You are on page 1of 12

การศึกษาชีววิทยา

วิธีการทางวิทยาศาสตร์
1.ขั้นการตั้งปัญหา (Statement of the Problem)
การตั้งปัญหาที่ดี
• ต้องสอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่มีอยู่
• สามารถตรวจหรือหาคำาตอบได้
• ชัดเจน รัดกุม เฉพาะเจาะจงว่า ถามอะไร
2. การตั้งสมมติฐาน (Formulation of Hypothesis)
การตั้งสมมติฐานที่ดีมีลักษณะดังนี้
– สอดคล้องสัมพันธ์กับปัญหาและข้อเท็จจริง
– ชีแ้ นะแนวทางการตรวจสอบให้
– ชัดเจน อ่านแล้วเข้าใจตรงกัน เข้าใจได้ทันที โดยแนะนำาให้ใช้วลีว่า

“ถ้า...(ชี้ปัญหา)...... ดังนั้น ... (ชีส้ ู่แนวทางตรวจสอบ)....”


3. ขั้นตรวจสอบสมมุติฐาน (Test Hypothesis)
การตรวจสอบสมมติฐานทำาได้หลายวิธี เช่น
• ตรวจสอบโดนวิธี ทำาการทดลอง (Experiment) ทำาซำ้า (Repetition)
หลายๆครัง้
• การตรวจสอบโดยวิธีใช้เครื่องมือ ชัง่ ตวง วัด
**การตรวจสอบโดยวิธีการทดลอง ใช้มากที่สุดในทางวิทยาศาสตร์ มีขั้นตอนสำาคัญ คือ
– ชั้นวางแผนออกแบบการทดลอง
– ขัน้ ลงมือทำาตามการทดลองตามแผนที่วางไว้
การทดลองจะมีปัจจัยที่จะส่งผลต่อการทดลองหลายปัจจัย
เรียกปัจจัยเหล่านั้นว่า “ตัวแปร (Variable)” คือ
1. ตัวแปรอิสระ (independent Variable) หรือ ตัวแปรต้น
คือตัวแปรที่เป็นตัวเหตุของปัญหา เป็นตัวแปร(ปัจจัย)
ที่เราต้องการศึกษาหรือดูผลของมันจากการทดลอง
ตัวแปรนี้ไม่อยู่ในการควบคุมของตัวแปรใดๆ
2. ตัวแปรไม่อิสระ (Dependent Variable) หรือตัวแปรตาม
คือตัวแปรซึ่งเป็นผลของตัวแปรอิสระ จะเปลีย่ นแปลงไปตามตัวแปรอิสระ
ตัวแปรนี้จึงไม่มีอิสระในตัวมันเอง ต้องขึ้นอยู่กบั ตัวแปรอิสระเสมอ
3. ตัวแปรควบคุม (Controled Variable) คือมีตัวแปรอื่นๆทั้งหมด
ที่ถกู ควบคุมให้คงที่ตลอดการทดลอง
เพื่อไม่ให้ปัจจัยนี้ส่งผลต่อการทดลองได้
• การทดลองทางวิทยาศาสตร์ เรียก การทดลองควบคุม มี 2 ชุดคือ
– ชุดทดลอง (Experimental group)
คือชุดที่เราต้องการดูผลของตัวแปรอิสระจึงเป็นชุดที่เราใส่ตวั แปรอิสระเข้าไป
– ชุดควบคุม (Controlled Group) คือชุดที่เราตั้งไว้เปรียบเทียบกับชุดทดลอง
เพื่อประโยชน์ในการสรุปผลได้อย่ามัน่ ใจ โดยชุดนี้จะต่างจากชุดทดลองเพียง
1 ปัจจัย (หรือ 1 ตัวแปร) เท่านั้น
4. ขั้นวิเคราะห์ผล(ข้อมูล)(analysis)หรือการแปลผลข้อมูล
(Interpretation)

