You are on page 1of 15

กฎหมาย

อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

ความหมายของกฎหมาย
กฎหมาย หมายถึงขอบังคับ หรือกฎเกณฑที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อควบคุมความประพฤติของ
ประชาชนใหปฏิบัติตามเพื่อความเปนระเบียบเรียบรอยในสังคม หากผูใดไมปฏิบัติตามยอมมีความผิด
และถูกลงโทษ

ที่มาของกฎหมาย กฎหมายมีที่มาอยู 2 ทาง คือ


1. มาจากจารีตประเพณี ที่มนุษยในสังคมไดประพฤติและปฏิบัติมาเปนเวลาชานาน โดยไม
ขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
2. มาจากตัวบทกฎหมาย เปนกฎหมายที่เปนลายลักษณอักษร ที่ตราขึ้นโดยผูที่มีอํานาจสูงสุด
ภายในรัฐนั้นๆ
ระบบกฎหมาย มี 2 ระดับ คือ
1. ระบบจารีตประเพณี คือ กฎหมายที่ไมเปนลายลักษณอักษร อาศัยจารีตประเพณีหรือคํา
พิพากษาของศาล โดยใชเหตุผลของนักกฎหมายเปนหลัก เชน กฎหมายในประเทศอังกฤษ และ
ประเทศในเครือจักรภพ
2. ระบบลายลักษณอักษร คือ กฎหมายที่เปนลายลักษณอักษร มีลักษณะเปนตัวบทและ
ประมวลกฎหมายที่เขียน หรือพิมพเปนลายลักษณอักษร เปนหมวดหมู ซึ่งมีประวัติมาจากกฎหมาย
โรมัน โดยระบบกฎหมายแบบนี้นิยมใชกันในประเทศตางๆ
ลักษณะของกฎหมาย
1. เปนกฎ หรือขอบังคับที่ใชไดทั่วไปในรัฐหรือประเทศนั้น
2. ตองใชบังคับตลอดไป จนกวาจะมีกฎหมายอื่นมายกเลิก
3. ตองตราขึ้นโดยผูมีอํานาจสูงสุดในรัฐ
4. ตองมีสภาพบังคับ
5. ตองไมมีการบังคับยอนหลัง

1
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
ความสําคัญของกฎหมาย
1. เพื่อใหสังคมเปนระเบียบแบบแผน
2. เพื่อควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในสังคม
3. เพื่อใหเกิดความสงบเรียบรอยในสังคม
ประเภทของกฎหมาย กฎหมายถาแบงตามขอความกฎหมาย แบงได 3 ประเภท คือ
1. กฎหมายเอกชน คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชนในฐานะ
เทาเทียมกัน เชน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ประมวลกฎหมายที่ดิน
2. กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงความสัมพันธระหวางรัฐ หรือ หนวยงานของรัฐ
กับเอกชน อันไดแก ราษฎรทั่วไป ในฐานะที่รัฐเปนฝายปกครองที่มีอํานาจเหนือกวาราษฎร กฎหมาย
มหาชน ไดแก กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา กฎหมายวาดวยพระธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม กฎหมายวาดวยพิจารณาความอาญา
3. กฎหมายระหวางประเทศ คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงความสัมพันธระหวางรัฐตอรัฐ หรือ
ประชาชนในรัฐหนึ่งกับประชาชนอีกรัฐหนึ่ง โดยถือวารัฐนี้มีฐานะเปนนิติบุคคลตามกฎหมายระหวาง
ประเทศ กฎหมายระหวางประเทศแบงออกเปน 3 แผนก คือ
1) กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง
2) กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล
3) กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีอาญา
กฎหมายรัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดในการปกครอง และเปนแมบทแหงกฎหมายทั้งปวง
โดยที่กฎหมายอื่นจะขัดแยงกับรัฐธรรมนูญไมได ถือวาเปนโมฆะ ในกรณีที่มีกฎหมายมาขัดแยงกับ
รัฐธรรมนูญใหตุลาการรัฐธรรมนูญตีความ
สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญ
1. กําหนดรูปแบบการปกครองของรัฐ และอํานาจอธิปไตย
2. กําหนดความสัมพันธระหวางองคกรทางการเมือง
3. กําหนด สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ของปวงชนชาวไทย
พระราชบัญญัติ คือ กฎหมายทีพ่ ระมหากษัตริยท รงตราขึน้ โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา
กระบวนการในการจัดทําพระราชบัญญัติ
– ผูเสนอ ไดแก คณะรัฐมนตรี หรือ ส.ส. (อยางนอย 20 คน) ประชาชน 50,000 คน
– ผูพิจารณา ไดแก สภาผูแทนราษฎร

