You are on page 1of 65

Logical Thinking Seminar

LightHouse
Business Thinking 1
Enhancement Seminar

Prepared by
Sugiyama Management Development Ltd (SMD)
การสัมมนาแบบเร่งรัด
แนวคิดเชิงธุรกิจ
โดย
Sugiyama Management Development
Ltd. (SMD Thai)

2
Logical Thinking- How useful to
your future career

3
Logical Thinking -
ประโยชน์ต่อหน้าที่การงานในอนาคตของคุณ

4
Index
Introduction10min
Objective of the seminar10min
ⅠImportance of Logical Thinking10min
ⅡCause-effect Relationship20min
Ⅲ Sorting the Issues - 1hour
Ⅳ Identifying the Problem - 1hour

5
หัวข้อ
บทนำา
จุดประสงค์ของการอบรม
ความสำาคัญของ Logical Thinking
ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล
แยกประเด็น
ระบุปัญหา

6
Introduction
Why can’t you see?!

  Have you ever had a case like these?

・ I explained thoroughly but was misunderstood.


・ My boss never approve my idea.
・ My superiors don’t understand the necessity of making a new
approach to our problems.
・ I thought I knew the issue well, but after the question, I lost my
way.
・ Nobody understands that the issue is too complex to solve.

Logical Thinking is one way to look for ways to solve these


predicaments.
7
บทนำา
คุณมองไม่เห็นหรือ?!
  คุณเคยเป็นอย่างนี้บ้างหรือไม่?
・ คุณอธิบายอย่างละเอียด แต่ไม่มีใครเข้าใจ
・ เจ้านายไม่เคยเห็นด้วยกับความคิดของคุณ
・ รุ่นพีท่ ี่ทำางานไม่เข้าใจในความจำาเป็นของการสร้างวิธีการแก้ปญ
ั หาวิธีใหม่ ๆ
・ คุณคิดว่าเข้าใจประเด็นเป็นอย่างดี แต่เมื่อเจอปัญหา คุณกลับหาทางแก้ไม่เจอ
・ ไม่มีใครเข้าใจว่าประเด็นนั้นซับซ้อนเกินกว่าจะแก้ไขได้

Logical Thinking เป็นหนทางในการค้นหาวิธีการจัดการกับปัญหาเหล่านี้

8
Objective of the Seminar

To become capable of:


1. Understand the situation in logical way.
2. Sort out one’s own opinion in logical way.
3. Identify the problem in logical way.
4. Think up how to solve the problem in logical way.
5. Communicating one’s idea in logical way.
in an ordinary business context.

Logical Thinking is: Methodology and training to enable


logical thinking.

9
จุดประสงค์ของการอบรม
เมือ่ ได้รับการอบรมสัมมนาแล้ว ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะสามารถ

1) เข้าใจสถานการณ์อย่างเป็นเหตุเป็นผล
2) แสดงออกถึงความคิดเห็นของตนได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล
3) บ่งชี้และแสดงปัญหาอย่างเป็นเหตุเป็นผล
4) คิดหาวิธีแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล
5) สือ่ สารความคิดเห็นของตนได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล

ในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจทั่วไป
Logical Thinking คือ วิธีการและหนทางในการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล

10
Ⅰ . Importance of Logical
Thinking
1. ความสำาคัญของ Logical Thinking

12
Ⅰ. Importance of Logical Thinking
・ On surface, everybody seems to agree on what is being discussed
but actually they are thinking differently.
・ We do not pursue what is really important but unwittingly tackle
something that we are used to or what we like.
・ We seemed to work on the same thing but the objective was
different.

We cannot achieve the objective nor engage in fruitful discussion when above are
the case. In business in particular, it is critical that we talk in such way that the
content can be agreed by a third party to secure efficiency, effectiveness and
persuasiveness. In decision making, too, we should focus on the plan and
probability rather than relying on chance to achieve the objective.
13
1. ความสำาคัญของ Logical Thinking
ภายนอก ทุกคนดูเหมือนจะเห็นด้วยในประเด็นเดียวกัน
ในขณะที่แท้จริงแล้วทุกคนต่างมีสิ่งที่คิดอยูแ่ ตกต่างกัน
เรามักมิได้ใส่ใจสิ่งที่สำาคัญ แต่ก็สามารถรับมือกับปัญหาในแบบที่เราถนัดหรือคุ้นเคย ได้อย่างไม่รู้ตวั
ดูเหมือนว่าขณะที่เรากำาลังทำาสิ่งเดียวกัน จุดประสงค์ของเรานั้นช่างแตกต่างกัน

หากยังมีสิ่งเหล่านี้อยู่ เราคงไม่สามารถบรรลุเป้าหมายหรือเอาใจใส่ติดตามกับประเด็นสำาคัญ ๆ ได้


