You are on page 1of 16

คณะกรรมการนักศึกษาเนติบัณฑิต สมัย58

สรุปวิชากฎหมายหนี้

1. ความหมายและลักษณะแหงหนี้ มาตรา 194


หนี้ คือ ความผูกพันในทางกฎหมายระหวางบุคคลสองฝาย โดยฝายหนึ่งเรียกวาเจาหนี้ และอีกฝายหนึ่งเรียกวาลูกหนี้

เจาหนี้ หนี้ ลูกหนี้

มีสิทธิเรียกรอง มูลแหงหนี้ หรือบอเกิดแหงหนี้ มีหนาที่ปฏิบัติการชําระหนี้


1.สัญญา (วัตถุแหงหนี้)
2. ละเมิด 1. การกระทําการ
3. จัดการงานนอกสั่ง 2. การงดเวนการกระทํา
4. ลาภมิควรได 3. การสงมอบ
5. บทบัญญัติกฎหมาย

หนี้ในธรรมหรือหนี้ธรรมดา หมายถึง หนี้ที่เจาหนี้ไมอาจบังคับใหลูกหนี้ปฏิบัติการชําระหนี้ได แตถาลูกหนี้ไดชําระหนี้ใหแกเจาหนี้แลวก็


เรียกคืนไมได เชน หนี้ที่ขาดหลักฐานเปนหนังสือ หนี้ที่ขาดอายุความเปนตน
2. ทรัพยซึ่งเปนวัตถุแหงหนี้ แบงออกเปน 2 กรณี ไดแก ทรัพยสินอื่น และ เงินตรา
2.1 กรณีทรัพยสินอื่นตามมาตรา 195 ถาระบุไวแตเพียงประเภท แลวไมอาจทราบไดโดย
(1) สภาพแหงนิติกรรม หรือ
(2) เจตนาของคูกรณี วาพึงเปนชนิด (คุณภาพของทรัพย)ใด ลูกหนี้จะตองสงมอบทรัพย ชนิดปานกลาง
ขอสังเกต กรณีนี้ไมใชเรื่องเจาหนี้ หรือลูกหนี้เปนผูเลือก ทรัพยทั่วไปที่กลายเปนทรัพยเฉพาะสิ่งมี 2 วิธี ตามมาตรา 195 วรรคสอง คือ
(1) ถาลูกหนี้ไดกระทําการอันตนจะพึงตองทํา เพื่อสงมอบทรัพยสิ่ง นั้นทุกประการแลว
(2) ลูกหนี้ไดเลือกกําหนดทรัพยที่จะสงมอบ แลวดวยความยินยอมของเจาหนี้
ขอสังเกต ผลของการเปน ทรัพยเฉพาะสิ่ง จะเกี่ยวกับปญหาการชําระหนี้เปนพนวิสัย เพราะหากยังไมเปนทรัพยเฉพาะสิ่ง จะอางวาการ
ชําระหนี้เปนพนวิสัยไมได(ฏ.2046/2531)
2.2 กรณีเงินตรา มาตรา 196,197
(1) ถาหนี้เงินไดแสดงไวเปนเงินตางประเทศลูกหนี้จะสงใชเปนเงินไทยก็ได แตตองคิดอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ณ สถานที่ และใน
เวลาที่ใชเงิน(มาตรา196)
“การแสดงไว” หมายถึง การกําหนดมูลคาของเงินที่จะตองสงใชกันแตมิไดระบุกันชัดวาตองสงมอบเงินตราสกุลใด
“อัตราแลกเปลี่ยน” หมายถึง อัตราแลกเปลี่ยนกันไดโดยเสรีในเวลาที่ใชเงินจริงตามปกติคิดอัตราขายของธนาคารพาณิชยใน
กรุงเทพมหานคร
เพื่อความสะดวกในการบังคับคดี ใหคิดตามอัตราในวันที่อานคําพิพากษาของศาล(ฎ.3529/2542,ฎ.1909/2541,ฎ.4609/2540
,ฎ.3529/2542)
(2) ถาหนี้เงินซึ่งเงินตราชนิดนั้น ยกเลิกไมใชกันแลว ในเวลาที่จะตองสงเงิน ใหถือเสมือนหนึ่งวามิไดระบุไวใหใช เปนเงินตรา
ชนิดนั้น (มาตรา147) ดังนั้นลูกหนี้ยังตองสงใชเงินชนิดที่ยังใชอยูตอไป เพราะไมเปนเหตุระงับแหงหนี้


3. วัตถุแหงหนี้ซึ่งเลือกได มาตรา 198-202
3.1 วัตถุแหงหนี้ซึ่งเลือกได มีหลักเกณฑ ดังนี้
(1) หนี้นั้นมีการกระทําเพื่อชําระหนี้หลายอยาง
(2) ลูกหนี้ตองกระทําเพียงการใดการหนึ่งแตอยางเดียว
ขอสังเกต 1. ไมใชบังคับกับกรณีที่ลูกหนี้ตองชําระหนี้แตเพียงอยางเดียว
2. ไมใชบังคับกับกรณีที่ลูกหนี้ตองชําระหนี้หลายอยางโดยชําระทุกอยาง
3. ไมใชบังคับกับกรณีที่ลูกหนี้ตองชําระหนี้ทีละอยางกอนหลังตามลําดับ ซึ่งสวนใหญเปนเรื่องหนี้ตามคําพิพากษา (ฎ.
752/2542**,ฏ.7827/2538)
3.2 ผูมีสิทธิเลือก มาตรา 198,201 วรรคสอง
1. เปนไปตามขอตกลง
2. ถาไมมีการตกลงกฎหมายใหลูกหนี้เปนผูมีสิทธิเลือก(มาตรา 198)
3. ถาตกลงใหบุคคลภายนอกเลือกแตไมอาจเลือกไดหรือไมเต็มใจเลือก กฎหมายใหลูกหนี้เปนผูเลือก(มาตรา 201วรรคสอง)
3.3 วิธีการเลือก มาตรา 199วรรคหนึ่ง,201วรรคสอง
1.กรณีลูกหนี้หรือเจาหนี้เปนผูเลือก ใหแสดงเจตนาแกคูกรณีฝายหนึ่ง(มาตรา 199 วรรคหนึ่ง)
2.กรณีบุคคลภายนอกเปนผูเลือกใหแสดงเจตนาแกลูกหนี้ และลูกหนี้จะตองแจงความนั้นแกเจาหนี้
3.4 กําหนดเวลาที่ตองเลือก มาตรา 200
1. กรณีมีกําหนดเวลาใหเลือก เมื่อครบกําหนดแลวฝายที่มีสิทธิเลือกไมเลือกใหสิทธิการเลือกตกไปอยูแกอีกฝายหนึ่ง
(วรรคแรก)
2.กรณีไมมีกําหนดระยะเวลาใหเลือก เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระแลวฝายที่มีสิทธิเลือกไมเลือกฝายที่ไมมีสิทธิเลือก
กําหนดเวลาพอสมควรบอกกลาวใหฝายที่มีสิทธิเลือกใชสิทธิเลือกภายในเวลาอันนั้น ถาครบกําหนดแลวไมเลือก ใหสิทธิเลือกตกเปนของ
ฝายที่ไมมีสิทธิเลือกมาแตตน(วรรคสอง)
3.5 ผลการเลือก มาตรา199 วรรคสอง ใหถือวา การชําระหนี้ที่ไดเลือกนั้นเปนการชําระหนี้ที่ไดกําหนดใหทํามาตั้งแตตน (ตั้งแต
กอหนี้ )
3.6 การชําระหนี้อยางหนึ่งอยางใดในหลายอยางที่ตองเลือกเปนวิสัยจะทําได (มาตรา202) ตองพนวิสัยกอนเลือก
หลัก ลูกหนี้ตองชําระหนี้ดวยสิ่งที่ยังไมพนวิสัย
ขอยกเวน ลูกหนี้เลือกชําระหนี้ดวยสิ่งที่พนวิสัยได ถาการพนวิสัยนั้นเกิดจากพฤติการณของฝายที่ไมมีสิทธิเลือก
ขอสังเกต ถาเปนกรณีพนวิสัยภายหลังการเลือกตองบังตับตามเรื่องการชําระหนี้เปนพนวิสัย ตามมาตรา 217,218หรือ 219 แลวแตกรณี
4.กําหนดเวลาชําระหนี้ มาตรา 203
4.1 หนี้นั้นไมมีกําหนดเวลาชําระ และ ไมอาจอนุมานจากพฤติการณทั้งปวงได(วรรคหนึ่ง)
ผล คือ 1. เจาหนี้มีสิทธิเรียกใหชําระหนี้ไดโดยพลัน(ทันทีที่กอหนี้)
2. ลูกหนี้ก็ยอมจะชําระหนี้ไดโดยพลันดุจกัน
4.2 หนี้มีกําหนดเวลาชําระ แตกรณีเปนที่สงสัย (วรรคสอง) กรณีเปนที่สงสัยนั้นหมายถึง สงสัยวากําหนดเวลาเปนประโยชนแกฝายใด
ผล คือ ใหเปนประโยชนแกลูกหนี้กลาวคือ
1. เจาหนี้จะเรียกใหชําระกอนครบกําหนดเวลาไมได
2. ลูกหนี้จะชําระหนี้กอนครบกําหนดเวลาได (ฎ.1062/2540 ประชุมใหญ**)
5. การบังคับชําระหนี้ตามวัตถุแหงหนี้ มาตรา 213


