You are on page 1of 15

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัย สรา งยุทธศาสตรการพัฒนาชุมชน โดยการจัดทําแผนชุมชนอยางมีสว นรว ม


กรณีตําบลแมทะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง เปนการวิจัยรูปแบบการวิจัยยุทธศาสตรการพัฒนา
รูปแบบที่ 5 ตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขายุทธศาสตรการพัฒนา โดยใชระเบียบวิธวี จิ ยั
แบบการวิจยั และพัฒนา (R&D) เก็บขอมูลโดยการใชแบบสํารวจบริบทชุมชน แบบสํารวจผูน าํ ชุมชน
แบบสํารวจรายรับ รายจาย หนี้สิน ของครอบครัว แบบบันทึกบัญชีครัวเรือน 30 วัน และใช
การสังเกต การสัมภาษณแบบไมเปนทางการ การประชุมกลุมยอย

ขั้นตอนการวิจัย

การวิจัย สรา งยุทธศาสตรการพัฒนาชุมชน โดยการจัดทําแผนชุมชนอยางมีสว นรว ม


กรณีตาํ บลแมทะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง มีลาํ ดับขัน้ ตอนดังแสดงในภาพประกอบที่ 3.1 ดังนี้
76

ปญหาทุกขรอน คือ ชาวบานตําบลแมทะ


DOO
สวนใหญมีฐานะยากจน ขั้น DO

การวิจัยสํารวจและ R1A R1O ไดขอมูลเกี่ยวกับสภาพปญหาวาประชาชน


วิเคราะหสภาพปญหา ขาดอาชีพเสริม สรางรายไดแกครัวเรือน ขัน้ R1
กิจกรรมพัฒนา ปญหาเปาที่ชัดเจน คือ การขาดแผนชุมชน
ความชัดเจนของปญหาเปา D1A D1O สําหรับแกปญหาทางเศรษฐกิจ ขั้น D1

กิจกรรมวิจัยคนควา ไดความรูวิธีแกปญหาเปาคือใชการจัดทํา
R2A R2O
และลองผิดลองถูก แผนชุมชนอยางมีสวนรวม ขั้น R2

กิจกรรมพัฒนาสังเคราะห ยุทธศาสตรที่สรางขึ้นเปนสมมติฐาน คือ การ


D2A D2O
ความรูใหไดยุทธศาสตร เปดโอกาสใหชุมชนเขามามีสวนรวม ผาน
การจัดเวทีชุมชน 6 เวที ขั้น D2

กิจกรรมวิจัยเพื่อทดลอง ขอสรุปวายุทธศาสตรนี้ใชไดผลดี
R3A R3O
ยุทธศาสตรที่สรางขึ้น แตตองปรับปรุงเล็กนอย ขั้น R3

พัฒนายุทธศาสตร D3A D3O ไดยุทธศาสตรที่สมบูรณ ขั้น D3

กิจกรรมการจัดสาธิต D4A D4O1 ปญหาเปาที่จุดสาธิตไดรับการแกไขหมดไป


การแกปญหาเปา และไดจัดตั้งนักวิจัยชุมชน ที่เปนประชาชน
ในพื้นที่ในการวิจัยและแกไขปญหาที่เกิดขึ้น
D4O2
ความรูเกี่ยวกับการจัดทําแผนชุมชน ซึ่งคือ
การจัดทําแผนชุมชนอยางมีสวนรวมถูกเผยแพรไปยังชุมชนตาง ๆ ขั้น D4

ภาพประกอบที่ 3.1 ขั้นตอนการวิจัยสรางยุทธศาสตรการพัฒนาชุมชน โดยการจัดทําแผนชุมชน


อยางมีสวนรวม กรณีตําบลแมทะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง

คําอธิบายภาพประกอบที่ 3.1

D0O = ปญหาทุกขรอ น ชาวบานในตําบลแมทะสวนใหญมฐี านะยากจน รายไดไมพอกับรายจาย


77

R1A = กิจกรรมวิจัยขั้นที่ 1 จากการศึกษาเชิงสํารวจวิเคราะหพบวา ประชาชนขาดอาชีพเสริม