ในธุรกิจส่วนใหญ่
สามารถกล่าวได้ว่าใจความของงานจะได้รบั ความเห็นชอบจากบุคคลที่สามเพื่อรับประกันศักยภาพ
ประสิทธิภาพ และการชวนเชื่อ ในการตัดสินใจก็เช่นกัน เราควรเน้นที่แผนและความเป็นไปได้
มากกว่าจะวางใจในโอกาสในความสำาเร็จ

14
Ⅰ. Importance of Logical Thinking
In business, Logical Thinking is the basis to
decide the development and success of all:

◆Communication

◆Persuasion

◆Understanding

◆Thinking

15
1. ความสำาคัญของ Logical Thinking
ในเชิงธุรกิจ Logical Thinking
ถือเป็นรากฐานของการตัดสินใจในการพัฒนาและความสำาเร็จทั้งปวง

การติดต่อสื่อสาร
การโน้มน้าวจิตใจ
ความรู้ความเข้าใจ
การคิดคำานึง

16
Ⅰ. Importance of Logical Thinking
 Exercise 1: Recall a case in the daily work in which
① Communication was difficult
② Persuasion was difficult.
③ You were not understood appropriately.
and try to share the experience among the group.
Choose one example and discuss and decide the reason
why things did not work out.

17
1. ความสำาคัญของ Logical Thinking
ตัวอย่างที่ 1 นึกถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในงานของคุณในปัจจุบัน
 มีการติดต่อสื่อสารที่เกิดปัญหาความยุ่งยาก
 การติดต่อประสานงานที่ยุ่งยากวุ่นวาย
 ไม่มีใครเข้าใจคุณอย่างเหมาะสม
และนำามาแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็น จากนั้นเลือกมา1
ตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา

18
Ⅱ . Cause-Effect
Relation
2. ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล

20
Ⅱ. Cause-Effect Relation
1. What is Cause-Effect Relation?
Cause-effect relation is the relation of cause and effect. Instinctively, it is simple
concept but there are things that we perceive as cause and effect without any
justifiable reason.

Example: The revenue does not rise because the economy is slow.
This is superficially agreeable logic but there are many companies succeeding in
slow economy. Saying “because economy is slow…” may save the day but there
may be no truth to it. The truth maybe that the way of conducting business is
wrong.

2. What happens if we understand the cause-effect relation correctly?


Learning the cause-effect relation means learning the truth. That’s the starting
point of discussion and problem solution.

21
2. ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล
1. ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลคือ?

ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล คือความเกี่ยวเนื่องระหว่างเหตุและผล แม้จะดูเหมือนเป็นแนวคิดง่าย ๆ ธรรมดา


แต่ก็ยงั มีองค์ประกอบหลายอย่างที่เราถือเป็นเหตุและผลโดยปราศจากการโน้มเอียงใด ๆ

ตัวอย่าง: รายได้ไม่เพิม่ สูงขึ้นเพราะเศรษฐกิจเติบโตช้า


เหตุผลนี้ดูผิวเผินแล้วเข้าท่าไร้ข้อกังขาใด ๆ แต่ก็ยังมีอีกหลากหลายองค์กรที่ประสบความสำาเร็จในขณะที่เศรษฐกิจเติบโตช้า
การกล่าวโทษว่า “เพราะเศรษฐกิจเติบโตช้า” นั้นอาจเพียงพอจะเป็นคำาตอบได้ แต่อาจมิใช่ข้อเท็จจริงของสถานการณ์นั้น
ความเป็นจริงก็อาจเป็นเพราะการดำาเนินธุรกิจผิดวิธีนั่นเอง

2. จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อเรามีความรู้ความเข้าใจในความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล?

การเรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลนั่นเท่ากับเป็นการเรียนรู้ความเป็นจริง
ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของถกเถียง อภิปรายเหตุผล และวิธีแก้ไขปัญหา
22
Ⅱ. Cause-Effect Relation
3. Pattern of cause-effect relation
There are some patterns in the relation.

① Simple cause-effect relation


Cause A Result B
When one cause is causing only one result. When result B is evident, there
is always the cause A.

