาชน
3. ผูนําสามารถแสวงหาประโยชนใหตนเอง
4. คณะรัฐบาลขาดหลักประกันดานเสถียรภาพ
18. การที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาควํ่าบาตรทางเศรษฐกิจและการเงินกับรัฐบาลสหภาพพมา เนื่องจาก
ขาดความเปนประชาธิปไตย ขอใดแสดงการสนับสนุนเหตุผลดังกลาว
1. การใชเสียงสวนนอยปกครองประเทศ
2. การใหสิทธิเสรีภาพกับประชาชนนอย
3. การไมมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน
4. การใชระบบรวมอํานาจในการบริหารประเทศ
19. ในการปกครองแบบเผด็จการและประชาธิปไตยนั้นจะพิจารณาจากเรื่องใดเปนสําคัญ
1. ระยะเวลาที่อยูในอํานาจของผูบริหารสูงสุด
2. การจัดบริการ และสวัสดิการของรัฐแกประชาชน
3. ผลประโยชนที่ประชาชนจะไดรับจากการปกครอง
4. การมีสวนรวมในการปกครองของประชาชน
20. หนาที่ของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย และเผด็จการแตกตางกันในเรื่องใดมากที่สุด
1. การเสียภาษีอากรใหกับรัฐ 2. การปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐ
3. การตรวจสอบการบริหารของรัฐ 4. การคุมครองปองกันความมั่นคงของรัฐ
21. การปกครองแบบประชาธิปไตยดีกวาการปกครองแบบเผด็จการเพราะเหตุใด
1. รัฐบาลมีเสถียรภาพ
2. เปนที่ยอมรับของคนสวนใหญ
3. สามารถพัฒนาประเทศไดอยางรวดเร็ว
4. สามารถบริหารไดตรงกับความตองการของประชาชน
22. ขอใดแสดงใหเห็นหลักการประชาธิปไตยที่สําคัญมากกวาขออื่นๆ
1. การปกครองโดยมีรัฐธรรมนูญ 2. การมีพรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
3. อํานาจอธิปไตยเปนของประชาชน 4. การปกครองโดยมีรัฐสภา
23. ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยของอังกฤษมีลักษณะเดนตามขอใด
1. ใหอํานาจสูงสุดแกรัฐสภา
2. ใชระบบสองสภาและมีพรรคการเมืองสองพรรค
3. มีพระมหากษัตริยเปนประมุข
4. พระมหากษัตริยทรงอยูใตรัฐธรรมนูญ
24. ลักษณะเดนของการปกครองแบบรัฐสภาควรจะเปนขอใด
1. รัฐสภามีอํานาจเหนือฝายบริหาร
2. มีสภาผูแทนราษฎรเปนปากเสียงของประชาชน
3. มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ
4. มีพระมหากษัตริยเปนประมุข
25. ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา รัฐสภามีอํานาจหนาที่โดยทั่วไปคือขอใด
1. ออกกฎหมายมาควบคุมรัฐบาลและประชาชน
2. ยับยั้งกฎหมายและลงมติไมไววางใจรัฐบาล
3. ถวายคําแนะนําแกองคพระมหากษัตริยในการตรากฎหมายตางๆ
4. เลือกรัฐบาล ตรากฎหมาย และควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล
26. การปกครองประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีลักษณะสําคัญในขอใด
1. รัฐสภามีอํานาจเหนือรัฐบาล
2. อํานาจทั้งหมดขึ้นอยูกับรัฐสภา
3. ระบบการแบงแยกอํานาจอธิปไตยออกจากกัน
4. รัฐสภากําหนดอํานาจอธิปไตยของประชาชน
27. การปกครองที่ใหอํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และอํานาจตุลาการเปนอิสระเพื่อถวงดุลกัน
คือ การปกครองประชาธิปไตยแบบใด
1. รัฐสภา 2. กึ่งรัฐสภา
3. ประธานาธิบดี 4. กึ่งประธานาธิบดี
28. รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยของประเทศไทยใกลเคียงกับประเทศใดมากที่สุด
1. บรูไน 2. สิงคโปร
3. ลาว 4. เกาหลีใต
29. ในระบอบการปกครองของสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดี รัฐสภา และศาลสามารถถวงดุล
อํานาจกันไดเพราะเหตุใด
1. เปนสถาบันที่ไดอํานาจมาจากประชาชน
2. มีกฎหมายกําหนดการควบคุมซึ่งกันและกันไว
3. มีสถาบันพรรคการเมืองที่เขมแข็งคอยควบคุมอยูภายนอก
4. เปนเหตุผลทางประวัติศาสตรที่มีมาตั้งแตการกอตั้งประเทศ
30. การปกครองประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดี มีหลักการกําหนดเกี่ยวกับอํานาจฝายนิติบัญญัติ
บริหารและตุลาการอยางไร
1. รวมอํานาจไวที่ฝายบริหาร 2. รวมอํานาจไวที่ฝายนิติบัญญัติ