2
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
1. สภาผูแทนราษฎร โดยพิจารณาเปน 3 วาระ คือ
วาระที่ 1 เรียกวา ขั้นรับหลักการ
วาระที่ 2 เรียกวา ขั้นแปรญัตติ
วาระที่ 3 เรียกวา ขั้นลงมติ
2. วุฒิสภา โดยมีการพิจารณาเปน 3 วาระเชนเดียวกัน
3. ผูตรา ไดแก พระมหากษัตริย มีผลบังคับใชเมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว
ประมวลกฎหมาย มีศักดิ์เทากับพระราชบัญญัติ ซึ่งถูกตราขึ้นโดยฝายนิติบัญญัติแตแตกตาง
จากพระราชบัญญัตคิ อื ประมวลกฎหมายนัน้ เปนการรวบรวมบัญญัตขิ องกฎหมายในเรือ่ งใหญๆ มารวม
ไวที่เดียวกัน โดยจัดแบงเปนบรรพหรือภาคลักษณะ และหมวด เชน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลรัษฎากร เปนตน
พระราชกําหนด คือกฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นตามคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี
เงื่อนไขในการออกพระราชกําหนด
1. ในกรณีที่มีความจําเปนรีบดวน อันถือวาเปนเหตุฉุกเฉินในอันที่จะรักษาความปลอดภัย
สาธารณสุข หรือปองปดภัยพิบัติ
2. เปนกฎหมายชั่วคราว
กระบวนการในการจัดทําพระราชกําหนด
– ผูเสนอ ไดแก รัฐมนตรีจะรักษาการตามพระราชกําหนด
– ผูพิจารณา ไดแก คณะรัฐมนตรี
– ผูตรา ไดแก พระมหากษัตริย
– มีผลบังคับใช เมื่อประกาศใชในราชกิจจานุเบกษาแลว
พระราชกฤษฎีกา คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นโดยคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี
มี 2 ประเภท คือ
1. พระราชกฤษฎีกาที่ออกโดยอาศัยอํานาจแหงกฎหมาย คือ กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ร.บ.ให
อํานาจฝายบริหาร คือ ค.ร.ม.ออกพระราชกฤษฎีกากําหนดรายละเอียดตามกฎหมายแมบทนั้นๆ
2. พระราชกฤษฎีกาที่พระมหากษัตริยทรงใชพระราชอํานาจโดยไมขัดตอรัฐธรรมนูญ เชน
พระราชกฤษฎีกาคาเชาบานของขาราชการ เปนตน
กระบวนการจัดทําพระราชกฤษฎีกา
– ผูเสนอ ไดแก รัฐมนตรีที่จะรักษาการตาม พ.ร.บ. , พ.ร.ก. ที่ออกโดยพระราชกฤษฎีกา
– ผูพิจารณา ไดแก คณะรัฐมนตรี
– ผูตรา ไดแก พระมหากษัตริย

3
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
– มีผลบังคับใช ไดแก ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

กฎกระทรวง คือ กฎหมายที่ออกโดยรัฐมนตรีตามความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเพื่อใหเปน


ไปตาม พ.ร.บ. , พ.ร.ก. ที่กําหนดใหออกเปนรายละเอียด
กระบวนการในการจัดทํากฎกระทรวง
- ผูเสนอ ไดแก รัฐมนตรีที่จะรักษาการตาม พ.ร.บ. , พ.ร.ก. ซึ่งกําหนดใหออกกฎกระทรวง
- ผูพิจารณา ไดแก คณะรัฐมนตรี
- ผูตรา ไดแก รัฐมนตรีผูรักษาการตาม พ.ร.บ. หรือ พ.ร.ก.
- มีผลบังคับใชเมื่อประกาศใชในราชกิจจานุเบกษาแลว
ประเภทของกฎหมายที่แบงตามลักษณะความผิด แบงได 2 ประเภท
1. ความผิดอาญา การกระทําความผิดทางอาญา คือ ภาระกระทําที่กระทบกระเทือนตอความ
สงบเรียบรอยของสังคมโดยรวม ความผิดทางอาญากําหนดไว 5 สถาน คือ ประหารชีวิต จําคุก กักขัง
ปรับ ริบทรัพย
2. ความผิดทางแพง คือ การกระทําความผิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย จะไมมี
โทษทางอาญา เพราะเปนเรื่องสิทธิและหนาที่ โดยจะมีการปรับไหมหรือการปรับเปนเงิน เปนตน

กระบวนการยุติธรรมทางการศาล มี 2 ประเภท
1. กระบวนการยุติธรรมทางอาญา คือ ขั้นตอนในการดําเนินการเขาสูการพิจารณาของศาล
อาญา
2. กระบวนการยุติธรรมทางแพง คือ ขั้นตอนในการดําเนินการเขาสูการพิจารณาของศาลแพง
สภาพบุคคล หมายถึง การที่เด็กทารกคลอดมาจากครรภมารดาแลวมีชีวิตอยูรอด
นิติบุคคล คือ บุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้น เพื่อใหมีฐานะเปนนิติบุคคล มี 6 ประเภทคือ
1. กระทรวง ทบวง กรม
2. วัดที่ไดจดทะเบียนตาม พ.ร.บ. สงฆ
3. หางหุนสวนที่จดทะเบียนแลว
4. บริษัทจํากัด
5. สมาคม
6. มูลนิธิ
กฎหมายมรดก มีสาระสําคัญดังนี้
ก. ความหมายของมรดก มีบรรดาทรัพยสินทุกชนิดของผูตาย ตลอดจนสิทธิและหนาที่ที่
ตองการรับผิดชอบตางๆ