② Cyclic cause-effect relation


Cause A Result B Cause A

When a cause A leads to result B, but the result B in turn causes cause A. A and B
form a cycle that makes it difficult to tell which is cause and which is result. This
relation happens not just between A and B but can have more events in between as in
A→B→C→D→A. 23
2. ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล
3. รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล มีรูปแบบดังต่อไปนี้

①  ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลอย่างง่าย
Cause A Result B
เมื่อหนึ่งเหตุให้ผลหนึ่งอย่าง เมื่อผล B เป็นผลลัพธ์ ย่อมจะมาจากเหตุ A

② ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลอย่างเป็นวงจรวัฏจักร
Cause A Result B Cause A

เมื่อเหตุ A นำาไปสูผ่ ล B แต่ผล B ก็นำาไปสูเ่ หตุ A เช่นกัน จึงก่อให้เกิดวงจรขึน้


ซึ่งทำาให้การจะกล่าวว่าสิง่ ใดเป็นเหตุ สิง่ ใดเป็นผลนั้นยากขึน้
ความสัมพันธ์เช่นนี้สามารถมีสิ่งแทรกซ้อนได้มากมายเช่น A→B→C→D→A.
24
Ⅱ. Cause-Effect Relation
③ Complex cause-effect relation

Cause A Result B Result D

Result E

Result C Result F

Result G

The cause-effect relation is there but the relation is interwoven in a complex


way. In this kind of situation, finding the cause from one result is extremely
difficult.
25
2. ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล
③ ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลอย่างซับซ้อน
Cause A Result B Result D

Result E

Result C Result F

Result G

ลักษณะเช่นนี้สามารถจำาแนกให้เห็นเหตุและผลได้ แต่ผลพวงที่ติดตามมานั้นออกมาอย่างสลับซับซ้อน
การจะค้นหา แยกแยะเหตุในเหตุการณ์เช่นนี้ย่อมเป็นสิง่ ยากยิ่ง
26
Ⅱ. Cause-Effect Relation
4. Identifying cause-effect relation

Check Points are:

① If the chronological order is correct


Naturally, the cause should precede result. Events should be examined of their
timeline of occurrence.

② If there is correlation
There is correlation when something changes and the change triggers another change.
Where there is cause-effect relation, there is correlation, too.

③ If there is another reason


Even if two events takes place in chronological order and there is correlation, they do
not automatically prove the cause-effect relation. It could be that between event A
and B there is a true cause C which causes A first and then B later. Without
identifying C, there appears to be cause-effect relation between A and B.
27
2. ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล
4. การจำาแนกชนิดของความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล
จุดตรวจเช็คมีดังนี้ :

① เมื่อการเรียงลำาดับก่อนหลังถูกต้อง
โดยธรรมชาติแล้ว เหตุยอ่ มมาก่อนผล สิ่งที่เกิดขึ้นต่าง ๆ จึงควรสามารถตรวจสอบได้จากลำาดับเวลาที่เกิดขึ้น

② เมื่อมีความสัมพันธ์แบบสหสัมพันธ์
ความสัมพันธ์แบบสหสัมพันธ์นนั้ จะเกิดขึ้นเมื่อเกิดความเปลี่ยนแปลงและความเปลี่ยนแปลงนั้นส่งผลให้เกิดความเป
ลี่ยนแปลงตามมาเรื่อย ๆ ดังนั้น ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลจึงมักมีความสัมพันธ์แบบสหสัมพันธ์ไปพร้อม ๆ
กัน

③ เมื่อมีเหตุผลอื่นเพิ่มเติม
แม้ว่าเมื่อเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์เกิดขึ้นตามลำาดับและมีความสหสัมพันธ์กัน
แต่ก็ยงั ไม่สามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลได้ อาจเป็นเพราะก่อนเหตุการณ์ A และ B มีเหตุ C
ก่อนแล้ว A และ B จึงเกิดขึ้น หากมิได้ระบุเหตุ C แล้ว 28
จึงจะดูเหมือนว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลระหว่าง A และ B
Ⅱ. Cause-Effect Relation
④ If careful examination is there

Assumption, observation, insight:


Utilize not just available data but one’s own reasoning, observation and
insight to see if there is overlooked event or factor.

Flexibility:
Do not get caught in conventional wisdom and explore possibilities from
different angles. It could be that the hypothesis is wrong.

Knowledge, experience, logical framework:


Try to construct the logic based on individual’s knowledge or experience or
on historically established or generally accepted as reliable framework in
order to secure accountability.