เป็นขั้นที่นำาผลหรือปัญหาอาจแปรผลเป็น รูปกราฟเส้น กราฟแท่ง


รูปภาพ ตาราง หรือคำาบรรยาย ฯลฯ
5. ขั้นสรุปผล (conclusion)
เป็นขั้นตอนที่สรุปตัดสินว่า สมมติฐานนั้นถูกหรือผิด
อันเป็นผลมาจากขั้นต้นๆ (1-4)
และสามารถนำาสมมติฐานมาเป็นบทสรุปได้ คือ
– ถ้าการทดลองไม่เป็นจริงตามสมมติฐาน สมมติฐานนั้นผิด ค้นคว้าหาความรู้ใหม่
– ถ้าเการทดลองเป็นจริงตามสมมติฐาน คือได้คำาตอบ หรือบทสรุปของปัญหา
– คำาตอบจะถูกบันทึกไว้เป็นความรูท้ ี่ใช้ศกึ ษาต่อไป
– คำาตอบที่ถูกตรวจสอบแล้วหลายรัง้ หลายๆวิธี
จนเป็นทีย่ อมรับอย่างกว้างขวางและใช้อธิบายอ้างอิงหรือทำานาย
ข้อเท็จจริงอื่นๆที่คล้ายคลึงกันได้ จะได้รับการยกย่องขึ้นเป็น ทฤษฎี (Theory)
เช่นทฤษฎีเซลล์ ฯลฯ
กฎ (Law) คือหลักความจริงหลัก principle มีความเป็นจริงในตัวเอง
ไม่มีข้อโต้แย้งใดๆ สามารถตรวจสอบได้ผลเดิมเสมอ
มักได้จาการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติโดยเน้น เหตุ และ ผล (Cause &
Effect) เช่น
• กฎการใช้และไม่ใช้ของลาร์มาร์ค
• กฎการถ่ายทอกลักษณะทางพันธุกรรม กฎน้อยท่าสุดของลีบกิ
กฎความทนของเซลฟอร์ด
ตัวอย่าง
ข้อเท็จจริง
• ต้นหญ้าที่อยู่ใต้ตน้ ไม้ใหญ่ถงึ ไม่เจริญงอกงาม
• ต้นหญ้าที่อยู่ใต้ชายคาบ้านไม่เจริญงอกงาม
• ต้นหญ้าที่อยู่กลางสนามได้รับแสงสว่าง เจริญงอกงามดี
ความสัมพันธ์ของข้อเท็จจริง คือหญ้า : เจริญงอกงาม : แสง

การตั้งปัญหา :
แสงสว่างเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของต้นหญ้าใช่หรือไม่

การตั้งสมมติฐาน : “ถ้าแสงสว่างเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของหญ้า
ดังนั้น หญ้าที่ได้รับแสดงแดดจะเจริญเติบโตดี
ส่วนหญ้าที่ไม่ได้รับแสงสว่างจะไม่งอกงาม
การตรวจสอบสมมติฐาน
– ปลูกหญ้าชนิดเดียวกัน ในกระบะดินที่เหมือนกันทุกประการ
ทั้งขนาดของกระบะ, ชนิดของดิน ความชื้น อุณหภูมิ ฯลฯ
ให่กระบะหนึ่งได้รับแสงแดด อีกกระบะไม่ได้รับ
สังเกตการเจริญเติบโตของหญ้า...
ชุดที่ได้รับแสง = ชุดทดลอง
ชุดที่ไม่ได้รับแสง = ชุดควบคุม
– ถ้าผลการทดลองได้ข้อเท็จจริงว่า หญ้าที่ได้รับแสงเจริญเติบโตดี
ส่วนหญ้าที่ไม่ได้รับแสง ไม่เจริญงอกงาม จึงสรุปได้ว่า
แสงสว่างเกี่ยวข้อกับการเจริญงอกงามของหญ้าจริง ตามสมมติฐาน แล้ว
สมมติฐานจะกลายเป็นคำาตอบ

You might also like