วรรคหนึ่ง เจาหนี้มีสิทธิบังคับชําระหนี้ไดเมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้ใหเปนไปตามความประสงคอันแทจริงแหงมูลหนี้ โดยตองใช
สิทธิทางศาล เวนแตสภาพแหงกนี้ไมเปดชอง นอกจากนี้เจาหนี้ยังมีสิทธิเรียกคาเสียหายไดดวย
วรรคสอง กรณีสภาพแหงหนี้ไมเปดชองใหบังคับชําระหนี้
1. กรณี การการะทําที่ไมตองอาศัยความสามารถของลูกหนี้เฉพาะตัว เจาหนี้อาจรองขอตอศาลใหสั่งบุคคลภายนอกกระทําการ
ดังกลาวแทนลูกหนี้ โดยลูกหนี้เปนผูออกคาใชจาย แตถาเปนความสามารถเฉพาะตัวของลูกหนี้ เจาหนี้มีสิทธิเพียงเรียกรองคาเสียหายอัน
เกิดแตการไมชําระหนี้นั้น
2.กรณีเปนการกระทํานิติกรรม เจาหนี้อาจรองขอตอศาลใหสั่งใหถือเอาตามคําพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของลูกหนี้ก็ได เชน
การไถถอนจํานอง การจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ ดังนั้น ถาวัตถุแหงหนี้มิใชการบังคับใหทํานิติกรรม ก็จะรองขอใหศาลถือเอาคําพิพากษา
แทนการแสดงเจตนาไมได เชน หนี้ตองคืนสลากกินแบงรัฐบาล (ฎ.3110/2539,ฏ.1060-1061/2540**)
นอกจากนี้ เจาหนี้ยังสามารถเรียกเอาคาเสียหายไดอีกตามวรรคสี่ (,ฎ.6705/2541**)
6. ลูกหนี้ผิดนัด
6.1 กรณีที่ลูกหนี้ผิดนัด มาตรา 204,206 แบงไดเปน 2 กรณี ดังนี้
(1) ลูกหนี้ผิดนัดเพราะเจาหนี้ไดเตือนแลว (มาตรา 204 วรรคหนึ่ง) หลักเกณฑ มีดังนี้
1.หนี้ถึงกําหนดชําระแลว
2.เจาหนี้ ไดใหคําเตือนลูกหนี้แลว
3. ลูกหนี้ยังไมชําระหนี้
(2) ลูกหนี้ตกเปนผูผิดนัดโดยมิพักตอง เตือน (มาตรา204วรรคสอง ,206) กลาวคือ เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระแลว ลูกหนี้ยังไมชําระ
หนี้ ในหนี้ดังตอไปนี้
1.หนี้มีกําหนดเวลาชําระหนี้ไวตามวันแหงปฏิทิน
2.หนี้ที่มีขอตกลงบอกกลาวลวงหนาซึ่งอาจคํานวณนับไดตามปฏิทิน
3. หนี้ละเมิด
6.2 ขอแกตัวขอลูกหนี้วายังไมผิดนัด มาตรา 205 เนื่องจากมีพฤติการณที่ลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบเกิดขึ้นเปนเหตุใหลูกหนี้ไมอาจ
ชําระหนี้ไดทันกําหนดเวลาชําระ พฤติการณที่ลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ เชน เหตุสุดวิสัย อุบัติเหตุ หรือเจาหนี้ตกเปนผูผิดนัด หรือเหตุ
ภายนอกตางๆ
6.3 ผลของการที่ลูกหนี้ผิดนัด มาตรา 215,216,217,224,225
(1) เจาหนี้มี สิทธิเรียกเอาคาสินไหมทดแทน เพื่อ ความเสียหาย(มาตรา215)
(2) ถาการชําระหนี้กลายเปนอันไรประโยชนแกเจาหนี้ เจาหนี้จะบอกปดไมรับชําระหนี้ และจะเรียก เอาคาสินไหม
ทดแทนได(มาตรา 216)
(3) ถาการชําระหนี้ตกเปนพนวิสัย(ระหวางเวลาที่ลูกหนี้ผิดนัด) เจาหนี้มีสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนได เวนแตความ
เสียหายนั้นคงตองเกิดขึ้น แมไดชําระหนี้ทันเวลากําหนด (มาตรา217)
(4) ถาหนี้เงินนั้น เจาหนี้มีสิทธิคิดดอกเบี้ย รอยละเจ็ดกึ่งตอป เวนแต จะเรียกดอกเบี้ยไดสูงกวานั้นแตจะคิดดอกเบี้ยซอน
ดอกเบี้ยในระหวางผิดนัดไมได (มาตรา224)
(5) ถาหนี้เปนการสงมอบวัตถุ แลววัตถุเสื่อมเสียไปหรือราคาตกต่ํา เจาหนี้มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยในเงินคาสินไหมทดแทน
ในอัตรารอยละ 7.5 ตอป (มาตรา 225)
7. เจาหนี้ผิดนัด
7.1 กรณี เจาหนี้ผิดนัด มาตรา 207,209,210 แบงได 3 กรณี ดังนี้
(1) เจาหนี้ไมรับชําระหนี้ (มาตรา207) หลักเกณฑมี ดังนี้
1. ลูกหนี้ขอปฏิบัติการชําระนี้ ตามาตรา 208 วรรคหนึ่ง และ


2.เจาหนี้รับชําระหนี้ โดยปราศจากมูลเหตุจะอางตามกฎหมาย
(2) เจาหนี้ไมกระทําการเพื่อรับชําระหนี้ (มาตรา209) หลักเกณฑ มีดังนี้
1.ตกลงกําหนดเวลาเปนแนนอนใหเจาหนี้กระทําการใด และ
2. เจาหนี้ไมกระทําการนั้นภายในกําหนดเวลา
(3) เจาหนี้ไมชําระหนี้ตางตอบแทน (มาตรา210) หลักเกณฑ มีดังนี้
1.เปนหนี้ตางตอบแทน
2.เจาหนี้เตรียมพรอมรับชําระหนี้ และ
3.เจาหนี้ไมเสนอที่จะชําระหนี้ตอบแทนตามที่ตองทํา
7.2 ขอแกตัวของเจาหนี้ ที่วายังไมผิดนัด มาตรา 211,212 เหตุที่ไมถือวาเจาหนี้ตกเปนผูผิดนัด มี 2 กรณี คือ
(1) ลูกหนี้มิไดอยูในฐานะที่จะสามารถชําระ หนี้ได(มาตรา211)
(2) เจาหนี้มีเหตุขัดของชั่วคราวไมอาจรับชําระหนี้ได(มาตรา212) ในกรณีที่
(2.1) กรณีมิไดกําหนดเวลาชําระหนี้ ตามมาตรา203 วรรคหนึ่ง
(2.2) กรณีกําหนดเวลาชําระหนี้และลูกหนี้มีสิทธิรับชําระหนี้ไดกอนกําหนดตามมาตรา 203วรรคสอง
เวนแต ลูกหนี้ไดบอกกลาวลวงหนาพอสมควรแลว
7.3 ผลของการที่เจาหนี้ผิดนัด มาตรา 221,330
(1 )กรณีเปนหนี้เงินเจาหนี้จะคิดดอกเบี้ยเจาหนี้ไมมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในระหวางที่ผิดนัด (มาตรา221)
(2) ความรับผิดของลูกหนี้เปนอันปลดเปลื้องไป เมื่อลูกหนี้ขอปฏิบัติการชําระหนี้โดยชอบแลว(มาตรา330)
ขอสังเกต การที่เจาหนี้ผิดนัดไมเปนเหตุใหหนี้ระงับ ดังนั้นลูกหนี้ยังคงมีหนาที่ชําระหนี้ใหแกเจาหนี้อยูตอไป
8. การเรียกคาสินไหมทดแทน
“คาเสียหาย” หมายถึง การชดใชเปนตัวเงินใหแกผูเสียสหายเพื่อความเสียหายอันไดกอขึ้น
“คาสินไหมทดแทน หมายความถึง การชดใชเพื่อคาทดแทนความเสียหายอันไดกอขึ้นไมจําเปนวาตองเปนเงินเทานั้น
คาสินไหมทดแทน มาตรา 222 การเรียกคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหาย แบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ
(1) ความเสียหายตามปกติ ( มาตรา222 วรรคหนึ่ง) เจาหนี้มีสิทธิเรียกรองจากลูกหนี้ได หากลูกหนี้ไมชําระหนี้นั้น (ฎ.255/2539,
ฎ.3587/2526,ฏ.3697/2524,ฏ.2339/2517)
(2) ความเสียหายอันเกิดแตพฤติการณพิเศษ (มาตรา222วรรคสอง) เจาหนี้จะเรียกไดเมื่อคูกรณีที่เกี่ยวของไดคาดเห็นหรือ ควรจะไดคาด
เห็นพฤติการณ เชนนั้นลวงหนากอนแลว เชน เบี้ยปรับ , คาปรับ (ฎ.556/2511**,ฎ.270/2521,ฎ.5581/2533)
8.2 ผูเสียหายมีสวนผิด (มาตรา 223) ถาผูเสียหายมีสวนผิดดวยจํานวนคาเสียหายก็ยอมลดลงตามสวนหรืออาจไมไดรับชดใชเลยก็ได แบง
ได 2 กรณี
(1) กรณีผูเสียหายมีสวนผิดอยางแทจริง (มาตรา 223 วรรคหนึ่ง)
(2) กรณีถือวาผูเสียหายมีสวนผิด (มาตรา 223 วรรคสอง)
2.1 ละเลยไมเตือนใหลูกหนี้รูถึงอันตรายรายแรงผิดปกติ
2.2 ละเลยไมบําบัดปดปองหรือบรรเทาความเสียหายนั้น
9. การชําระหนี้เปนพนวิสัย (มาตรา 217,218,219) หมายความวา การชําระหนี้ที่ไมสามารถกระทําใหสําเร็จตามความประสงคอัน
แทจริงแหงมูลหนี้ได
™ กรณีทําไดแตเสียคาใชจายสูง ไมถือวาเปนพนวิสัย ฎ.2829/2522,ฎ.928/2521)
™ กรณีไมกลาปฏิบัติการชําระหนี้ ไมถือวาเปนการพนวิสัย (ฏ.1185/2533)
™ กรณีมิไดกําหนดใหสงมอบทรัพยสินจากที่ใด หากลูกหนี้ยังสามารถจัดหาจากแหลงอื่นได ก็ไมเปนการพนวิสัย (ฎ.5516/2537,ฎ.
3342/2532ฎ.2046/2531,ฎ.4341/2531)