29
2. ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล
④ เมื่อมีการตรวจเช็คที่ละเอียดแน่นอน

สมมติฐาน การสังเกตการณ์ และความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง:


สร้างประโยชน์ให้เกิดขึ้นไม่เพียงจากข้อมูลที่มี แต่รวมไปถึงการตระหนักถึงเหตุและผล การสังเกตการณ์
และความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเพื่อจะพบว่าหากยังมีเหตุการณ์หรือปัจจัยทีถ่ ูกมองข้ามไป

ความยืดหยุน่ :
อย่ายึดติดกับความเชื่อเก่า ๆ ลองปรับเปลี่ยนมุมมองเพื่อค้นหาความเป็นไปได้อื่น ๆ
สมมติฐานอาจผิดพลาดได้

ความรู้ ประสบการณ์ และกรอบแนวคิดอย่างมีขนั้ ตอน:


ลองสร้างขัน้ ตอนต่าง ๆ โดยอาศัยความรู้ ประสบการณ์
หรือกรอบแนวคิดที่เชื่อถือได้ที่ตรวจสอบความน่าเชื่อถือ

30
Ⅱ. Cause-Effect Relation
5. Frequently encountered errors
① Mistake preconception as objective truth.
Example: “Poverty breeds crime.” Clarify what is “poverty” and what is “crime.”

② Generalize one’s personal set of value.


Example: “I get motivated when tackling challenging work. Therefore, the harder
the objective, the harder people would work.” Something that motivated one
person does not necessary motivate other people, too.

③ Restate the commonly accepted facts.


Example: “Seniority system lowered Japan’s productivity.” It used to be said that
“Seniority system is one of the secret that supported Japanese companies’
strength.”

④ Hasten conclusion from superficial facts.


Example: “Offence took place due to lack of compliance rules.” There are many
companies that violate law even though they have compliance rules. 31
2. ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล
5. ความผิดพลาดที่พบบ่อยครั้ง
① มีความเข้าใจผิด ๆ ว่า สิ่งที่รับรู้คือข้อเท็จจริง

เช่น: “ความยากจนบ่มเพาะอาชญากรรม” แยกแยะ “ความยากจน” และ “อาชญากรรม” อย่างชัดเจน

② ลงความเห็นค่านิยมส่วนบุคคล

เช่น: “ฉันรู้สึกกระตือรือร้นเมื่อได้รับงานที่ท้าทาย ดังนั้น ยิง่ เป้าหมายสูงขึน้ คนจะทำางานหนักขึน้ ”


สิง่ กระตุ้นคนเรานั้นไม่เหมือนกัน บางอย่างไม่อาจกระตุ้นบุคคลบางกลุ่มได้

③ เรียบเรียงข้อเท็จจริงที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป

เช่น: “ระบบอาวุโสทำาให้ศักยภาพของญี่ปนุ่ ลดลง” ทั้งที่ในอดีตควรจะกล่าวว่า


“ระบบอาวุโสเป็นหนึ่งในความลับสำาคัญที่สนับสนุนความเข้มแข็งของบริษัทในญี่ปุ่น”

④ รวบรัดสรุปจากข้อเท็จจริงที่ภายนอก

เช่น: “การฝ่าฝืนเกิดขึน้ เพราะไม่มีกฎการสนองตอบ”


มีบริษัทมากมายที่กระทำาผิดข้อกฎหมายถึงแม้ว่าจะมีกฎการสนองตอบอยู่ 32
Ⅱ. Cause-Effect Relation
Exercise : Discuss if “the number of passengers declined because the fare was
raised.” is cause-effect relation. Try to explain the answer (“yes” or
“no”) in logical way.

Change the topic

33
Ⅲ . Sorting the Issues
3. แยกประเด็น

35
Ⅲ . Structural Thinking Part 1
Sort the Issues
1. What is Structural Thinking?
① Relation of entire events.
When there are multiple events (factors) concerned, try to group them to
visualize the larger picture.

Example: The number of auto accidents have increased. However, the


accidents should be classified into injury accident, one-car accident,
multiple-car accident, etc.

② Cause-effect relation
Examine if the events are in cause-effect relation.

③ Weight the importance of individual factors


First, reconfirm the objective of sorting. Based on the objective,
prioritize the factors in order of significance.
36
3. แยกประเด็น
การคิดอย่างมีโครงสร้าง ตอนที่ 1.
1. อะไรคือ Structural Thinking การคิดอย่างมีโครงสร้าง?
① ความเกี่ยวพันกับเหตุการณ์ทั้งปวง

เมื่อมีเหตุการณ์หรือปัจจัยทีเ่ กี่ยวพันมากมาย
พยายามจับกลุ่มเหตุการณ์หรือปัจจัยเหล่านั้นเพื่อให้เห็นภาพโดยรวม

เช่น: จำานวนอุบัติเหตุทางรถยนต์มีสงู ขึน้ อย่างไรก็ตาม


ความจำาแนกอุบัติเหตุออกเป็นอุบัติเหตุที่ได้รับบาดเจ็บ อุบัติเหตุจากรถ 1 คันต่อ 1 คัน
และอุบัติเหตุทางรถยนต์หลายคัน เป็นต้น
② ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล

ตรวจสอบหากพบความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลในเหตุการณ์นั้น ๆ