3. แยกเปนอิสระจากกัน 4. แบงแยกอํานาจแตคอยควบคุมกัน
31. ขอใดไมใชการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดี
1. ประธานาธิบดีเปนประมุขของรัฐ
2. ประธานาธิบดีมีอํานาจยุบสภา
3. ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งของประชาชน
4. ประธานาธิบดีมีอํานาจแตงตั้งผูพิพากษาสูงสุด
32. “รัฐสภาไมอาจบังคับประธานาธิบดีใหออกจากตําแหนงกอนครบวาระ และประธานาธิบดีก็
ไมอาจยุบสภาได” ขอความดังกลาวปรากฏในการปกครองแบบใด
1. ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
2. ประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดี
3. ประชาธิปไตยแบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา
4. ประชาธิปไตยแบบสังคมนิยมเผด็จการ
33. ขอใดบอกถึงลักษณะประมุขของรัฐแบบประธานาธิบดี
1. วาระของประมุขของรัฐบาลมีกําหนดไวแนนอน
2. ผูเปนประมุขแตกตางไปจากผูที่เปนคณะรัฐบาลที่ทําหนาที่บริหาร
3. ประมุขของรัฐบาลหรือผูบริหารเปนบุคคลเดียวกับผูที่เปนประมุขของรัฐ
4. วาระหรืออายุของการดํารงตําแหนงของฝายบริหารไมผูกพันกับวาระของการดํารง
ตําแหนงของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
34. ระบบรัฐสภาและระบบประธานาธิบดีในการปกครองแบบประชาธิปไตยจะมีความแตกตางกัน
ในเรื่องใด
1. ที่มาของฝายบริหาร 2. ที่มาของวุฒิสภา
3. ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา 4. ที่มาของฝายตุลาการ
35. ปกครองแบบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา และระบบประธานาธิบดีมีความแตกตางกันในขอ
ใดมากที่สุด
1. ที่มาของฝายบริหาร 2. ที่มาของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
3. ที่มาของวุฒิสภา 4. ที่มาของฝายตุลาการ
36. กลุมประเทศใดตอไปนี้ที่มีการปกครองแบบประชาธิปไตยที่มีประธานาธิบดีเปนประมุขของ
ประเทศ
1. อิสราเอล มาเลเซีย อินเดีย 2. เยอรมนี สเปน สหรัฐอเมริกา
3. อินโดนีเซีย ฝรั่งเศส เกาหลีใต 4. สวีเดน ฟนแลนด นอรเวย
37. ในประเทศฝรั่งเศสซึ่งมีการปกครองแบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี สถาบันการเมืองใดที่มี
บทบาทและอํานาจสูงสุด
1. ประธานาธิบดี 2. รัฐสภา
3. นายกรัฐมนตรี 4. คณะรัฐมนตรี
38. ถาพิจารณาองคประกอบตางๆ ทางดานรูปแบบรัฐ ระบอบการปกครองประมุขของรัฐและการ
จัดรัฐบาลแลว ประเทศไทยจะมีลักษณะตางๆ ดังกลาวคลายคลึงกับประเทศใดมากที่สุด
1. สเปน 2. ศรีลังกา
3. มาเลเซีย 4. สหรัฐอเมริกา
39. ขอใดเปนประเทศที่มีการปกครองโดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุขทั้งหมด
1. ฝรั่งเศส อินเดีย สวีเดน นอรเวย 2. เยอรมนี ไทย เนเธอรแลนด
3. อังกฤษ เบลเยี่ยม ญี่ปุน 4. ศรีลังกา มาเลเซีย เดนมารก
40. พระมหากษัตริยทรงใชอํานาจอธิปไตยผานองคกรในขอใด
1. กระทรวง ทบวง กรม
2. มหาดไทย กลาโหม การคลัง
3. รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล
4. รัฐบาล รัฐสภา คณะรัฐมนตรี
41. คณะองคมนตรีที่พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งโดยพระราชอัธยาศัย มีจํานวนตามขอใดใน
รัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน
1. ประธานองคมนตรี 1 คน องคมนตรีอื่นอีกไมเกิน 12 คน
2. ประธานองคมนตรี 1 คน องคมนตรีอื่นอีกไมเกิน 16 คน
3. ประธานองคมนตรี 1 คน องคมนตรีอื่นอีกไมเกิน 18 คน
4. ประธานองคมนตรี 1 คน องคมนตรีอื่นอีกไมเกิน 20 คน
42. การเลือกตั้งเปนกระบวนการหนึ่งที่สําคัญยิ่งสําหรับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยเพราะ
เหตุใด
1. เปนการเลือกรัฐบาลของประชาชน
2. เปนการแสดงถึงความมีอํานาจทางการเมืองของประชาชน
3. เปนวิธีการควบคุมการบริหารราชการแผนดินของประชาชน
4. เปนการแสดงความตองการของประชาชนในการเลือกตัวแทนของตนไปใชอํานาจหนาที่