9.1 การชําระหนี้พนวิสัยในระหวางที่ลูกหนี้ผิดนัด มาตรา 217
ลูกหนี้จะตองรับผิดชอบในความเสียหาย ที่เกิดแตความประมาทเลินเลอ หรืออุบัติเหตุ อันเกิดขึ้นในระหวางเวลาที่ผิดนัด เวนแต
ความเสียหายนั้น ก็คงเกิดขึ้นแมจะชําระหนี้ทันกําหนด
9.2 การชําระหนี้เปนพนวิสัยเพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ตองรับผิดชอบ (ลูกหนี้ยังไมผิดนัด) มาตรา218
“พฤติการณที่ลูกหนี้ตองรับผิดชอบ” เชนลูกหนี้หรือตัวแทนของลูกหนี้กระทําการโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ
(1) กรณีเปนพนวิสัยทั้งหมด
ลูกหนี้ตองชดใชคาสินไหมทดแทนแกเจาหนี้
(2) กรณีพนวิสัยบางสวน และสวนที่เปนพนวิสัยกลายเปนประโยชนแกเจาหนี้
เจาหนี้มีสิทธิไมยอมรับชําระหนี้สวนที่เปนพนวิสัย และเรียกคาสินไหมทดแทนเพื่อการไมชําระหนี้ทั้งหมดทีเดียวได
9.3 การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยเพราะพฤติการณ ซึ่งลูกหนี้ไมตองรับ ผิดชอบ (ลูกหนี้ยังไมผิดนัด) มาตรา 219 พฤติการณที่ลูกหนี้ไม
ตองรับผิดชอบ อาจเกิดขึ้นจากการกระทําของลูกหนี้แตลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ เชนไมไดประมาทเลินเลอ หรือเกิดจากการกระทําของ
บุคคลภายนอกรวมทั้งการกระทําของเจาหนี้ หรือเกิดจากธรรมชาติก็ได (ฎ.1022/2539,ฏ.1718/2539,ฎ.7246/2538)
ขอสังเกต ขอตกลงที่กําหนดใหลูกหนี้ตองรับผิด แมวาการชําระหนี้นั้นจะกลายเปนวิสัยโดยพฤติการณที่ลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ (ม. 219)
เชนนี้เปนขอตกลงที่ใชบังคับได ไมถือวาขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (ฎ. 1107/2525)
10. การรับชวงสิทธิ มาตรา 226ว.1,227,229,230 หมายถึง การที่บุคคลซึ่งมิใชเจาหนี้เดิมในมูลหนี้นั้นไดเขารับสิทธิของเจาหนี้เดิมที่มีอยู
ดวยอํานาจแหงกฎหมาย ซึ่งเมื่อเขารับชวงสิทธิแลวก็ชอบที่จะใชสิทธิทั้งหลายของเจาหนี้ รวมทั้งประกันแหงหนี้นั้นไดในนามของตนเอง
เจาหนี้ มีสิทธิเรียกรอง ลูกหนี้

สวมสิทธิเจาหนี้
บุคคล = มาโดยบทบัญญัติกฎหมาย
ลักษณะของการับชวงสิทธิ
1. เกิดขึ้นโดยผลของกฎหมาย
2. จํากัดเฉพาะที่กฎหมายบัญญัติไว เชน ป.พ.พ.มาตรา227,229,230,296,426,431,880 เปนตน
3. เกิดจากการชําระหนี้ของผูมีสวนไดเสีย
4. บุคคลอื่นเขาสวมสิทธิของเจาหนี้
10. การรับชวงสิทธิเกิดไดกรณีดังตอไปนี้
10.1 ผูรับชวงสิทธิเปนลูกหนี้ ตามมาตรา 227 มี หลักเกณฑ ดังนี้
1. เจาหนี้ไดรับความเสียหาย
2. ลูกหนี้ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกเจาหนี้
ผล ลูกหนี้เขารับชวงสิทธิเจาหนี้ไปไลเบี้ยเอากับบุคคลภายนอกได
ขอสังเกต - มูลหนี้เกิดจากสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด ซึ่งกรรมสิทธิ์แหงทรัพยสินซื้อขายเปนของเจาหนี้แลว แตลูกหนี้ยังมีหนาที่ตองสง
มอบทรัพยสินที่ซื่อขายใหแกเจาหนี้ ดังนั้นเจาหนี้ไดรับความเสียหายเกี่ยวกับทรัพยสินที่ซื้อขายแลวลูกหนี้ไดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อ
ความเสียหายแกเจาหนี้ ยอมเขารับชวงสิทธิของเจาหนี้ฟองบุคคลภายนอกที่ทําละเมิดนั้นได (ฎ.491/2539)
- กรณีผูรับประกันเปนลูกหนี้ เมื่อไดชดใชคาเสียหายแกผูเอาประกันเจาหนี้แลว ยอมรับชวงสิทธิเรียกรองคาเสียหายจาก
บุคคลภายนอกผูทําละเมิดได (ฎ.103/2535)
- หากลูกหนี้ยังมิไดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกเจาหนี้ยอมไมใชผูเขารับชวงสิทธิ ฏ.6638/2540)
10.2 ผูรับชวงสิทธิเปนเจาหนี้ลําดับหลัง ตามมาตรา 229(1) มีหลักเกณฑ ดังนี้
1. ลูกหนี้มีเจาหนี้หลายคน
2. เจาหนี้ลําดับหลังเขาไปใชหนี้ใหแกเจาหนี้ลําดับตนที่มีสิทธิไดรับชําระหนี้กอน

ผล เจาหนี้ลําดับหลังเขารับชวงสิทธิของเจาหนี้ลําดับตน
10.3 ผูรับชวงสิทธิเปนผูไดซึ่งอสังหาริมทรัพยติดจํานอง ตามมาตรา 299(2)มีหลักเกณฑดังนี้
1. อสังหาริมทรัพยติดจํานอง
2. ผูไดไปเอาเงินราคาคาซื้อใชใหแกผูรับจํานอง
ผล ผูไดไปเขารับชวงสิทธิ โดยไดอสังหาริมทรัพยนั้นไปปลอดจํานอง (ฏ.2716/2525)
10.4 ผูรับชวงสิทธิเปนผูที่มีความผูกพันรวมกับผูอื่น ตามมาตรา 229(3) เชนลูกหนี้รวม มีหลักเกณฑดังนี้
1. บุคคลภายนอกมีความผูกพันรวมกับผูอื่น
2. บุคคลนั้นมีสวนไดเสียดวยเขาใชหนี้
ผล บุคคลนั้นเขารับชวงสิทธิได **(ฏ.4574/2536,ฎ.2370/2526,ฎ.3716/2525)
10.5 ผูรับชวงสิทธิเปนผูจะตองเสี่ยงภัยเสียสิทธิในทรัพย ตามมาตรา 230 มีหลักเกณฑดังตอไปนี้
1.เจาหนี้นําบังคับยึดทรัพย
2. ผูจะตองเสี่ยงภัยเสียสิทธิในทรัพยเขาชําระหนี้ใหแกเจาหนี้
ผล ผูจะตองเสี่ยงภัยเสียสิทธิในทรัพย เขารับชวงสิทธิของเจาหนี้ (ฎ.4362/2540,ฎ.4175/2539,ฎ.4838-4839/2540)
หมายเหตุ บุคคลผูไดรับโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินเปนผูเสี่ยภัยเสียสิทธิในทรัพยนั้น
ขอสังเกต การเขารับชวงสิทธิตามมาตรา230นี้ จะตองไมทําใหเจาหนี้ไดรับความเสียหายดวย(ฎ.4838-48396/2540)
ผลการรับชวงสิทธิ
1. ผูรับชวงสิทธิสามารถใชสิทธิตามมูลหนี้ไดในนามของตนเอง ไมวาจะบังคับชําระหนี้ เรียกคาเสียหายหรือเอาเบี้ยปรับถามีได
ทั้งสิ้น
2. ผูรับชวงสิทธิไดมาเทาที่ไดชําระหนี้
ขอสังเกต ลูกหนี้รวมที่ชําระหนี้ใหแกเจาหนี้แลว ยอมรับชวงสิทธิมาไลเบี้ยแกลูกหนี้คนอื่นไดตามสวนเทานั้น(ฎ.4574/2536)
3. เรื่องกําหนดอายุความ ถารับชวงสิทธิตามมาตรา 227 ใหกําหนดอายุความตามมูลหนี้เดิม แตถารับชวงสิทธิตามมาตรา 229(3)
ตองใชอายุความ 10 ป ตามมาตรา 193/30(ฎ.6246/2540)
4. ผูรับชวงสิทธิมีสิทธิไดรับดอกเบี้ยนับตั้งแตวันที่รับชวงสิทธิหากไมปรากฏแนนชัดวาไดชําระคาสินไหมทดแทนไปเมื่อใด(ฎ.
916/2535)
5. ถาหนี้ที่รับชวงสิทธิมานั้นมีประกันดวยไมวาจะเปนประกันดวยบุคคลหรือทรัพย ผูรับชวงสิทธิมายอมไดประโยชนจาด
ประกันนั้นดวย(ฏ.2446/2525)
6. เมื่อมีการรับชวงสิทธิแลวเจาหนี้(เดิม)ไมมีสิทธิบังคับใหลูกหนี้ชําระหนี้ใหแกตนและลูกหนี้ก็จะชําระใหแกเจาหนี้(เดิม)ไมได
(ฎ.2949/2524)
7.ผูรับชวงสิทธิมีสิทธิบังคับชําระหนี้แกบุคคลอื่น เชนลูกหนี้รวมไดดวย (ฎ.800/2533)
11. ชวงทรัพย มาตรา 226วรรคสอง ,228 ,231 ,232
ชวงทรัพย หมายถึง การเอาทรัพยสินอันหนึ่งเขาแทนที่ทรัพยสินอีกอันหนึ่งดวยอํานาจแหงกฎหมาย ในฐานะนิตินัยอยาง
เดียวกันกับทรัพยสินอันกอน
ชวงทรัพยอาจเกิดขึ้นไดในกรณีตอไปนี้
11.1 ชวงทรัพยอันเนื่องจากการชําระหนี้พนวิสัย มาตรา 228 มี หลักเกณฑ ดังนี้
1. การชําระหนี้เปนพนวิสัยเพราะพฤติการณที่บุคคลภายนอกตองรับผิดชอบ
2. ลูกหนี้ไดมาซึ่งของแทนหรือไดสิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทน
ผล เจาหนี้มีสิทธิเรียกของแทนหรือคาสินไหมทดแทนดังกลาวเสียเองไดในฐานะชวงทรัพย
11.2 ชวงทรัพยของเจาหนี้บุริมสิทธิ มาตรา 231