4
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
ข. ทายาทของผูมีสิทธิรับมรดก มีกําหนด 2 ประการ คือ
1. ทายาทตามพินัยกรรม
2. ทายาทโดยธรรม
ก) ทายาทที่เปนคูสมรส มีสิทธิรับมรดกไดเสมอ แมวาผูตายจะมีทายาทระดับใดก็ตาม
ข) ทายาทที่เปนญาติ มี 6 อันดับ ดังนี้
1. ผูสืบสันดาน ลูก หลาน เหลน ลื้อ
2. บิดา มารดา
3. พี่นองรวมบิดามารดา
4. พี่นองรวมบิดาเดียวกันหรือมารดาเดียวกัน
5. ปู ยา ตา ยาย
6. ลุง ปา นา อา
ญาติที่พนจาก 6 ระดับนี้ไมมีสิทธิรับมรดกเลย

กฎหมายแพงที่ควรรู

กฎหมายบุคคล

การแจงเกิด ตองแจงภายใน 15 วัน หากไมแจงจะเสียคาปรับ 200 บาท ถาไมทราบ


วัน เดือน ป เกิด ใหถือเอาวันที่ 1 มกราคมของปนั้นเปนปเกิด
การแจงตาย ตองแจงภายใน 24 ช.ม. ถาไมแจงเสียคาปรับ 200 บาท
การตั้งชื่อ ไมควรเปนภาษาตางประเทศ คําอุทาน คําหยาบ และตองไมพองจองกับ
พระปรมาภิไธย พระนามของพระราชินี ราชทินนาม
ชื่อ – สกุล ถือเอาทางบิดา
สัญชาติ ถาบิดาเปนคนไทย หรือเกิดในไทยถือสัญชาติไทย
หญิงตางชาติที่เคยแตงงานกับชาวไทย ก็อาจขอแปลงเปนสัญชาติไทยไดตาม
เงื่อนไขที่กฎหมายกําหนด
บรรลุนิติภาวะ เมื่ออายุครบ 20 ปบริบูรณ หรือสมรสเมื่ออายุ 17 ปขึ้นไป
อสังหาริมทรัพย ทรัพยที่เคลื่อนที่ไมได เชน ที่ดิน บาน โรงเรียน ซึ่งรวมทั้งสิ่งตางๆ ที่ประกอบ
เปนอันหนึ่งอันเดียวกับที่ดินนั้น เชน กรวด ดิน แรธาตุ
สังหาริมทรัพย ทรัพยที่เคลื่อนที่ได

5
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
การซื้อขาย ในการซื้อขาย แลกเปลี่ยน หรือทํานิติกรรมใดๆ เกี่ยวกับสังหาริมทรัพยตองมี
การจดทะเบียนตอเจาพนักงาน
โมฆกรรม คือนิติกรรมที่เสียเปลา ไมกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสิทธิใดๆ จะเปนโมฆะได
ตองเกิดจากเจตนาทําใหเขาใจผิดหรือหลอกลวง
โมฆียกรรม คือนิติกรรมที่สมบูรณจนกวาจะถูกบอกลางโดยเกิดจากการขมขู ฉอโกง การ
บอกลางโมฆียกรรมตองทําภายใน 1 ปนับจากทําสัญญา
การซื้อขาย คือสัญญาที่ผูขายโอนกรรมสิทธิ์แหงทรัพยใหผูซื้อ และผูซื้อยอมชําระราคาให
ผูขายเปนขอแลกเปลี่ยน
การฝากขาย เปนการขายทรัพยที่ตกลงวาผูขายอาจไถทรัพยคืนได ถาหลุดก็ไมตองฟองรอง
บังคับคดีใดๆ
การไถทรัพย ถาสังหาริมทรัพย กําหนดเวลาไดไมเกิน 3 ป ขยายเวลาไมได
ถาอสังหาริมทรัพยกําหนดเวลาไดไมเกิน 10 ป ขยายเวลาไมได
ถาไมกําหนดเวลาใหถือราคาเทาที่ขายฝาก
การเชาทรัพย การเชาอสังหาริมทรัพยเชาไดไมเกินครั้งละ 30 ป หากผูเชาผิดสัญญาติดตอกัน 2
ครั้ง ถือเปนการผิดขอตกลง ผูเชาสามารถบอกเลิกสัญญา ทรัพยจะเปนของเจา
ของได
การเชาซื้อ เปนการตกลงทําสัญญา โดยผูเชาอาจเปลี่ยนเปนเจาของไดเมื่อชําระคาเชางวด
สุดทายแลว และใหผูใหเชามีสิทธิคิดดอกเบี้ยพรอมเงินตนไดไมเกินรอยละ 15
ตอป
การกู คิดดอกเบี้ยรอยละไมเกิน 15% ตอป ถาเกินปรับ 1,000 บาท หรือจําคุก 1 ป
และไดแตตน ดอกเบี้ยไมได
จํานอง ไมตองสงมอบทรัพยแกผูรับจํานอง ทรัพยสินที่จํานองไดแก อสังหาริมทรัพยทุก
ประเภท สังหาริมทรัพยบางประเภท เชน แพ สัตวพาหนะ เรือกําปน