43. พรรคการเมืองมีความสําคัญอยางไรตอการจัดระเบียบการปกครองแบบประชาธิปไตย
1. ชวยควบคุมการเลือกตั้งใหเปนไปโดยเรียบรอย
2. เปดโอกาสใหประชาชนไดมีกิจกรรมทางการเมือง
3. มีรัฐบาลที่มีเสียงสนับสนุนขางมากในรัฐสภา
4. เปนวิธีการสรรหา ผูนําของประเทศที่มีคุณภาพ
44. ขอใดไมใชบทบาทที่พึงประสงคของพรรคการเมือง
1. กําหนดอุดมการณเพื่อสนองความตองการของสมาชิกในพรรค
2. กําหนดนโยบายพรรคใหสอดคลองกับสถานการณของประเทศ
3. รวมมือกับรัฐบาลในการแกปญหาอันเกี่ยวกับการบริหารประเทศ
4. ทํานาที่เปนผูแทนของประชาชนและควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล
45. ความมุงหวังที่สําคัญที่สุดของพรรคการเมืองคือขอใด
1. การไดเปนผูบริหารประเทศ
2. การควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล
3. การรักษาผลประโยชนของพรรคการเมือง
4. การไดรับเลือกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
46. ขอใดคือวัตถุประสงคสําคัญที่สุดของพรรคการเมือง
1. การมีสวนรวมทางการเมือง 2. การเขารวมในการจัดตั้งรัฐบาล
3. การที่สมาชิกพรรคไดรับการเลือกตั้ง 4. การเปนตัวแทนของกลุมผลประโยชน
47. วัตถุประสงคสําคัญของกลุมผลประโยชนคือขอใด
1. ควบคุมการดําเนินงานของรัฐบาล
2. เขารวมในคณะรัฐบาลเพื่อบริหารประเทศ
3. กดดันใหรัฐบาลดําเนินการเพื่อสนองความตองการของกลุม
4. สงตัวแทนกลุมสมัครเขารับการเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
48. ประเทศใดก็ตามที่เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในทางการเมือง แตควบคุมกิจการการ
บริการขั้นพื้นฐานที่จําเปนตอประชาชน เราเรียกวาอะไร
1. สังคมนิยม 2. เสรีนิยมประชาธิปไตย
3. สังคมนิยมแบบนําวิถี 4. สังคมนิยมประชาธิปไตย
49. ขอใดมีลักษณะของ “ระบบสังคมนิยมประชาธิปไตย”
1. รัฐเปนเจาของกิจการใหญ แตปลอยใหเอกชนควบคุมกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก
2. รัฐวางแผนใหประชาชนมีรายไดเทาเทียมกันดวยการปลอยใหมีการแขงขันอยางเสมอภาค
3. รัฐใหผูใชแรงงานมีเสรีภาพในการซื้อสินคา ในการเลือกงาน และไมมีการบังคับแรงงาน
4. รัฐอนุญาตใหประชาชนทํางานตามความรู ความสามารถเพื่อความเจริญกาวหนาของ
ประเทศ
50. ความสัมพันธระหวางระบบการเมืองกับระบบเศรษฐกิจในขอใดไมถูกตอง
1. ประเทศที่ใชระบอบประชาธิปไตยมักจะใชระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
2. ประเทศที่ใชระบบเผด็จการแบบคอมมิวนิตสมักจะใชเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
3. ระบบเผด็จการฟาสซิสตกับระบบทุนนิยมบังคับ มีหลักการ และวิธีการที่สงเสริมซึ่งกันและกัน
4. ระบอบประชาธิปไตยกับระบบทุนนิยมบังคับมีหลักการและวิธีการที่สงเสริมซึ่งกันและกัน
51. ระบบเศรษฐกิจการเมืองแบบใดเปนการผสมผสานระหวางระบบการเมืองประชาธิปไตยกับ
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
1. ทุนนิยมสมัยใหม 2. ทุนนิยมสวัสดิการ
3. ทุนนิยมดั้งเดิม 4. ทุนนิยมแบบผสม
52. กลุมประเทศในขอใดตอไปนี้ที่นําเอาระบบเศรษฐกิจ การเมืองแบบสังคมนิยมประชาธิปไตยมา
ใช
1. สวีเดน สาธารณรัฐประชาชนจีน อังกฤษ
2. เดนมารก คิวบา อินเดีย
3. สหรัฐอเมริกา เกาหลีเหนือ สหพันธรัฐรัสเซีย
4. นอรเวย ฟนแลนด เนเธอรแลนด
53. การที่รัฐบาล พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร ตองการแปรรูปรัฐวิสาหกิจใหกับภาคเอกชนเปนการ
สงเสริมการดําเนินทางเศรษฐกิจแบบใด
1. ทุนนิยม 2. สังคมนิยม
3. ชาตินิยม 4. ผสมผสาน
54. ระบบสังคมนิยมประชาธิปไตยของไทย รัฐบาลมีหนาที่อยางไร
1. ควบคุมราคาโดยวิธีปนสวน
2. กําหนดแผนเศรษฐกิจ ควบคุมทรัพยากร
3. ควบคุมการผลิต การจําหนายจายแจกรวมทั้งการบริการดานตางๆ
4. สนองตอบความตองการของกลุมตางๆ ในสังคม และปองกันการละเมิดสิทธิของกันและ
กัน

You might also like