วรรคหนึ่ง และ หา เจาหนี้ผูรับจํานอง จํานํา หรือเจาหนี้บุริมสิทธิอาจใชสิทธิเรียกรองเอาคาสินไหนทดแทนจากบุคคลดังตอไปนี้คือ
1. ผูรับประกันทรัพยสินดังกลาว
2. ผูที่บังคับซื้อทรัพยสินดังกลาว หมายถึงการเวนคืน
3. ผูที่ตองใชคาเสียหายแกเจาของทรัพยสินดังกลาว เพราะเหตุทรัพยสินนั้นทําลายหรือบุบสลาย
วรรคสองและวรรคสาม กรณีทรัพยสินไดเอาประกันภัยไว แยกพิจารณาเปน 2 กรณี ดังนี้
1) กรณีอสังหาริมทรัพย และสังหาริมทรัพยที่อาจจํานองได ผูรับประกันภัยจะใชเงินใหแกผูเอาประกันภัยทันทีไมไดจนกวาจะได
บอกกลาวเจตนาใชเงินนั้นไปยังเจาหนี้ผูรับจํานองหรือเจาหนี้บุริมสิทธิแลว และมิไดรับคําคัดคานการใชเงินนั้นภายในเวลา 1 เดือนนับแต
วันที่บอกกลาว หากทรัพยสินดังกลาวไดจดทะเบียนไว ณ หอทะเบียนที่ดินใหถือวาผูรับประกันภัยนั้นรูแลว
2) กรณีที่เปนสังหาริมทรัพยอื่น ผูรับประกันภัยจะใชเงินใหแกผูเอาประกันภัยโดยตรงก็ได เวนแตจะไดรูหรือควรจะไดรูวาอยูใน
บังคับจํานํา หรือบุริมสิทธิอยางอื่น
วรรคสี่ ผูรับประกันภัยไมตองรับผิดตอเจาหนี้ผูรับจํานอง จํานําหรือบุริมสิทธิ ถาทรัพยสินอันไดเอาประกันภัยไวนั้นไดกลับคืนมา หรือ
ไดจัดของอื่นแทนใหในลักษณะชวงทรัพย(ฏ.28072537)
12 การใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้ มาตรา 233-236 เปนบทบัญญัติที่ควบคุมกองทรัพยสินของลูกหนี้มิใหนอยถอยลง เปนเหตุให
เจาหนี้เสียหายในเวลาบังคับชําระหนี้
หนี้ ถึงกําหนดหรือไมไมสําคัญ หนี้ถึงกําหนดแลว
เจาหนี้ ลูกหนี้ ลูกหนี้ของลูกหนี้

ฟองโดยไมตองไดรับความยินยอมจากลูกหนี้
12.1 หลักเกณฑการใชสิทธิเรียกรอง (มาตรา233)
1. ลูกหนี้ขัดขืนหรือเพิกเฉยไมยอมใชสิทธิเรียกรองของตนเอง
2. เจาหนี้เสียประโยชนจากการขัดขืนหรือเพิกเฉยดังกลาว
3. สิทธิเรียกรองนั้นมิใชเปนการของลูกหนี้โดยสวนตัว
ผล เจาหนี้ฟองลูกหนี้ของลูกหนี้เปนจําเลยเรียกชําระหนี้ได (ฎ.296/2534)
**ขอสังเกต 1. หนี้ของเจาหนีจะเกิดขึ้นกอนหรือหลังหนี้ของลูกหนี้ก็ได
2. หนี้ของลูกหนี้ตองถึงกําหนดชําระแลว สวนหนี้ของเจาหนี้จะถึงกําหนดชําระหรือไมไมสําคัญ
3. เจาหนี้สามารถฟองลูกหนี้ของลุกหนี้ไดโดยไมตองไดรับความยินยอม
12.2 การฟองคดีของเจาหนี้
1. เจาหนี้จะตองขอหมายเรียกลูกหนี้เขามาในคดีนั้นดวย (มาตรา 234)
2. เจาหนี้ฟองเรียกลูกหนี้ของลูกหนี้ไดเต็มจํานวนที่คางชําระลูกหนี้ (เดิม)(มาตรา 235)
3. ถาลูกหนี้ของลูกหนี้ชําระหนี้ตามที่ลูกหนี้(เดิม) คาวงชําระเจาหนี้ของเจาหนี้เปนอันระงับไป (มาตรา 235) (ฎ.132/2523,ฎ.
2018/2530, ฎ.1829/2519)
12.3 การยกขอตอสู มาตรา 236
หลัก จําเลย (ลูกหนี้ของลูกหนี้) มีขอตอสู ลูกหนี้(เดิม) อยูอยางไรก็ยกขึ้นตอสูเจาหนี้ไดทั้งนั้น
ขอยกเวน ถาเปนขอตอสูซึ่งเกิดขึ้นตั้งแตยื่นฟองจะยกเปนขอตอสูไมได (ฏ.1748/2540)
**ขอสังเกต ขอตอสูที่จะยกขึ้นตอสูนั้น อาจมีลักษณะดังตอไปนี้
1. ขอตอสูตามมูลหนี้ระหวางเจาหนี้กับลูกหนี้
2. ขอตอสูตามมูลหนี้ระหวางลูกหนี้กับลูกหนี้ของลูกหนี้ ที่มีอยูกอนยื่นฟอง


1.3 การเพิกถอนการฉอฉล (มาตรา 237) เปนบทบัญญัติที่ควบคุมกองทรัพยสินของลูกหนี้อีกทางหนึ่ง

เจาหนี้ ลูกหนี้ ทํานิติกรรม ผูไดลาภงอก

ฟองเพิกถอน
หลักเกณฑการเพิกถอนกลฉอฉล(มาตรา 237)
1. ลูกหนี้ทํานิกรรมอันมีวัตถุเปนสิทธิในทรัพยสิน เชน ปลดหนี้
ถาไมเกี่ยวกับสิทธิในทรัพยสิน เชนการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม จดทะเบียนหยา เชนนี้เพิกถอนไมได
2. เจาหนี้เสียเปรียบเพราะการทํานิติกรรมนั้นและ
3. ผูไดลาภงอกตองรูถึงความที่เจาหนี้เสียเปรียบ หรือไดโดยเสนหา
ผล เจาหนี้รองขอใหศาลเพิกถอนนิติกรรมที่ลูกหนี้กระทําลงนั้นได แมวาหนี้ของเจาหนี้ยังไมถึงกําหนดชําระก็ตาม
ขอสังเกต 1. หนี้ของเจาหนี้ตองเกิดขึ้นกอนการทํานิติกรรมของลุกหนี้กับผูไดลาภงอกดวย (ฎ.886/2515,ฎ.322/2526)
2. นิติกรรมที่เปนโมฆะเพราะเกิดจากการแสดงเจตนาลวง ไมตองมีการฟองขอใหเพิกถอน แมเจาหนี้จะเสียเปรียบ(ฎ.786/2528)
3. หนี้ภาษีอากรเกิดขึ้นในปที่ตองชําระ แมลูกหนี้ยังไมไดรับแจงการประเมินหากลูกหนี้ทํานิติกรรมใดทําใหกรมสรรพกร
เจาหนี้เสียเปรียบก็เพิกถอนการฉอฉลได (ฎ.5504/2533)
4. เจาหนี้ที่มีสิทธิฟองขอใหเพิกถอนฉอฉลไมจําตองเปนเจาหนี้ตามคําพิพากษา (ฎ.3726/2530,ฎ4462/2540,)
5.ลูกหนี้ผูทํานิติกรรมอันเปนการฉอฉลจะฟองขอเพิกถอนไมได บุคคลที่มีสิทธิฟองขอใหเพิกถอนไดคือเจาหนี้ (ฏ.261/2525)
6. กรณีผูทํานิติกรรมไมใชลูกหนี้ของเจาหนี้ เจาหนี้ก็ฟองขอใหเพิกถอนการฉอฉลไมได (ฎ3151/2540,ฎ790/2538,ฎ.
3090/2538,ฏ.3602/2530)
7. การทํานิติกรรมของลูกหนี้ตองเปนเหตุใหเจาหนี้เสียเปรียบหากเจาหนี้ไมเสียเปรียบก็เพิกถอนไมได
7.1 ลูกหนี้ขายที่ดินจํานอง เพื่อนําเงินมาชําระหนี้แกเจาหนี้ผูรับจํานองเชนนี้ เจาหนี้สามัญไมใชผูเสียเปรียบ ยอม
เพิกถอนไมได เพราะเจาหนี้บุริมสิทธิยอมไดรับการชําระหนี้กอนเจาหนี้สามัญอยูแลว (**ฎ.2283/2539)
7.2 ลูกหนี้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินใหแกบุคคลภายนอกที่มีสิทธิในที่ดินของลูกหนี้อยูกอนแลวภายหลังกอ
หนี้กับเจาหนี้ ไมถือวาทําใหเจาหนี้เสียเปรียบ(ฎ.616/2514)
7.3 นิติกรรมที่ลูกหนี้ทํา หากเปนการกอประโยชนแกกองทรัพยสินของลูกหนี้แมเปนการโอนทรัพยสินไปก็ไมทําให
เจาหนี้เสียเปรียบ (ฎ.1868-1869/2516)
8. การที่ลูกหนี้โอนทรัพยเฉพาะสิ่งไปใหบุคคลภายนอก เจาหนี้ยอมเพิกถอนไดเพราะอยูในฐานเสียเปรียบ แมวาฐานะทาง
ทรัพยสินของลูกหนี้ยังดีอยู (**ฎ.4384/2540)
9. เจาหนี้มีสิทธิฟองขอใหเพิกถอนการฉอฉลได แมหนี้ของเจาหนี้ยังไมถึงกําหนดชําระแตถาหนี้นั้นมีเงื่อนไขบังคับกอน
แลวลูกหนี้กระทํานิติกรรมในระหวางที่เงื่อนไขยังไมสําเร็จ ก็ถือไมไดวาเจาหนี้เปนผูเสียเปรียบ
10.ในกรณีลูกหนี้รวม หากลูกหนี้รวมคนใดทํานิติกรรมอันเปนการฉอฉล เจาหนี้มีสิทธิฟองใหเพิกถอนได แมวาลูกหนี้รวม
คนอื่นจะอยูในฐานะที่ชําระหนี้ไดก็ตาม
13.2 การฟองใหเพิกถอนการฉอฉล
1. เจาหนี้ตองยื่นคําฟองตอศาล โดยฟองลูกหนี้และผูไดลาภงอกเปนจําเลยรวมกัน (ฎ.9693-9694/2539)
2. ถามีการโอนทรัพยสินตอไปใหบุคคลภายนอกอีก ก็ตองฟองบุคคลภายนอกนั้นเปนจําเลยดวย( ฎ.2345/2540)
3. การฟองคดีขอใหเพิกถอนนิติกรรม หากในระหวางการพิจารณาคดี จําเลยมาชําระหนี้ใหแกโจทกครบถวนแลว โจทกไมอยูใน
ฐานะเปนเจาหนี้ที่จะขอใหศาลเพิกถอนตอไป (ฎ.882/2515) ศาลจึงตองจําหนายคดีออกจากสาระบบความ
13.3 ผลของการเพิกถอนการฉอฉล