ผูรับจํานองจะยึดทรัพยไดในกรณี
– ขาดสงติดตอกันเกิน 5 ป
– ตองไมไปจํานองรายอื่นอีก
– ไมไดแสดงใหเห็นถึงจํานวนเงินตนที่ชําระตอศาล
จํานอง – กําหนดราคารายละไมเกิน 1,000 บาท ถาเกินตองใชกฎหมายพาณิชยแทน
– โรงรับจํานําถาตนไมเกิน 2,000 บาท คิดดอกเบี้ยไดรอยละ 24% ตอป หรือ
– รอยละ 2 ได ถามากกวาคิดรอย 1.2 , 5 หรือรอยละ 15% ตอป

6
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
กฎหมายอาญา

ความผิดลหุ จําคุกไมเกิน 1 เดือน ปรับไมเกิน 1,000 บาท หรือทั้งปรับทั้งจํา


ผูสนับสนุนฆาคน ถาเจตนามีโทษประหาร หรือจําคุกตลอดชีวิต หรือ 15–20 ป ถาประหารจะได
แกความผิด เชน ฆาบุพการี
ฆาเจาพนักงาน ฆาโดยไมเจตนาตองโทษ 3 – 15 ป
ฆาโดยประมาท จําคุกไมเกิน 10 ป หรือปรับ 20,000 บาท
ถาทํารายรางกายหรือจิตใจ จําคุกไมเกิน 1 เดือน หรือปรับ 1,000 บาท
ลักทรัพย ตองโทษไมเกิน 3 ป หรือปรับ 6,000 บาท
ถาทําใหเสียทรัพย ตองโทษ 3 ป หรือปรับ 6,000 บาท
ทหาร ชายไทยอายุ 16 ปบริบูรณ ตองขึ้นบัญชีกองเกินภายในเดือนพฤศจิกายนของ
ทุกปที่มีอายุครบ
อายุครบ 21 ป รับหมายเรียกในภูมิลําเนารับราชการ 2 ป
จําคุก 3 ป หากไมไปรายงานตัว
บัตรประชาชน ตองรองขอทําบัตรตั้งแตอายุ 15 ปบริบูรณ จนถึง 70 ป

บุคคลที่ไมตองทําบัตรประชาชน
1. พระมหากษัตริย พระราชินี
2. พระบรมวงศานุวงศ ตั้งแตชั้นพระองคเจา
3. องคมนตรี
4. ขาราชการทุกฝาย
5. กํานัน ผูใหญบาน แพทยประจําตําบล สารวัตรกํานัน
6. พระภิกษุ สามเณร นักบวช นักพรต
7. กรรมการอิสลามแหงประเทศไทยและกรรมการอิสลามประจําจังหวัด
8. ผูมีรางกายพิการ เดินไมได หรือใบ ตาบอดทั้ง 2 ขาง
9. จิตวิปลาส
10. ผูตองขัง

7
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
ขอทดสอบ

1. เมือ่ องคกรใดสงสัยวา ขอบังคับภายในองคกรทีอ่ อกตามกฎหมายมหาชนจะขัดแยงกับรัฐธรรมนูญหรือ


ไม จะสงใหฝายใดตอไปนี้พิจารณา
1. ศาลรัฐธรรมนูญ 2. ศาลปกครอง
3. รัฐสภา 4. ศาลยุติธรรม
2. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ
1. มีหนาที่วินิจฉัยวากฎหมายใดขัดแยงรัฐธรรมนูญหรือไม
2. พิจารณาขอปญหาทางกฎหมาย หรือการศาลในกรณีสําคัญๆ
3. คณะกรรมการการเลือกตั้งเปนผูคัดเลือกและแตงตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
4. ผูดํารงตําแหนงตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตองเปนผูเชี่ยวชาญทางดานกฎหมายและรัฐศาสตร
3. ชาวบานที่ไดรับผลกระทบที่ภาคราชการจายคาเวนคืนที่ดินไมเปนไปตามขอกําหนดในการสราง
เขื่อนราษีไศล ชาวบานความนําเรื่องนี้ไปใหองคกรใดพิจารณา
1. สมัชชาคนจน 2. ศาลรัฐธรรมนูญ
3. ศาลปกครอง 4. ศาลจังหวัดศรีษะเกษ
4. คดีพิพาทระหวางประชาชนกับเจาหนาที่ของรัฐ จะตองฟองรองกันที่ศาลใด
1. ศาลแพง 2. ศาลอาญา
3. ศาลปกครอง 4. ศาลประชาชน
5. ขอใดเปนประโยชนสูงสุดของประชาชนที่ไดรับจากการที่มีศาลปกครอง
1. ประชาชนมีศาลใหฟองรองไดมากขึ้น รวดเร็วขึ้น
2. ประชาชนไดรับการปกปองสิทธิผลประโยชนของตนเองมากขึ้น
3. ประชาชนมีอิสระและเสรีภาพตามกฎหมายมากขึ้น
4. ประชาชนสามารถฟองรองหนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจได
6. ลําดับชั้นศาลของไทยขอใดถูกตอง
1. ศาลแขวง ศาลแพง ศาลฎีกา 2. ศาลอาญา ศาลอุทธรณ ศาลฎีกา
3. ศาลแพง ศาลอาญา ศาลฎีกา 4. ศาลชั้นตน ศาลชั้นกลาง ศาลฎีกา
7. การแตงตั้งโยกยาย ถอดถอนผูพิพากษาในศาลยุติธรรมเปนอํานาจหนาที่ของสถาบันใด
1. คณะกรรมการตุลาการ 2. กระทรวงยุติธรรม
3. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 4. ประธานรัฐสภา