③ วัดความสำาคัญของปัจจัยแต่ละปัจจัย

ก่อนอื่นควรเข้าใจการแยกประเด็น
แล้วจึงเรียงลำาดับความสำาคัญของแต่ละปัจจัยโดยยึดตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายเป็นหลัก
37
Ⅲ . Structural Thinking Part 1
Sort the Issues
2. Structuring the Events
① Fact finding
This is a process to search, collect and sort facts that would lead to or affect the problem.
Example: Labor issues
What labor issues do we have?
Do we have any labor issue in our workplace?
When “accidents take place, ” is that true? What kind of accidents are they? How
frequently and where do they take place?
Labor issues are often accompanied with “absenteeism,” “inferior work
environment,” “excess overtime.” Are they present, too?
② Basic analysis
Further examine the collected facts and information. Sort them to see what could be the
cause of the problem.
Example: Initial assumption was that accidents take place in workplace with excess
overtime but actual survey revealed that accidents are frequent in dark environments. Such
places tend to have higher rate of absence. 38
3. แยกประเด็น
การคิดอย่างมีโครงสร้าง ตอนที่ 1.
2. วางโครงสร้างเหตุการณ์
① ค้นหาข้อเท็จจริง
นี่เป็นกระบวนการค้นหา รวบรวม และแยกแยะข้อเท็จจริงที่จะนำาสู่หรือมีผลกระทบต่อปัญหา
เช่น: ประเด็นด้านแรงงาน
มีประเด็นด้านแรงงานใดบ้าง?
มีประเด็นใดในสำานักงานหรือไม่?
เมือ่ เกิดอุบัติเหตุ เป็นอุบัติเหตุประเภทใด เกิดจริงหรือไม่ เกิดขึ้นที่ใด และเกิดขึ้นบ่อยแค่ไหน?
ประเด็นด้านแรงงานมักตามด้วย “การขาดงาน” “สิ่งแวดล้อมการทำางานที่ไม่เสมอภาค” “การทำางานล่วงเวลา”
สิ่งเหล่านี้ยงั มีอยูห่ รือไม่?
② การวินิจฉัยเบื้องต้น
พิจารณาข้อเท็จจริงและข้อมูลที่เก็บรวบรวมมา แยกแยะหากอาจเป็นต้นตอของปัญหาได้
เช่น: สมมติฐานเบื้องต้นคืออุบัติเหตุในที่ทำางานมักมีเรือ่ งการทำางานล่วงเวลาตามมา
แต่จากการสำารวจแล้วมักเกิดอุบัติเหตุในสิ่งแวดล้อมที่มดื สลัว ซึ่งมักมีแนวโน้มในการขาดงานสูง
39
Ⅲ . Structural Thinking Part 1
Sort the Issues
③ Structuring the event as assumption
Try to come up with the logic to explain the cause-effect relation of the problem
taking into account the result of basic analysis.

Example: Dark workplace→Work accident→Shortage of worker→Hire part-


time→Ample unskilled workers→Accident take place
→Busy full-timers→Low motivation→Absence

④ Research, analysis and re-structuring to test the validity of assumption


Test the validity of assumption. If the facts cannot be explained with the
assumption, different assumption has to be thought up.

40
3. แยกประเด็น
การคิดอย่างมีโครงสร้าง ตอนที่ 1.
③ วางโครงสร้างเหตุการณ์เช่นเดียวกับสมมติฐาน

สรรหาเหตุผลเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลของปัญหาโดยนำาเอาผลการวินิจฉัยเบื้องต้นเป็นหลัก

เช่น:
บรรยากาศที่ทำางานมือสลัว→อุบัติเหตุในที่ทำางาน→ขาดคนทำางาน→จ้างพนักงานชั่วคราว→พนักงานไม่มีคว
ามเชี่ยวชาญ →เกิดอุบัติเหตุ →พนักงานประจำาทำางานหนักขึ้น→แรงจูงใจตำ่า→ขาดงาน

④ ค้นคว้า วิเคราะห์ และวางโครงสร้างปัญหาใหม่เพื่อทดสอบความสมเหตุสมผลของสมมติฐาน

ทดสอบความสมเหตุสมผลของสมมติฐาน หากข้อเท็จจริงไม่สามารถนำามาใช้อธิบายสมมติฐานได้
จำาเป็นต้องมีสมมติฐานใหม่

41
Ⅲ . Structural Thinking Part 1
Sort the Issues
3. Importance and priority
Possibly weighting
Often times, it is not possible or appropriate to solve or tackle all problems.
That is when evaluation of importance and prioritybetween the items
is necessary.
① Importance and priority of problems
Example
Factor to be Effect to revenue Emergency Effect to this Frequency
considered year’s
performance
Problem A High Low Low High