1. ตอลูกหนี้ ลูกหนี้ยอมกลับคืนสูฐานะเดิมไมตองผูกพันตามนิติกรรมนั้นตอไป
2. ตอเจาหนี้ เจาหนี้ทุกคนไดประโยชนจากการที่ทรัพยนั้นกลับคืนสูกองทรัพยสินของลูกหนี้(มาตรา 239) เวนแต เปนกรณีเจาหนี้
เปนผูซื้อทรัพยเฉพาะสิ่งที่ไดประโยชนแกเจาหนี้ผูเปนโจทกเพียงฝายเดียว
3. ตอผูรับนิติกรรม ผูรับนิติกรรมไมมีสิทธิตามนิติกรรมนั้นตอไป ไมอาจบังคับเอาแกลูกหนี้ไดและถาเปนผูรับนิติกรรมเปนผูซื้อ
ทรัพยสินจากหนี้ ยอมมีสิทธิเรียกเงินที่ไดชําระไปแลวคืนจากลูกหนี้ ฐานลาภมิควรได
4. ไมกระทบกระทั่งถึงสิทธิของบุคคลภายนอกที่สุจริต เสียคาตอบแทนกอนการฟองคดีขอใหเพิกถอน(มาตรา238)
“บุคคลภายนอก” หมายถึง ผูที่ไดรับโอนทรัพยสินของลูกหนี้ตอจากผูทํานิติกรรมกับลูกหนี้ (ฎ.3180/2540)
13.4 อายุความเพิกถอนการฉอฉล (มาตรา 240)
1. อยาเกิน 1 ปนับแตเจาหนี้รูเหตุ หรือ
2. อยาเกิน 10 ปนับแตลูกหนี้ทํานิติกรรม

14. ลูกหนี้เจาหนี้หลายคน มาตรา 290 ,301 ,302


14.1 หนี้แบงชําระได (มาตรา 290)
1) กรณีลูกหนี้หลายคน แตละคนรับผิดเฉพาะสวนของตนเอง
2) กรณีเจาหนี้หลายคน แตละคนไดรับชําระหนี้เฉพาะสวนของตนเอง
14.2 หนี้แบงชําระไมได
1) กรณีลูกหนี้หลายคน ตองรับผิดอยางลูกหนี้รวม (มาตรา 301)
2) กรณีเจาหนี้หลายคน ตองชําระหนี้ใหเปนประโยชนแกเจาหนี้ทุกคนหรือวางทรัพยแทนการชําระหนี้( มาตรา 302)
15. ลูกหนี้รวม มาตรา 291-296 ลูกหนี้รวมอาจเกิดขึ้นไดโดยสัญญาหรือบทบัญญัติกฎหมาย เชน ป.พ.พ. ลักษณะละเมิด ครอบครัว มรดก
15.1 ลักษณะของลูกหนี้รวม (มาตรา 291)
1. หนี้รายเดียวมีลูกหนี้หลายคน
2.ลูกหนี้แตละคนจะตองรับผิดชําระหนี้แกเจาหนี้โดยสิ้นเชิงเพียงครั้งเดียว
3. เจาหนี้จะเรียกรองใหลูกหนี้คนใดรับผิดชําระหนี้โดยสิ้นเชิงหรือตามสวนแลวแตจะเลือกก็ได
15.2 ผลของการเปนลูกหนี้รวม
15.2.1 ผลระหวางเจาหนี้กับลูกหนี้รวม (มาตรา 292-295)
1. ประโยชนแกลูกหนี้รวมทุกคน ในกรณีที่ลูกหนี้รวมคนใดคนหนึ่ง (มาตรา 292)
™ ชําระหนี้
™ การทําการแทนชําระหนี้
™ วางทรัพย
™ หักกลบลบหนี้(แตลูกหนี้รวมคนอื่นจะใชสิทธิหักกลบลบหนี้แทนไมได)
2.ประโยชนแกลูกหนี้รวมทุกคน ในกรณีเจาหนี้กระทํา
™ ปลดหนี้ใหลูกหนี้รวมคนใดคนหนึ่ง (มาตรา293)
™ ผิดนัดตอลูกหนี้รวมคนใดคนหนึ่ง (มาตรา295)
3. ประโยชนหรือโทษ เฉพาะตัวลูกหนี้คนใดคนหนึ่ง
™ การใหคําบอกกลาว เชน บอกกลาว เชน บอกเลิกสัญญา การบังคับจํานอง
™ การผิดนัด หมายถึงลูกหนี้คนหนึ่งคนใดผิดนัดตอเจาหนี้
™ การหยิบยกอางความผิดในการกระทําของลูกหนี้รวมคนหนึ่งคนใด


™ การชําระหนี้พนวิสัยอันเนื่องมาจากตัวลูกหนี้
™ กําหนดอายุความหรืออายุความสะดุดหยุดลง (ฎ.6807/2537,ฎ.891/2540)
ขอสังเกต การที่ลูกหนี้รวมคนหนึ่งรับสภาพหนี้ ทําใหอายุความสะดุดหยุดลง เปนเรื่องสวนตัวของลูกหนี้รวมคนนั้น ไมมีผลถึง
ลูกหนี้รวมคนอื่น
™ แตถาลูกหนี้รวมคนหนึ่งชําระหนี้บางสวนแทนลูกหนี้รวมคนอื่นดวย ยอมทําใหอายุความสะดุดหยุดลง มีผลถึงลูกหนี้
รวมคนอื่นๆดวย (มาตรา 292) (ฎ.588/2532,480/2506)
™ หนี้เกลื่อนกลืนกัน ทําใหหนี้ระงับเปนประโยชนเฉพาะตัวตอลูกหนี้รวมคนนั้นเทานั้น
ขอสังเกต กรณีลูกหนี้รวมถูกฟองลมละลาย การพิจารณาวาลูกหนี้คนใดมีหนี้สินลนพนตัวหรือไม เปนเรื่องเฉพาะตัวของลูกหนี้รวม
คนนั้นเทานั้นดวย (ฎ.2875/2536)
15.2.2 ผลระหวางลูกหนี้รวมดวยกัน (มาตรา296)
1) ลุกหนี้รวมแตละคนรับผิดเทาๆกัน เวนแตจะตกลงกันไวเปนอยางอื่น
2) สวนที่เจาหนี้ไมสามารถเรียกเอาจากลูกหนี้รวมคนหนึ่งไดลูกหนี้รวมคนอื่นตองรับผิดชดใชแทน
3) สวนที่เจาหนี้ไดปลดหนี้ใหแกลูกหนี้รวมคนหนึ่งยอมตกเปนพับแกเจาหนี้
16. เจาหนี้รวม มาตรา 298-300 เจาหนี้รวมเกิดขึ้นได โดยสัญญาหรือบทบัญญัติกฎหมาย เชน ป.พ.พ. ลักษณะมรดก ก็ได
16.1 ลักษณะของเจาหนี้รวม(มาตรา 298)
1) หนี้รายเดียวมีเจาหนี้หลายคน
2) เจาหนี้คนใดคนหนึ่งมีสิทธิเรียกรองใหลูกหนี้ชําระหนี้ไดโดยสิ้นเชิงแตเพียงครั้งเดียว
3) ลูกหนี้จะชําระใหแกเจาหนี้คนใดคนหนึ่งก็ไดตามแตจะเลือก (ฎ.2847/2540)
16.2 ผลของการเปนเจาหนี้รวม
16.2.1 ผล ระหวางเจาหนี้รวมกับกับลูกหนี้ (มาตรา 299)
1) เจาหนี้รวมคนหนึ่งผิดนัดยอมเปนโทษแกเจาหนี้รวมทุกคน(มาตรา 299 วรรคหนึ่ง) ถาเปนหนี้เงิน เจาหนี้รวมไมมีสิทธิเรียก
ดอกเบี้ยตามมาตรา 221
2) หนี้เกลื่อนกลืนกันไประหวางเจาหนี้รวมคนหนึ่งกับลูกหนี้ หนี้ของลูกหนี้ยอมระงับ(มาตรา 299วรรคสอง)
3) ใหนํามาตรา 292,293,295 มาใชบังคับโดยอนุโลม
– กรณีมาตรา 292,293 เปนผลตอเจาหนี้รวมทุกคน
-- กรณีมาตรา 295 เปนผลเฉพาะตัวตอเจาหนี้รวม เชน ลูกหนี้ผิดนัดตอเจาหนี้รวมคนหนึ่ง ยอมเปนผลตอเจาหนี้รวมคนนั้นที่มี
สิทธิไดรับดอกเบี้ยในระหวางผิดนัด
16.2.2 ผลระหวางเจาหนี้รวมดวยกันเอง (มาตรา 300) เจาหนี้แตละคนชอบที่จะไดรับชําระหนี้เปนสวนเทาๆกัน เวนแตตกลงมัน
ไวเปนอยางอื่น
17. โอนสิทธิเรียกรอง มาตรา 303-311 การโอนสิทธิเรียกรอง เปนกรณีที่เจาหนี้ โอนสิทธิ ที่มีตอลูกหนี้ใหบุคคลหนึ่ง เรียกวาผูรับโอน
โดยทางนิติกรรม
โอน เจาหนี้ มีสิทธิเรียกรอง ลูกหนี้
โดยนิติกรรม

ผูรับโอน

ขอสังเกต 1.ตองระมัดระวังในบางกรณีไมใชการโอนสิทธิเรียกรอง แตเปนเพียงหนังสือมอบใหรับเงินแทน (ฎ.653/2514)


2. ถาเปนกรณีเจาหนี้สละสิทธิเรียกรอง ก็ไมใชโอนสิทธิเรียกรอง (ฎ.330/2522)