8
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
8. ขอใดไมใชอํานาจของฝายตุลาการในระบอบประชาธิปไตย
1. ผูพิพากษามีอิสระในการพิพากษาคดี
2. ผูพิพากษาตราพระราชบัญญัติเพิ่มเติมในการพิจารณาพิพากษา
3. ผูพิพากษามีอํานาจในการตีความตามกฎหมาย เพื่อการพิจารณาคดี
4. ผูพิพากษาจะตองพิจารณาคดีตางๆ ตามลําดับชั้นศาล
9. บุคคลที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา คือขอใด
1. ตํารวจ อัยการ ศาล พนักงานบังคับคดี
2. อัยการ พนักงานคุมประพฤติ ศาล พนักงานบังคับคดี
3. ตํารวจ อัยการ พนักงานคุมประพฤติ ศาล
4. ตํารวจ ทนายความ ศาล พนักงานบังคับคดี
10. ขอใดอธิบายความหมายของอัยการไดดีที่สุด
1. ทนายแผนดิน 2. ทนายผูถูกกลาวหา
3. ทนายของผูเสียหาย 4. พนักงานสอบสวน
11. เจาหนาที่ซึ่งทําหนาที่บังคับคดีอาญาเพื่อใหมีการคุมขังผูกระทําผิดนั้นคือใคร
1. พนักงานอัยการ 2. ผูพิพากษา
3. เจาพนักงานศาล 4. พนักงานราชทัณฑ
12. ขอใดไมใช เรื่องราวเกี่ยวกับกฎหมายแพง
1. การพรากผูเยาว 2. การจํานํา และการจํานอง
3. การคํ้าประกัน และการเชาซื้อ 4. การขายฝาก และการกูยืม
13. ถาเจาของบานไดรับความเสียหายจากการกระทําของคนงานของบริษัทรับเหมาในการกอสราง
อาคารสูง เขาจะตองนําคดีไปฟองตอศาลใด
1. ศาลแพง 2. ศาลอาญา
3. ศาลปกครอง 4. ศาลแรงงานกลาง
14. หนวยงานใดไมเกี่ยวของกับการดําเนินคดีทางแพง
1. กรมบังคับคดี 2. ศาลจังหวัด
3. ศาลแขวง 4. กรมคุมประพฤติ
15. บุคคลในขอใดตอไปนี้ที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทางแพง
1. พนักงานพิทักษทรัพย 2. พนักงานคุมประพฤติ
3. พนักงานสอบสวน 4. พนักงานราชทัณฑ
16. การบังคับคดีใหเปนไปตามกฎหมายนั้น มีวิธีบังคับอยางไร
1. กักขัง ปรับเปนเงินเขารัฐ 2. ชดใชคาเสียหาย และกักขัง
3. ชดใชคาเสียหาย และลงโทษทางอาญา 4. ริบทรัพย และจําคุก

9
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
17. กระบวนการยุติธรรมทางการศาลขอใดตอไปนี้ที่ไมถูกตอง
1. ผูพิพากษามีอิสระในการตัดสินคดี ภายใตกฎหมายกําหนดเทานั้น
2. กระบวนการรับผิดชอบทางแพง และกระบวนการรับผิดทางอาญาไมมีความแตกตางกัน
3. กระบวนการยุติธรรมทางการศาลจะเกิดไดตองมีผูเสียหายเริ่มดําเนินคดีกอนทุกครั้ง
4. พนักงานพิทักษทรัพยและพนักงานคุมประพฤติมีหนาที่ดําเนินการใหเปนไปตามคําพิพากษา
ของศาล
18. ขอใดแสดงการเรียงลําดับชั้นของกฎหมายไดถูกตองที่สุด
1. พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎทบวง ประกาศกระทรวง
2. รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ประมวลกฎหมาย
3. รัฐธรรมนูญ พระราชกําหนด ประมวลกฎหมาย ประกาศกระทรวง
4. พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด ประกาศทบวง ประมวลกฎหมาย
19. กฎหมายฉบับใดกําหนดโครงสรางทางการเมืองการปกครอง และความสัมพันธของสถาบันทาง
การเมือง
1. พระราชกฤษฎีกา 2. พระราชบัญญัติ
3. ประกาศคณะปฏิวัติ 4. รัฐธรรมนูญ
20. อํานาจในการบังคับใชกฎหมาย เชน พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด จะเริ่มตนไดเมื่อใด
1. ภายหลังที่พระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย
2. ภายหลังการลงมติของคณะรัฐมนตรี
3. ภายหลังการอนุมัติของรัฐสภา
4. ภายหลังการประกาศในราชกิจจานุเบกษา
21. ผูใดมีสิทธิเสนอรางพระราชบัญญัติปรับปรุงพระราชบัญญัติของพระสงฆในปจจุบัน
1. กรมการศาสนา
2. มหาเถรสมาคม
3. สมาชิกสภาผูแทนราษฎร
4. พระสงฆชั้นพระราชาคณะขึ้นไป
22. กลุมบุคคลในขอใดตอไปนี้ที่ไมมีสิทธิตามรัฐธรรมนูญในการเสนอรางพระราชบัญญัติ
1. คณะรัฐมนตรี
2. สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้ง
3. สมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่พรรคการเมืองใหความเห็นชอบแลว
4. ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งและไดไปใชสิทธิเลือกตั้งเขาชื่อกันจํานวนหาหมื่นคน