Problem B Low High Low Middle

Problem C Low High High Middle


② Importance and priority of solutions
Example Factor to be Effect to revenue Emergency Effect to this Frequency
considered year’s
performance
Solution A High Low Low High

Solution B Low High Low Middle

Solution C Low High High Middle


42
3. แยกประเด็น
การคิดอย่างมีโครงสร้าง ตอนที่ 1.
3. ความสำาคัญและลำาดับของความสำาคัญ
บ่อยครั้งที่ไม่สามารถแก้ไขปัญหาทุกปัญหาได้ ทั้งจากความไม่เหมาะสมหรือเป็นไปไม่ได้ในการแก้ปัญหา
ดังนั้น จึงจำาเป็นต้องประเมินความสำาคัญและลำาดับของความสำาคัญนั้น ๆ
① ความสำาคัญและลำาดับความสำาคัญของปัญหา
ตัวอย่าง ผลกระทบต่อการ
ปั จจัยท่ีสำาคั ผลกระทบต่อราย
ความเร่งด่วน ปฏิบต
ั ิงานภายใน ความถ่ี
ญ ได้
ปี นี้
ปั ญหา A สูง ต่ำา ต่ำา สูง
ปั ญหา B ต่ำา สูง ต่ำา ปานกลาง
ปั ญหา C ต่ำา สูง สูง ปานกลาง
② ความสำาคัญและลำาดับความสำาคัญของการแก้ไข
ตัวอย่าง ปั จจัยท่ีสำาคั ผลกระทบต่อราย ผลกระทบต่อการ
ความเร่งด่วน ความถ่ี
ญ ได้ ปฏิบต
ั ิงานภายใน
ทางออก A สูง ต่ำา ปีต่น
ำา ี้ สูง
ทางออก B ต่ำา สูง ต่ำา ปานกลาง
ทางออก C ต่ำา สูง สูง ปานกลาง43
Ⅲ . Sorting the Issues
4. What if we can structure the
events?
 We will start seeing the relation between various events that previously were
identified as independent.
 Capability to grasp the relation indicates that our brain is now ready to tackle
the problem.
 When our brain can sort factors, we can tell what we understand and what we
don’t.
 When our brain can sort things out, we can better explain to others what we
want to say.
 We can also see how to grasp the problem and what solutions to apply.

 By structuring, the problems that were previously considered to be too


complex could be handled more appropriately.
44
3. แยกประเด็น
การคิดอย่างมีโครงสร้าง ตอนที่ 1.
4. เมื่อสามารถวางโครงสร้างเหตุการณ์ได้?
 เราจะสามารถมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ต่าง ๆ ทีร่ ะบุว่าไม่เกี่ยวข้องก่อนหน้า

 ความสามารถในการรวบรวมความสัมพันธ์ต่าง ๆ นั้นแสดงให้เห็นว่าสมองของเราพร้อมจะเผชิญกับปัญหา

 เมื่อสมองของเราสามารถแยกแยะปัจจัยออกได้ เราย่อมสามารถบอกได้ว่าเราเข้าใจสิ่งใด และไม่เข้าใจสิ่งใด

 เมื่อสมองของเราสามารถแยกแยะสิ่งต่าง ๆ ได้ดีขนึ้
เราย่อมสามารถอธิบายสิ่งที่ต้องการจะบอกกับผู้อื่นได้ดีขนึ้
 เรายังสามารถจัดการกับปัญหาและเลือกวิธีการแก้ไขได้ดีขึ้นอีกด้วย

 และด้วยการวางโครงสร้างนี้
ปัญหาที่ถูกมองว่าซับซ้อนเกินกว่าการแก้ไขก็จะสามารถจัดการได้อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น

45
Ⅲ . Sorting the Issues
 Exercise : Think about problems in your own workplace
and weight the importance between the problems.
State the reasons of the evaluation, too.

Isn’t this to difficult


topic? Need replace?

46
3. แยกประเด็น
การคิดอย่างมีโครงสร้าง ตอนที่ 1.
 แบบฝึกหัด : ลองนึกถึงปัญหาต่าง ๆ ในที่ทำางานของคุณและลำาดับความสำาคัญของปัญหา
พร้อมให้เหตุผลในการประเมิน

47
Ⅳ . Identifying the
Problem
4. ระบุปัญหา

49
Ⅳ. Identifying the Problem
1. Structuring the
Logics
Structuring the logics is to send clear messages. As compared to structuring the
events, which is to simply describe the relation between events, it could describe
the cause-effect relation and the objective as well. If, for example, we are in the
process of compiling a proposal to identify a problem, it is to clarify the
conclusion and to spell out the logics that stands behind the conclusion in
appropriate sequence. It is a relation of WHY ( Why )→ WHAT ( What has
to be done ) .