๑๐
** 3. การตกลงซื้อขายสิทธิเรียกรองที่ผูซื้อไมสามารถบังคับลูกหนี้ใหชําระหนี้ได ไมใชการโอนสิทธิเรียกรอง จึงไมจําตองทําเปน
หนังสือ (**ฎ.5466/2539)
** 4. การโอนสิทธิเรียกรองตามสัญญาตางตอบแทนจะใชวิธีแบบโอนสิทธิเรียกรอง ตาม ป.พ.พ. มาตรา 306ไมได (ฎ.2472/2519)
17.1 หลักเกณฑการโอนสิทธิเรียกรอง มาตรา 303
หลัก สิทธิเรียกรองโอนกันได
ขอยกเวน 1.สภาพแหงสิทธิไมเปดชอง
2. คูกรณีตกลงหามโอน แตจะยกขึ้นตอสูบุคคลภายนอกผูสุจริตไมได
3. สิทธิที่ศาลยึดไมได(มาตรา 304) (ฎ3793/2535,ฎ.4837/2540)
17.2 วิธีการโอนสิทธิเรียกรองหรือโอนหนี้
17.2.1 การโอนหนี้ที่ตองชําระแกเจาหนี้คนหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง(มาตรา 306)
ขั้นตอนที่หนึ่ง การโอนตองทําเปนหนังสือระหวางเจาหนี้กับผูรับโอนาโดยไมตองไดรับความยินยอมจากลูกหนี้
“การทําเปนหนังสือ” แมลงลายมือชื่อผูโอนฝายเดียวก็เพียงพอแลว(ฎ.4139/2532)
ขั้นตอนที่สอง การยกขึ้นตอสู
™ ตองมีการบอกกลาวการโอนเปนหนังสือไปยังลูกหนี้ หรือ
™ ลูกหนี้ใหความยินยอมในการโอนเปนหนังสือ (ฎ.5561-5567/2530,ฎ.3973/2532)
อนึ่งถาลูกหนี้ชําระหนี้ใหแกเจาหนี้กอนขั้นตอนที่สองไปแลว ลูกหนี้ก็หลุดพนจากหนี้นั้น
1.การยกขอตอสูของลูกหนี้ที่มีตอเจาหนี้ขึ้นตอสูผูรับโอน (มาตรา 308)
1.1 กรณีลูกหนี้ใหความยินยอมในกานโอนโดยมิไดอืดเอื้อน เชนนี้ลูกหนี้จะยกขอตอสูที่มีตอผูโอนขึ้นตอสูผูรับโอนไมได
1.2 กรณีลูกหนี้ไดรับคําบอกกลาวการโอน เชนลูกหนี้ยกขอตอสูที่มีอยูกอนไดรับคําบอกกลาวขึ้นตอสูผูรับโอนได
1.3 กรณีลูกหนี้ไดรับคําบอกกลาวการโอน และลูกหนี้มีสิทธิที่จะหักกลบลบหนี้ไดอยูกอน แตหนี้นั้นยังไมถึงกําหนดในเวลาบอก
กลาวการโอน ลูกหนี้ก็แสดงเจตนาหักกลบหนี้ไปยังผูรับโอนได ถาสิทธิเรียกรองนั้นถึงกําหนดไมชากวาเวลาถึงกําหนดแหงสิทธิเรียกรองที่
ไดโอนไป (ฎ.4392/2536)
2.ผลของการโอนสิทธิเรียกรอง
2.1 ผูรับโอนมีฐานะเปนเจาหนี้แทนเจาหนี้เดิม มีสิทธิเรียกรองใหลูกหนี้ชําระหนี้ได ลูกหนี้จะชําระหนี้ใหแกเจาหนี้เดิมไมได
2.2เจาหนี้ตามคําพิพากษาของเจาหนี้เดิม ไมมีสิทธิอายัดสิทธิเรียกรองที่ไดโอนไปแลวนั้นได
2.3ผูรับโอนมีสิทธิเหนือประกันแหงหนี้ที่ไดรับโอนมาดวย (มาตรา 305) โดยไมจําตองบอกกลาวใหผูประกันทราบ
(ฎ.5237/2538)
17.2.1 การโอนหนี้ที่ตองชําระตามเขาสั่ง(มาตรา 309) ตองสลักหลังและสงมอบตราสารใหแกผูรับโอน โดยไมตองบอกกลาว
หรือไดรับความยินยอมจากลูกหนี้
17.2.2 การโอนหนี้ที่ตองชําระแกผูถือ(มาตรา 311)เปนตราสารที่ไมระบุชื่อผูทรง ตองสงมอบตราสารนั้น
ความระงับแหงหนี้
18.การชําระหนี้
18.1 ผูชําระหนี้ (มาตรา 214) หลัก บุคคลภายนอกเปนผูชําระได
ขอยกเวน 1.สภาพแหงหนี้ไมเปดชอง
1. ขัดกับเจตนาที่คูกรณีแสดงไว
2. เปนผูไมมีสวนไดเสียและลูกหนี้ไมยินยอม (ฎ1588/2522) และถาบุคคลภายนอสัญญากับเจาหนี้วาจะชําระหนี้ของลูกหนี้ใหกับ
เจาหนี้ก็ตองรับผิดตามสัญญานั้น (ฎ2948/2535)
18.2 ผูรับชําระหนี้ มาตรา 315 ผูมีอํานาจรับชําระหนี้ ไดแก

๑๑
1. เจาหนี้
2. ผูมีอํานาจรับชําระหนี้แทนเจาหนี้ เชน ตัวแทนเจาหนี้ ถาชําระหนี้ใหแกผูไมมีอํานาจรับชําระหนี้ การชําระหนี้นั้นจะสมบูรณ
เปนเหตุใหหนี้ระงับเมื่อเจาหนี้ใหสัตยาบันแลว
18.3 ผูครอง มาตรา 316
1. ชําระหนี้ใหแกผูครอบครองตามที่ปรากฏแหงสิทธิในมูลหนี้ ซึ่งมิใชเจาหนี้หรือผูมีอํานาจรับชําระหนี้แทนเจาหนี้ตามมาตรา
315 แตหมายถึง ผูที่ปรากฏไปดวยหลักฐานอันเปนที่ตั้งแหงสิทธิในมูลหนี้
2. ผูชําระหนี้ไดกระทําการโดยสุจริต กลาวคือ ในขณะที่ทําการชําระหนี้ไมรูวาผูครอบครองตามปรากฏแหงสิทธิในมูลหนี้นั้น
มิใชเจาหนี้หรือผูมีอํานาจรับชําระหนี้
18.4 ผูไมมีสิทธิไดรับชําระหนี้ มาตรา 317 การชําระหนี้ แกบุคคลผูไมมีสิทธิจะไดรับชําระหนี้ การชําระหนี้ยอมสมบูรณเพียง
เทาที่ตัว เจาหนี้ไดลาภงอกขึ้นแตการนั้น กลาวคือเทาที่เจาหนี้ไดรับประโยชนจากการปฏิบัติการชําระหนี้นั้น ดังนั้น เมื่อเจาหนี้ไดรับ
ประโยชนจากกการชําระหนี้นั้นไวเทาใดแลว ก็ยอมมีผลสมบูรณเทานั้น
18.5 ผูถือใบเสร็จ มาตรา 318 การชําระหนี้ที่จะมีผลสมบูรณตามมาตรานี้ มีหลักเกณฑดังนี้
1.เปนการชําระหนี้ใหแกผูถือใบเสร็จ
2. ผูชําระหนี้ไมรูวาผูถือใบเสร็จนั้นไมมีสิทธิไดรับชําระหนี้ และการไมรูมิไดเกิดจากความประมาทเลินเลอของตน แต
อยางไรก็ตาม ใบเสร็จที่กลาวถึงตามมาตรานี้ตองเปนใบเสร็จที่แทจริง หากเปนใบเสร็จปลอมแลว แม ผูชําระหนี้จะไมรูวาผูถือใบเสร็จนั้น
ไมมีสิทธิไดรับชําระหนี้ การไมรูนั้นมิไดเกิดจากความประมาทเลินเลอก็ตามการชําระหนี้นั้นก็ยอมไมสมบูรณ
18.6 การชําระหนี้อยางอื่นหรือการชําระหนี้บางสวน มาตรา 320 ,321
หลัก ลูกหนี้จะบังคับใหเจาหนี้รับชําระหนี้ในกรณีตอไปนี้ไมได
1. รับชําระหนี้บางสวน
2. รับชําระหนี้ผิดไปจากที่ตองชําระ (ฎ.5952/2533)
ขอยกเวน
1. กรณีที่เจาหนี้ยอมรับการชําระหนี้อยางอื่นแทนที่ไดตกลงกันไว หนี้นั้นเปนอันระงับ
2. กรณีลูกหนี้ไดกระทําการเพื่อเอาใจเจาหนี้โดยรับภาระเปนหนี้อยางใดอยางหนึ่งขึ้นใหม หากเปนที่สงสัยมิใหสันนิษฐานวาเปน
การกอหนี้ขึ้นใหมแทนการชําระหนี้เดิม
3. กรณีชําระหนี้ดวยตั๋วเงิน ตั๋วสัญญาใชเงิน หรือเช็ค หรือประทวนสินคา ไมวาดวยการโอนหรือสลักหลังนั้น เมื่อตราสาร
ดังกลาวไดใชเงินแลว หนี้จึงเปนอันระงับ ดังนั้น ถาหากยังมิไดใชเงินดังกลาวหนี้ไมเปนอันระงับ (ฎ.4643/2539,ฎ.3965/2531,ฎ.
6028/2539,ฎ.2915/2524,ฎ.3553/2536)
18.7สภาพทรัพยที่ใชชําระหนี้ มาตรา 323
1.กรณีถึงกําหนดเวลาที่จะตองสงมอบ บุคคลผูชําระหนี้ตองสงมอบทรัพยนั้นตามสภาพที่เปนอยูในเวลาที่จะตองสงมอบ
2. กรณียังไมถึงกําหนดเวลาที่ตองสงมอบ ลูกหนี้ตองรักษาทรัพยนั้นไวดวยความระมัดระวังอยางเชนวิญูชนพึงสงวนทรัพยสิน
ของตน จนกวาจะไดสงมอบ
18.8สถานที่ชําระหนี้ มาตรา 324
1. กรณีที่ทรัพยเปนทรัพยเฉพาะสิ่ง หากไมไดตกลงกันไวใหสงมอบกัน ณ สถานที่ใด ตองสงมอบทรัพยนั้น ณ สถานที่ที่ทรัพย
นั้นไดอยูในเวลาที่กอหนี้
2. กรณีไมใชทรัพยเฉพาะสิ่ง หากไมไดตกลงกันไวใหสงมอบกัน ณ สถานที่ใด ตองสงมอบทรัพยนั้น ณ สถานที่ที่เปนภูมิลําเนา
ปจจุบันของเจาหนี้ (ฎ.685/2538)
18.9 คาใชจายในการชําระหนี้ มาตรา 325
หลักทั่วไป ลูกหนี้พึงเปนผูออกคาใชจาย
ขอยกเวน 1. กรณีมีการแสดงเจตนาเปนอยางอื่นก็ตองเปนไปตามนั้น