10
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
23. ขอใดเปนกฎหมายที่ออกโดยฝายบริหาร
1. พระราชบัญญัติ กฎกระทรวง กฎมนเทียรบาล
2. รัฐธรรมนูญ ธรรมนูญการปกครอง ประกาศกระทรวง
3. พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ประกาศกระทรวง
4. พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง พระราชกําหนด
24. ในกรณีที่บานเมืองตกอยูในภาวะฉุกเฉิน มีความจําเปนตองใชกฎหมายเพื่อรักษาความปลอดภัยของ
ประชาชนอยางเรงดวน รัฐบาลมีอํานาจออกกฎหมายประเภทใดขึ้นมาใช
1. กฎกระทรวง 2. พระราชกําหนด
3. พระราชกฤษฎีกา 4. พระราชบัญญัติ
25. การประกาศยุบสภาเพื่อใหมีการเลือกตั้งใหม รัฐบาลจะตองออกเปนกฎหมายประเภทใด
1. พระราชกฤษฎีกา 2. พระราชกําหนด
3. พระราชบัญญัติ 4. พระราชกิจจานุเบกษา
26. ขอใดคือความหมายของพระราชกฤษฎีกา
1. กฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นตามคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา
2. กฎหมายที่ตราขึ้นโดยรัฐมนตรีผูรักษาการในกระทรวงนั้น เพื่อขยายความในพระราชบัญญัติ
3. กฎหมายที่พระมหากษัตริยตราขึ้นตามคําแนะนําและยินยอมของคณะรัฐมนตรี
4. กฎหมายที่พระมหากษัตริยตราขึ้นตามคําแนะนําและยินยอมของคณะรัฐมนตรีโดยไมขัดตอ
พระราชบัญญัติหรือรัฐธรรมนูญ
27. การที่กรุงเทพมหานครประกาศหามประชาชนทิ้งขยะในที่สาธารณะ เพื่อใหมีผลบังคับใช ตองตรา
เปนกฎหมายใด
1. กฎหมายสิ่งแวดลอม 2. กฎกระทรวง
3. เทศบัญญัติ 4. ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร
28. ความหมายทั่วไปของกฎหมาย คือขอใด
1. ขอบังคับของรัฐ 2. บรรทัดฐานในสังคม
3. จารีตประเพณี 4. กฎเกณฑของสังคม
29. ขอใดมิใชลักษณะสําคัญของกฎหมาย
1. จะตองมีสภาพบังคับ
2. จะตองมีกระบวนการในการจัดทํากฎหมาย
3. จะตองมีผลบังคับเปนการทั่วไป
4. จะตองมีประสิทธิภาพในการบังคับไดดีกวากลไกอื่นๆ ของสังคม