2. What if we can structure the logic?


As was the case with structuring the events, it becomes easier to communicate
with other people in logical way. Opinions evolve from wishes and
afterthoughts to opinions backed by evidence and logics. It would become
clearer why opponents’ rebuttal is not acceptable and the discussions become
more productive. 50
4. ระบุปัญหา
1. วางโครงสร้างของเหตุผล
การวางโครงสร้างของเหตุผลเปรียบได้กับการส่งสารที่ชัดเจน
เมื่อเปรียบเทียบกับการวางโครงสร้างเหตุการณ์ซงึ่ สามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์นั้น
การวางโครงสร้างของเหตุและผลสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลและเป้าหมายได้เช่นกัน
ตัวอย่างเช่น เมื่ออยูใ่ นขัน้ ตอนการรวบรวมแผนการเพื่อระบุปัญหา สิ่งที่ต้องกระทำาคือ
จัดทำาข้อสรุปที่ชัดเจนและกระจายเหตุผลที่อยูภ่ ายใต้ขอ้ สรุปนั้น ๆ ด้วยลำาดับที่เหมาะสม เป็นความสัมพันธ์ของ
WHY ( ทำาไม )→ WHAT ( ต้องทำาอะไร ) .

2. เมื่อสามารถวางโครงสร้างของเหตุผลได้?
เช่นเดียวกันกับกรณีการวางโครงสร้างเหตุการณ์
การวางโครงสร้างของเหตุผลจะช่วยให้เราสามารถสือ่ สารกับคนอื่น ๆ ได้อย่างมีเหตุผล
ความคิดเห็นได้ถูกพัฒนาจากความปรารถนาและความคิดที่ไตร่ตรองรอบคอบมาสู่ความคิดเห็นทีม่ ีหลักการ
สนับสนุนด้วยหลักฐานและเหตุผล
เหตุผลที่เราไม่ยอมรับการปฏิเสธของฝ่ายตรงข้ามยิ่งดูกระจ่างชัดขึน้ และการโต้เถียงย่อมมีประสิทธิภาพมาก51
Ⅳ. Identifying the Problem
3. Structuring the causes

what Problem event

why Why happens?


Why happens?

Problem event Problem event


why
Why happens? Why happens?

Problem event Problem event Problem event Problem event

why
Why happens?
Problem event Problem event

52
4. ระบุปัญหา
3. วางโครงสร้างของเหตุที่มา

อะไร ปัญหา

ทำาไม ทำาไมจึงเกิดขึ้น? ทำาไมจึงเกิดขึ้น?

ปัญหา ปัญหา
ทำาไม
ทำาไมจึงเกิดขึ้น? ทำาไมจึงเกิดขึ้น?

ปัญหา ปัญหา ปัญหา ปัญหา

ทำาไม ทำาไมจึงเกิดขึ้น?
ปัญหา ปัญหา

53
Ⅳ . Structural Thinking Part 2
Identify the Problem
4. MECE ( Without omission, without repetition )
Mutually Exclusive, Collectively Exhaustive
MECE is to divide information of below rectangular into A, B, C and D so
that all can be covered without any overlap.

B C D

54
4. ระบุปัญหา
การคิดอย่างมีโครงสร้าง ตอนที่ 2.
4. MECE ( ไม่เป็นข้อยกเว้น มิต้องกล่าวซำ้า )
Mutually Exclusive, Collectively Exhaustive

ทุกสัดส่วนแยกออกจากกันโดยไม่ทับซ้อนกันและกัน
MECE เป็นการแบ่งแยกข้อมูลออกดังรูปข้างล่างในส่วน A B C และ D
เพื่อครอบคลุมทุกสัดส่วนโดยปราศจากการทับซ้อนของกันและกัน

B C D

55
Ⅳ. Structural Thinking Part 2
Identify the Problem
Exercise : Think up an example of event which can be
divided with MECE.

56
4. ระบุปัญหา
การคิดอย่างมีโครงสร้าง ตอนที่ 2.
แบบฝึกหัด: ช่วยกันคิดตัวอย่างเหตุการณ์ซึ่งสามารถอธิบายได้ด้วย MECE

57
Ⅳ. Structural Thinking Part 2
Identify the Problem
5. Fishbone Chart ( Cause and Effect Chart )
Below chart can be used in place of pyramid structure. The shape of the
chart looks like a fishbone and thus it is called as fishbone chart.