๑๒
2. คาใชจายนั้นมี จํานวนเพิ่มขึ้นเพราะเจาหนี้ยายภูมิลําเนาหรือเพราะการกระทําของเจาหนี้ประการอื่น เจาหนี้ตองเปนผูออก
สวนที่เพิ่มขึ้น
18.10 หลักฐานการชําระหนี้ มาตรา326
1.กรณีชําระหนี้ทั้งหมด ผูชําระหนี้มีสิทธิดังนี้
1.1 ไดรับใบเสร็จรับชําระหนี้
1.2 ไดรับเวนคืนเอกสารอันเปนหลักฐานแหงหนี้
1.3 ไดขีดฆาเอกสารอันเปนหลักฐานแหงหนี้เสีย
1.4 ไดจดแจงการชําระหนี้ลงไวในเอกสารอันเปนหลักฐานแหงหนี้ซึ่งอยูกับเจาหนี้นั้น (ฎ.1872/2531)
บทสันนิษฐานของกฎหมาย มาตรา 237 ถาเจาหนี้ออกใบเสร็จรับเงินใหเพื่อระยะหนึ่งแลวโดยมิไดอิดเอื้อนใหสันนิษฐานไววาเจาหนี้
ไดรับชําระหนี้เพื่อระยะกอนๆนั้นดวยแลว (ฎ.1215/2535)
ขอสังเกต การออกใบเสร็จรับเงินหรือการเวนคืนเอกสารที่จะทําใหตองดวยขอสันนิฐานดังกลาวจะตองเปนการกระทําของเจาหนี้ ถา
เจาหนี้ไมไดกระทําเชนนั้นก็นําบทบัญญัติดังกลาวมาใชบังคับไมได (ฎ.6594/2537) อยางไรก็ตามเจาหนี้สารมารถพิสูจนเปนอยางอื่นได(ฏ.
4123/2540)
18.11 ลําดับการชําระหนี้ มาตรา328 ลําดับการจักสรรชําระหนี้ในกรณีที่ลูกหนี้มีหนี้สินหลายรายซึ่งเปนการชําระหนี้อยาง
เดียวกันโดยมูลหนี้หลายราย และการชําระหนี้นั้นไมพอที่จะปลดเปลื้องสินไดทุกราย หนี้รายใดจะไดปลดเปลื้องไปกอนใหพิจารณาดังนี้
1. ถาลูกหนี้ระบุลําดับการชําระหนี้สินไว ก็ยอมตองเปนไปตามลําดับที่ระบุไวนั้น
2. ถาลูกหนี้มิไดระบุลําดับการชําระหนี้สินไว ก็ตองพิจารณาตามลําดับของหนี้สินดังตอไปนี้คือ
2.1 หนี้สินรายไหนถึงกําหนดกอน ก็ใหรายนั้นเปน อันไดเปลื้องไปกอน
2.2 การมีประกันนอยที่สุด กรณีถึงกําหนดชําระพรอมกัน
2.3 การที่ตกหนัก ที่สุด กรณีที่ถึงมีประกันเทากัน เชนมีดอกเบี้ยมาก
2.4 การเกาที่สุด กรณีตกหนักเทากัน เชน หนี้ใกลจะขาดอายุความ
2.5 การเกาเทา ๆ กัน ก็ใหหนี้สินทุกรายเปน อันไดเปลื้องไปตามสวนมากและนอยของหนี้นั้น (ฎ.6555/2538,ฎ.5636/2537,ฎ.
1045/2484)
ขอสังเกต หนี้หลายรายลูกหนี้ชําระโดยไมระบุวาชําระรายใด ตองเอาชําระรายมราถึงกําหนดกอน ถาถึงกําหนดพรอมกัน ตองชําระหนี้
รายที่ตกหนักแกลูกหนี้กอน
18.12 การจัดสรรชําระหนี้ มาตรา 329 กรณีลูกหนี้มีหนี้รายเดียวแตตองชําระหลายรายการในหนี้รายเดียว ซึ่งลูกหนี้ไมอาจชําระหนี้
ดังกลาวไดทั้งหมดในครั้งหนึ่งๆ กฎหมายไดจัดลําดับการชําระหนี้ใหลูกหนี้ดังตอไปนี้ คือ
1. คาฤชาธรรมเนียม
2. ดอกเบี้ยเปนลําดับตอมา และ
3. หนี้ประธานเปนลําดับสุดทาย
ถาลูกหนี้ระบุลําดับเปนอยางอื่น โดยเจาหนี้มิไดยินยอมดวย เชนนี้ เจาหนี้ยอมมีสิทธิบอกปดไมรับชําระหนี้ก็ได(ฎ756/2508,ฎ.4755-
4756/2536,ฎ.5416/2540,ฎ.3055/2526)
บทบัญญัติมาตรา 329 มิใชกฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชนคูกรณีตกลงแตกตางไปจารกที่กฎหมายบัญญัติได(ฎ.
5007/2538)
ขอสังเกต ถาบทบัญญัติของกฎหมายใดบัญญัติไวโดยเฉพาะใหจัดสรรการชําระหนี้อยางไรไวโดยเฉพาะก็ใชบังคับตามนั้น ไมตองใชมาตรา
329 (ฎ.1923/2541)
18.13 ผลของการปฏิบัติการชําระหนี้โดยชอบ มาตรา 330

๑๓
ลูกหนี้ไดขอปฏิบัติการชําระหนี้โดยถูกตองตามความประสงคอันแทจริงแหงมูลหนี้ แมเจาหนี้จะไมยอมรับชําระหนี้ ซึ่งไมเปน
เหตุใหหนี้ระงับไปก็ตาม แตบรรดาความรับผิดชอบอันเกิดแตการไมชําระหนี้นั้นก็เปนอันปลดเปลื้องไปนับแตเวลาที่ขอปฏิบัติการชําระ
หนี้ ดังนั้น เจาหนี้จะเรียกรองคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดจากการไมชําระหนี้นั้นอีกไมได(ฎ3520/2538)
18.14 การวางทรัพย เมื่อมีการวางทรัพยแลวก็ทําใหลูกหนี้หลุดพนจากหนี้นั้น อนึ่งการวางทรัพยนั้นตองระบุไวดวยวาวางทรัพย
เพื่อหนี้รายใด (ฏ.1497/2539) ในกรณีมูลหนี้อันหนึ่งมีสิทธิเรียกรองไดหลายอยาง การวางทรัพยตองระบุวาเปนการวางทรัพยเพื่อหนี้อันใด
ซึ่งจะมีผลตอหนี้ตามที่ระบุไวเทานั้น เหตุที่จะทําใหเกิดการวางทรัพย ไดแก (ฎ.2759/2534)
18.14.1 เหตุที่จะวางทรัพย มาตรา 331
1. เจาหนี้บอกปดไมยอมรับชําระหนี้
2. เจาหนี้สามารถจะรับชําระหนี้ได เชน เจาหนี้ตกเปนคนไรความสามารถ
3. บุคคลผูชําระหนี้ไม สามารถจะหยั่งรูถึงสิทธิ หรือไมรูตัว เจาหนี้ไดแนนอนโดยมิใชเปน ความผิดของตน เชนเจาหนี้ตายไปแลวมี
ทายาทรับมรดกหลายคน
18.14.2 สถานที่วางทรัพย มาตรา 333 ปจจุบันสํานักงานวางทรัพยแบงออกเปนสองสวน คือ
1. สวนกลาง คือสํานักงานวางทรัพยกลาง ตั้งอยูที่กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
2. สวนภูมิภาค มีทั้งหมอ 9 ภาค ซึ่งตั้งอยูที่ตางจังหวัด
ผูวางตองบอกกลาวใหเจาหนี้ทราบการที่ไดวางทรัพยนั้นโดยพลัน
18.14.3 การถอนการวางทรัพย มาตรา 334
หลัก ลูกหนี้มีสิทธิจะถอนการวางทรัพยที่ไดวางไวตอสํานักงานวางทรัพยและเมื่อลูกหนี้ไดถอน ทรัพยแลวนั้น ถือเสมือนวามิไดวาง
ทรัพยไวเลย ผลก็คือลูกหนี้ยอมไมหลุดพน
ขอยกเวน กรณีลูกหนี้ไมมีสิทธิถอนการวางทรัพย
(1) ถาลูกหนี้แสดงตอสํานักงานวางทรัพยวาตนยอมละสิทธิที่ จะถอน
(2) ถาเจาหนี้แสดงตอสํานักงานวางทรัพยวาจะรับเอาทรัพยนั้น
(3) ถาการวางทรัพยนั้นไดเปนไปโดยคําสั่งหรืออนุมัติของศาล และไดบอกกลาวความนั้นแกสํานักงานวางทรัพย

18.14.4 การขายทอดตลาดทรัพยที่วาง มาตรา 336 ใหสิทธิผูชําระหนี้ที่รับอนุญาตจากศาลนําทรัพยที่จะวางทรัพยไปขาย