11
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
30. ประมวลกฎหมายของไทยนับตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันมีลักษณะอยางไร
1. มาจากปรัชญาทางศาสนา 2. เปนกฎหมายลายลักษณอักษร
3. มาจากคําพิพากษาของศาล 4. เปนกฎหมายจารีตประเพณี
31. ขอใดตอไปนี้ที่ไมจัดวาเปนกฎหมายมหาชน
1. กฎหมายปกครอง 2. กฎหมายอาญา
3. กฎหมายรัฐธรรมนูญ 4. กฎหมายแพงและพาณิชย
32. สิทธิของบุคคลเริ่มตั้งแตเมื่อใด
1. เมื่อบิดามารดารับรองวาเปนบุตร
2. เมื่ออยูในครรภมารดานับตั้งแตมารดาเริ่มตั้งครรภ
3. เมื่อคลอดจากครรภมารดาดวยความปลอดภัย
4. เมื่อบิดามารดาแจงการเกิดตอเจาหนาที่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด
33. ขอใดไมมีฐานะเปนนิติบุคคล
1. บริษัทจํากัด 2. คณะนิติศาสตร
3. วัดธรรมวิหารรี 4. สมาคมฟุตบอลแหงประเทศไทย
34. ผูเยาวคือบุคคลขอใด
1. นายอภิสิทธิ์ อายุ 18 ป มีบุตร 1 คน
2. นายเนวิน เปนนิสิตจุฬาฯ อายุ 19 ป
3. นายเฉลิม เปนทหารประจําการมาแลว 2 ป
4. นางพรชิตา อายุ 17 ป จดทะเบียนสมรสตามกฎหมายกับนายลําดวน
35. การกระทําในขอใดที่กฎหมายเวนโทษให
1. นายสิทธิศักดิ์ อายุ 18 ป ขโมยเงินแมเพื่อไปเที่ยวลอยกระทง
2. นายศิลานําเครื่องกรองนํ้าของโรงเรียนไปใชที่บาน
3. คนรายชักมีดจะเขาแทงนายวิทวัส นายวิทวัส จึงชักปนยิงคนรายตาย
4. นายอาจหาญ เขาไปในบานนายชวลิต โดยที่นายชวลิตไมไดเชิญ
36. การผิดสัญญาหมั้น ฝายเสียหายยอมมีสิทธิเรียกรองจากฝายที่ผิดสัญญาได ยกเวนเรื่องใด
1. เรียกคาทดแทนความเสียหาย
2. รองขอใหศาลบังคับใหมกี ารสมรส
3. ถาไมมีการสมรสอันเนื่องมาจากฝายหญิงผิดสัญญา ตองคืนของหมั้นใหฝายชาย
4. ฝายชายเรียกสินสอดคืนจากฝายหญิงได ถาไมมีการสมรสโดยมีเหตุสําคัญอันเกิดแกหญิง

12
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
37. ชาย – หญิง คูใดสามารถสมรสกันไดตามกฎหมาย
1. ชาย – หญิง รวมบิดาแตตางมารดา
2. หญิงหยาจากคูสมรสเดิม นับกอนวันหยา 310 วัน
3. พอบุญธรรมกับบุตรบุญธรรมซึ่งหญิงบรรลุนิติภาวะแลว
4. ฝายชายเปนลูกของพี่ชายพอแมฝายหญิง ฝายหญิงเปนลูกของนองชายพอฝายชาย
38. นาย ก และนาย ข เปนสามีภรรยากันโดยชอบดวยกฎหมาย ตอมานาย ก ไดเสียชีวิตและมี
สินสมรสทั้งหมด 2,000,000 บาท แตนาย ก มีมารดาที่มีชีวิตอยูเพียงคนเดียว ตามกฎหมาย
การแบงมรดกจะแบงกันอยางไร และเปนจํานวนเงินเทาไหร
1. นาง ข ไดรับมรดกเปนเงิน 2,000,000 บาท แตผูเดียว
2. นาง ข ไดรับมรดกเปนเงิน 1,500,000 บาท มารดาของนาย ก ไดเงิน 500,000 บาท
3. นาง ข ไดรับมรดกเปนเงิน 1,800,000 บาท มารดาของนาย ก ไดเงิน 200,000 บาท
4. นาง ข ไดรับมรดกเปนเงิน 1,000,000 บาท มารดาของนาย ก ไดเงิน 1,000,000 บาท
39. การเรียงลําดับทายาทโดยธรรม ขอใดถูกตอง
ก. ปู ยา ตา ยาย ข. ลุง ปา นา อา
ค. พี่นอง รวมบิดามารดาเดียวกัน ง. พี่นองรวมบิดาหรือมารดาเดียวกัน
จ. ผูสืบสันดาน ฉ. บิดา มารดา
1. จ ฉ ค ง ก ข 2. จ ก ฉ ค ง ข
3. จ ค ง ฉ ก ข 4. จ ก ฉ ข ค ง
40. ขอใดไมใชการทํานิติกรรม
1. ลูกทําพินัยกรรมยกทรัพยสินตางๆ ของตนใหแกบิดามารดา
2. การนําสัญญาซื้อขายบาน และที่ดินไปจดทะเบียนตอเจาหนาที่ของรัฐ
3. บริษัทดําดอทคอมทยื่นซองเสนอราคาเครื่องคอมพิวเตอรตอโรงเรียนเพื่อประกวดราคา
4. ไมเคิล ติดตอทาทายัง เพื่อเสนอเขาเปนศิลปนของคายเพลงโคแอนดกระบือ
41. ภวาภพมีบานหนึ่งหลัง เรือกลไฟหนึ่งลํา รถบรรทุกหนึ่งคัน ชางหนึ่งเชือก ทรัพยสินในขอใดที่
ภวาภพไมอาจนําไปจํานองประกันชําระหนี้ได
1. บาน 2. ชาง
3. เรือกลไฟ 4. รถบรรทุก