Cause event A Cause event B Cause event C


A― B― C―
3 3 2
A― B―
1 1
C―
A― B―

2 1
The big
problem to be
solved

E―

D― E―2―
1 D― 1
2 E―
Cause event D Cause event E 2
58
4. ระบุปัญหา
การคิดอย่างมีโครงสร้าง ตอนที่ 2.
5. แผนภูมิแบบก้างปลา ( แผนภูมิเหตุและผล )
แผนภูมิด้านล่างสามารถใช้อธิบายแทนโครงสร้างแบบปีระมิด และด้วยลักษณะที่ดูคล้ายก้างปลา
จึงทำาให้มีชื่อว่าแผนภูมิก้างปลา
สาเหตุ A สาเหตุ B สาเหตุ C
A― B― C―
3 3 2
A― B―
1 1
C―
A― B―

2 1
ปัญหาใหญ่ที่ต้องแ
ก้ไข

E―

D― E―2―
1 D― 1
2 E―
สาเหตุ D สาเหตุ E 2
59
Ⅳ. Identifying the Problem
Example of Structure:
Finding and Sorting Problems in a restaurant chain
Training at restaurants

Training at the kitchen Training of restaurant attendants

Low skill of Low customer


Low skill of cook Misreading the order at
attendants service skill of
kitchen
attendants

Taste not good Inconsistent volume Too much wait Food is served to Wrong order Unaware of the Bad attitude Water not being
enough of food after order taking customers who customer of served
came later attendants

60
4. ระบุปัญหา
ตัวอย่างโครงสร้าง: ค้นหาและแยกประเด็นปัญหาในระบบงานภัตตาคาร

การฝึกอบรมภายในร้าน

การฝึกอบรมภายในส่วนงานครัว การฝึกอบกรมพนักงานบริการ

พนักงานในครัวอ่าน พนักงานขาดทักษะการ พนักงานขาดทักษะการ


กุ๊กขาดความชำานาญ
ออเดอร์ผดิ ทำางาน ให้บริการ

รสชาติอาหารยังไ ปริมาณอาหารไม่คงที่ รออาหารหลังจากสั่ เสิร์ฟอาหารแก่ลูกค้ รับออเดอร์ผิด พนักงานสะเพร่า พนักงานมีทัศน มิได้บริการนำ้า


ม่ดีเท่าที่ควร งนานเกินไป าที่มาภายหลัง ไม่เรียบร้อย คติไม่ดี

61
Ⅳ. Structural Thinking Part 2
Identify the Problem
Exercise: Structure the cause-effect relation of a problem
in your workplace that you came up as per the example in
the one page previous slide.

62
4. ระบุปัญหา
การคิดอย่างมีโครงสร้าง ตอนที่ 2.
แบบฝึกหัด: วางโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลของปัญหา 1
ปัญหาในที่ทำางานของคุณในลักษณะคล้ายตัวอย่าง

63
Wrap-up
1. Logical Thinking is the basis to ① Sort one’s thoughts, ②
See events in objective way, ③ Communicate one’s idea to
others.
2. The basic of analysis and problem solving start by thinking
abut the ①cause-effect, ② correlation, ③ no relation, of
events around us.
3. Structuring is to identify the relation between several
events. Structuring starts from confirming the facts.
4. In confirming the fact, keep in mind the objective of the
fact finding to avoid unnecessary analysis or research.
5. In the process of confirming the fact and clarify the cause-
effect relation, the subject maybe chosen based on personal
hypothesis. This is hypothesis and validation. This is an
effective approach that can be used when there is not
enough time or resource.
6. When relations between facts and events are sorted out,
assigning importance and priority to them based on the
objective would clarify the order to proceed with problem 64
solving.
สรุปทบทวน
1. Logical Thinking เป็ นพ้ืนฐานของ ① การแยกแยะความคิด ②
การมองเหตุการณ์อย่างเป็ นกลาง ③
การส่ ือสารความคิดของตนเองให้คนรอบข้างเข้าใจ
2.
พ้น
ื ฐานของการวิเคราะห์และการแก้ไขปั ญหาเร่ิมต้นด้วยการคำานึงถึง
①เหตุและผล ② สหสัมพันธ์ ③ ความไม่เก่ียวข้อง
ของเหตุการณ์รอบตัวเรา
3. การวางโครงสร้างคือการระบุความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ต่าง
ๆ ซ่ึงเร่ิมต้นด้วยการยืนยันข้อเท็จจริง
4. ในการยืนยันข้อเท็จจริง
คำานึงถึงเป้ าหมายของการค้นหาข้อเท็จจริงเสมอเพ่ ือหลีกเล่ียงการวิเค
ราะห์หรือวิจัยอันไม่จำาเป็ น
5.
ในกระบวนการยืนยันข้อเท็จจริงและทำาให้ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุ65แ
ละผลกระจ่างชัด สามารถเลือกหัวข้อได้จากสมมติฐานส่วนบุคคล

You might also like