ทอดตลาดแลวนําเงินที่ไดจากการขายทอดตลาดมาวาวไวแทนที่ ในกรณีที่ทรัพยซึ่งวางมีลักษณะดังตอไปนี้
1. ไมควรแกการ จะวาง
2. พึงวิตกวาทรัพยนั้นเกลือกจะเสื่อมเสียหรือ ทําลาย หรือบุบสลาย
3.คารักษาทรัพยจะแพงเกินควร
18.14.5 กําหนดเวลาวางทรัพย มาตรา 339 เจาหนี้มีสิทธิในทรัพยที่วางตอสํานักงานวางทรัพยภายใน 10 ป นับแตไดรับคําบอก
กลาวนั้น หากครบ 10 ป แลวเจาหนี้ไมใชสิทธิดังกลาวสิทธิของเจาหนี้นั้นก็เปนอันระงับสิ้นไป เมื่อสิทธิของเจาหนี้ระงับสิ้นไปแลว
ลูกหนี้ ก็มีสิทธิถอนทรัพยที่วางไวคืนมาได แมวาลูกหนี้จะเคยสละสิทธิถอนทรัพยนั้นแลวก็ตาม
19. ปลดหนี้ มาตรา 340
1. ตองแสดงเจตนาตอลูกหนี้ (ฎ.2432/2540) กรณีไมถือวาเปนการปลดหนี้
-- ตกลงเลิกสัญญา(ฎ.1129/2504)
-- ประนอมหนี้ในคดีลมละลาย(ฎ.635/2522)
2. วิธีปลดหนี้
หลัก ทําไดดวยวาจา
ขอยกเวน ถาหนี้นั้นมีหลักฐานเปนหนังสือ ตองทําดังนี้
๑๔
™ ทําเปนหนังสือ
™ เวนคืนเอกสาร
™ ขีดฆาเอกสาร (ฎ.7717/2538,ฎ.434/2536,ฎ.98/2540,ฎ.893/2540)

20. หักกลบลบหนี้
20.1 หลักเกณฑหักกลบลบหนี้ มาตรา 341 หลักเกณฑหักกลบลบหนี้ มีดังนี้
1. บุคคลสองคนตางมีความผูกพันซึ่งกันและกันโดยมูลหนี้
2. หนี้ทั้งสองรายมีวัตถุเปนอยางเดียวกัน เชน เปนหนี้เงินเหมือนกันโดยไมจําเปนตองมีจํานวนเทากัน
3. หนี้ทั้งสองรายนั้นถึงกําหนดชําระแลวในเวลาที่หักกลบลบหนี้ โดยไมจําเปนตองถึงกําหนดชําระหนี้พรอมกัน
4.สภาพแหงหนี้ทั้งสองรายเปดชองใหหักกลบลบหนี้ได
5. ลูกหนี้ฝายใดฝายหนึ่งแสดงเจตนาขอหักกลบลบหนี้ตออีกฝายหนึ่ง
ขอสังเกต
1. ลูกหนี้รวมจะเอาสิทธิเรียกรองของคนอื่นมาหักกลบลบหนี้กับเจาหนี้ไมได(ฎ241/2539)
2. บุคคลสองคนตางมีความผูกพันซึ่งกันและกัน เปนลูกหนี้เจาหนี้กัน หากเปนหนี้ฝายเดียวก็ไมใชกรณีหักกลบลบหนี้(ฎ.
9787/2539,ฎ.908/2532)
3. หนี้ที่จะนํามาหักกลบลบหนี้นั้นตองเปนหนี้ที่สามารถบังคับเอาแกกันไดดวย หากหนี้รายใดบังคับกันไมไดก็จะนํามาหักกลบ
ลบไมได(ฎ.5926/2533)
4. หนี้ที่ตองสงมอบทรัพยตางประเภท หรือตางชนิดกันนํามาหักกลบลบหนี้ไมได(ฎ.6006/2534)
20.2 วิธีหักกลบลบหนี้ มาตรา 342 ทําไดดวยคูกรณีฝายหนึ่งแสดง เจตนาแกอีกฝายหนึ่ง(แมอีกฝายไมยินยอมหนี้ก็ระงับ) (ฎ.
843/2516,3671/2535) การหักกลบลบหนี้นั้นมีผลยอนหลังขึ้นไปจนถึงเวลาที่หนี้ทั้งสองฝายนั้นอาจหักกลบลบหนี้กันไดเปนครั้งแรก คือ
เมื่อเวลาที่หนี้สองรายถึงกําหนดชําระ(ฎ.843/2516)
20.3 สิทธิเรียกรองที่มีขอตอสู มาตรา 344 สิทธิเรียกรองใดยังมีขอตอสูอยู จะเอามาหักกลบลบหนี้ไมไดเวนแต เปนเรื่องอายุ
ความ (ฎ.2437/2525,ฎ.1285/2532,ฎ.1924/2541)
20.4หนี้หลายรายที่จะหักกลบลบหนี้ มาตรา 348
1. กรณีฝายผูขอหักหนี้ระบุถึงหนี้ที่จะหักกลบลบหนี้กันก็ตองเปนไปตามที่ระบุไวนั้น
2.กรณีฝายที่ผูที่ขอหักหนี้ไมไดระบุหนี้ที่จะหักกลบลบหนี้นั้น หรือมีการระบุไวแตคูกรณีอีกฝายทักทวงขัดของโดยไมชักชา โดย
นําบทบัญญัติมาตรา 328 วรรคสอง มาใชบังคับโดยอนุโลมกลาวคือ ใหนําหนี้รายที่ถึงกําหนดกอนมาหักกลบลบหนี้ ถาถึงกําหนดพรอมกัน
ใหนําหนี้รายที่มีประกันนอยที่สุดมาหักกลบลบหนี้ ถามีประกันเทากัน ใหนําหนี้รายที่หนักที่สุดมาหักกลบลบหนี้ ถาหนักเทากัน ใหนําหนี้
รายที่เกาที่สุดมาหักกลบลบหนี้และถาตกหนักเทากันอีกใหหักกลบลบหนี้ตามสวนมากนอยของหนี้เหลานั้น
ถาฝายผูขอหักหนี้ยังเปนหนี้คาดอกเบี้ยและคาฤชาธรรมเนียมแกอีกฝายหนึ่งนอกจากชําระหนี้ประธาน แลวใหนําบทบัญญัติ
มาตรา 329 มาใชบังคับโดยอนุโลมกลาวคือ ใหเอาคาฤชาธรรมเนียมมาหักกลบลบหนี้กอนแลวจึงเอาคาดอกเบี้ยและสุดทายเปนหนี้
ประธานที่จะเอามาหักกลบลบหนี้นั้น (ฎ.2480/2517)
21. แปลงหนี้ใหม
21.1 หลักเกณฑการแปลงหนี้ใหม มาตรา 349
1.ตองมีหนี้เดิมผูกพันกันอยูโดยมูลหนี้อะไรก็ได(ฎ.1826/2529)
ขอสังเกต แมหนี้ขาดอายุความไปแลว ก็สามารถแปลงหนี้ใหมได (ฎ.5329/2538)
2. คูกรณีทําสัญญาเปลี่ยนแปลงสิ่งที่เปนสาระสําคัญแหงหนี้ โดยทําเปนสัญญาและตองแตกตางจากหนี้เดิม(ฎ.3369/2525,ฎ.
5791/2537,ฎ.1366/2493)
สาระสําคัญแหงหนี้ ไดแก
๑๕
™ มูลแหงหนี้
™ ตัวเจาหนี้ลูกหนี้(ฎ.2331/2522)
™ วัตถุแหงหนี้(ฎ.1008/2520)
™ ทรัพยอันเปนวัตถุแหงหนี้(ฎ.1008/2496)
™ เงื่อนไขแหงหนี้(มาตรา 349)
โดยทําใหหนี้ที่มีเงื่อนไขเปนไมมีเงื่อนไข หรือ เพิ่มเงื่อนไขเขาไปในหนี้ที่ไมมีเงื่อนไข หรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขเดิม(ฎ.1676/2540)
กรณีไมถือวาเปนสาระสําคัญแหงหนี้
™ การเพิ่มหลักประกันแกหนี้ที่ไมมีหลักประกัน(ฎ.3052/2527)
™ การเพิ่มวงเงินจํานอง(ฎ.1315/2532)
™ ตกลงใหผอนชําระหนี้(ฎ.5866/2538)
™ การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย(ฎ.1938/2540)
21.2 หนีใหมตองเกิดขึ้นโดยสมบูรณ มาตรา 351 หนี้เดิมไมระงับสิ้น เพราะ
1. หนี้ใหมมิไดเกิด มีขึ้น
2. หนี้ใหมยกเลิกเสียเพราะมูลแหงหนี้ไมชอบดวยกฎหมาย
3. เหตุอยางใดอยางหนึ่งอันมิรูถึงคูกรณี (ฎ.4424/2533)
21.2 วิธีการแปลงหนี้ใหม
1. โดยการเปลี่ยนตัวเจาหนี้ มาตรา 349 วรรคทาย (ฎ.4837/2540,ฎ.3757/2533)
2. การเปลี่ยนตัวลูกหนี้ มาตรา 350 (ฎ.6744/2538)
ถาบุคคลภายนอกทําสัญญากับลูกหนี้วาจะใชหนี้แทนลูกหนี้โดยไมทําสัญญากับเจาหนี้ ก็ไมเปนการแปลงหนี้ใหมโดยเปลี่ยนตัว
ลูกหนี้(ฎ339/2538,ฏ.2366/2517,ฎ.4041/2533)
21.3 ผลของการแปลงหนีใ้ หม
1. หนี้เดิม เปนอันระงับไป หากมีหนี้หลายราย จะระงับในสวนที่มีการแปลงหนี้นั้น(ฎ.999/2532)
2. ประกันของหนี้เดิม (มาตรา 352)
- ค้ําประกัน ยอมระงับไปตามหนี้ประธาน
- จํานอง,จํานํา ถาคูกรณีตกลงใหโอนไปดวยก็จะไปเปนประกันหนี้ใหม(ฎ.1949/2516)
- หนี้ใหม ผูกพันเจาหนี้และลูกหนี้ตอไป(ฎ.9121/2538)
22.หนี้เกลื่อนกลืนกัน
หนี้เกลื่อนกลืนกันเปนกรณีที่สิทธิและความรับผิดในหนี้ตกมาอยูแกบุคคลคนเดียวกัน เปนผลใหหนี้ระงับสิ้นไป เชน เจาหนี้ตาย
ในขณะที่มีสิทธิเรียกรองตอลูกหนี้ ลูกหนี้นั้นก็เปนทายาทที่มีสิทธิรับมรดกในสิทธิเรียกรองดังกลาวจากเจาหนี้ เปนตน แตมีขอยกเวนคือ
1. เมื่อหนี้นั้นตกไปอยูในบังคับแหงสิทธิของบุคคลภายนอก
2. เมื่อสลักหลังตั๋วเงินกลับคืนมาตามมาตรา 917 วรรคสาม
]]]]]]]]]]]]]]

“ ความสําเร็จ คือ เสนชัยของนักสู สู สู........สู “

สงวนลิขสิทธิ์ของนักศึกษาเนติบัณฑิต สมัย 58

๑๖

You might also like