13
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
42. แอนขโมยโทรศัพทเคลื่อนที่ของโอกไปใช ตอมาแอนเกิดเปลี่ยนใจแอบนํามาคืนใหโอก กรณีดัง
กลาวนี้แอนจะมีความผิดทางกฎหมายหรือไม
1. ผิดฐานพยายามลักทรัพย ตองรับโทษสองในสาม
2. ผิดฐานลักทรัพย ตองรับโทษตามกฎหมาย
3. ไมผิดฐานลักทรัพย เพราะไดนํามาคืนแลว
4. ไมผิดฐานพยายามลักทรัพย เพราะแกไขเพื่อลบลางความผิดแลว
43. สมชายอายุ 18 ปบริบูรณ มีสิทธิในการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
ถาสมชายตองการที่จะทําสัญญาซื้อขายที่ดินใหมีผลสมบูรณในทางกฎหมายสมชายจะตองขอ
ความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมหรือไม เพราะเหตุใด
1. ไมตองขอความยินยอม เพราะรัฐธรรมนูญรับรองสิทธิดังกลาวแลว
2. ไมตองขอความยินยอม เพราะถือวาสมชายบรรลุนิติภาวะแลว
3. ตองขอความยินยอม เพราะการซื้อขายที่ดินเปนการซื้อขายอสังหาริมทรัพยที่กฎหมาย
บังคับใหตองจดทะเบียนจึงตองไดรับความยินยอมกอน
4. ตองขอความยินยอม เพราะสมชายยังเปนผูเยาว จึงถูกจํากัดความสามารถในการทํา
นิติกรรม
44. คดีตอไปนี้ขอใดเปนคดีแพง
1. นายแดงและนายเขียวทะเลาะวิวาทกัน
2. นายประกิตขับรถชนคนตายโดยเจตนา
3. นางอุบลขอเปนผูจัดการมรดกของสามี
4. นายสมัครนํากรรมกรในโรงงานประทวง และทําลายทรัพยสินโรงงาน
45. ขอใดตอไปนี้ไมใชกฎหมายแพง
1. กฎหมายมรดก 2. กฎหมายครอบครัว
3. กฎหมายปกครอง 4. กฎหมายเกี่ยวกับสัญญาตั๋วเงิน
46. พระภิกษุขาวมีความสัมพันธฐานชูสาวกับหญิงคนหนึ่งจนตั้งครรภ แลวคลอดบุตรมาคนหนึ่ง
พระภิกษุขาวไมยอมรับวา เด็กที่เกิดจากหญิงคนนั้นเปนบุตรของตน มารดาเด็กมีสิทธิตาม
กฎหมายอยางไร
1. ฟองคดียังศาลขอใหพระภิกษุขาวรับเด็กเปนบุตร
2. แจงความตอเจาหนาที่ตํารวจใหดําเนินคดีตอพระภิกษุขาว
3. ฟองผูบังคับบัญชาของพระภิกษุขาวใหดําเนินการทางวินัยตอพระภิกษุขาวกอน
4. แจงนายทะเบียนฝายปกครองใหจดทะเบียนรับเด็กเปนบุตร

14
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
47. การเปดบอนเสรีเกี่ยวของกับกฎหมายในขอใดมากที่สุด เพราะเหตุใด
1. กฎหมายแพง เพราะการเลนพนันเปนเรื่องของเอกชนกับเอกชน
2. กฎหมายปกครอง เพราะการเลนพนันตองเสียคาธรรมเนียมใหแกรัฐ
3. กฎหมายรัฐธรรมนูญ เพราะเปนเรื่องเกี่ยวกับเสรีภาพในการประกอบอาชีพ
4. กฎหมายอาญา เพราะการเลนพนันในบอนที่ไดรับอนุญาตไมเปนความผิดทางอาญา
48. ขอใดเปนความผิดฐานวิ่งราวทรัพย
1. ยักยอกทรัพยของผูอื่นแลววิ่งหนีไป
2. ลักทรัพยของผูอื่นแลวหนีไป
3. ลักทรัพยของผูอ่นื โดยการฉกฉวยเอาซึ่งหนา
4. ชิงทรัพยของผูอื่นจนไดทรัพยของผูนั้นไป
49. นางสาวอวนกลุมใจนํ้าหนักขึ้นทุกวัน อยากใหนํ้าหนักลดลงอยางรวดเร็ว จึงไปหาแพทยเพื่อดูด
ไขมันออก โดยที่แพทยยืนยันวาปลอดภัย ขณะที่ทําการดูดไขมันนางสาวอวนถึงแกความตายเพราะ
มีโรคแทรก แพทยจะมีความผิดหรือไมอยางไร
1. ผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนา 2. ผิดฐานฆาคนตายโดยไมเจตนา
3. ผิดฐานฆาคนตายโดยประมาท 4. ไมผิดเพราะเปนอุบัติเหตุ
50. บุคคลในขอใดที่จําเปนตองมีบัตรประจําตัวประชาชน
1. พระภิกษุ 2. บุคคลที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป
3. ขาราชการและนักโทษ 4. บุคคลที่มีอายุเกิน 70 ปขึ้นไป
51. ขอใดเปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหการบังคับใชกฎหมายมีประสิทธิภาพ
1. การมีบุคลากรที่มีคุณภาพ 2. การมีบุคลากรอยางพอเพียง
3. ความรวมมือของประชาชน 4. การมีศาลที่มีปริมาณเพียงพอกับประชาชน

15
สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร

You might also like