เพื่อสรางรายไดใหแกครัวเรือน (R1O)
D1A = กิจกรรมพัฒนาขั้นที่ 1 หลังจากการนําขอมูล (R1O) ที่ได มาวิเคราะหพัฒนาทําใหได
ปญหาเปาที่ชัดเจนวาขาดแผนชุมชนสําหรับแกปญหาเศรษฐกิจชุมชนที่มาจากการมีสวนรวมของ
ชุมชน แมบางหมูบานจะมีแผนชุมชนแตก็ไมไดเกิดจากการมีสวนรวมของชาวบานในทุกขั้นตอน
ของการวางแผน ประชาชนเปนเพียงผูใหขอมูล กลาวโดยสรุปคือ ขาดแผนชุมชนที่เกิดจากการมี
สวนรวมของชุมชน (D1O)
R2A = กิจกรรมวิจยั ขัน้ ที่ 2 นําความรูในวิธีจัดทําแผนชุมชนหลายวิธีมาวิเคราะหคัดเลือกวิธีที่
จะนํามาใชใหเกิดผลในทางปฏิบัติไดจริงในชุมชน ทําใหไดขอสรุปวาจะเปดโอกาสใหประชาชน
เขามามีสวนรวมผานเวทีชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพและทุนที่มีอยูในชุมชนมาใชจัดทําแผนชุมชน
ตําบลแมทะ ในขั้นตอนนี้ทําใหไดกระบวนการจัดทําแผนชุมชน คือ การเปดโอกาสใหชุมชนเขามา
มีสวนรวมในการจัดทําแผนชุมชนผานเวทีชุมชน (R2O)
D2A = กิจกรรมพัฒนาขั้นที่ 2 วิเคราะหหาแนวทางหลากหลายวิธใี นการจัดเวทีชมุ ชนที่ใชการมี
สวนรวมของประชาชน โดยคํานึงถึงความเหมาะสมกับสภาพปญหาของชุมชนจนไดขอสรุปวาจะ
จัดเวทีชุมชน 6 เวที ดังนี้ คือ 1) เวทีเตรียมชุมชน 2) เวทีรวบรวมขอมูลชุมชน 3) เวทีวิเคราะห
ขอมูลชุมชนและจัดทําแผนชุมชนระดับหมูบ า น 4) เวทีจดั ทําแผนชุมชนระดับตําบล 5) เวทีศกึ ษาดูงาน
6) เวทีประชาพิจารณแผนชุมชน (D2O)
R3A = กิจกรรมวิจยั ขัน้ ที่ 3 นํายุทธศาสตรกระบวนการจัดทําแผนชุมชนอยางมีสว นรวมทีส่ รางขึน้
มาใชทดลองจัดทําแผนชุมชนตําบลแมทะ ทําใหได ขอความรูวายุทธศาสตรที่สรางขึ้นใชไดผลจริง
แตตองปรับปรุงเล็กนอย (R3O)
D3A = กิจกรรมพัฒนาขัน้ ที่ 3 ตรวจสอบวิเคราะหขอ ความรูท วี่ า ยุทธศาสตรการจัดทําแผนชุมชม
อยางมีสวนรวมในตําบลแมทะที่สรางขึ้น สามารถนํามาใชในการจัดทําแผนชุมชนไดจริงทําใหได
ยุทธศาสตรที่สมบูรณ (D3O)
D4A = กิจกรรมพัฒนาขัน้ ที่ 4 นํายุทธศาสตรทสี่ รางขึน้ ไปจัดทําแผนชุมชนตําบลแมทะ ทําใหได
แผนชุมชนตําบลแมทะ (D4O1) และความรูเ กีย่ วกับการสรางยุทธศาสตรการพัฒนาชุมชนโดยการจัดทํา
แผนชุมชนอยางมีสวนรวม กรณีตําบลแมทะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง สามารถถายทอดไปยัง
ชุมชนอืน่ (D4O2)
การวิจยั สรางยุทธศาสตรการพัฒนาชุมชน โดยการจัดทําแผนชุมชนอยางมีสว นรวมนีผ้ วู จิ ยั
จะดําเนินการวิจยั ถึงขัน้ ทดลองใชยทุ ธศาสตรทสี่ รางขึน้ (ขัน้ R3) แลวนํามาวิเคราะหสรุปผลการวิจยั วา
ยุทธศาสตรที่สรางขึ้นใชการไดจริง โดยมีการดําเนินการในแตละขั้นตอนดังนี้
78

 หาเชิงพัฒนา จากการวิเคราะหขอ มูลเบือ้ งตน


ขัน้ ตอนที่ 1 การเลือกหนวยทองถิน่ ทีม่ ปี ญ
ในเอกสารตําราของแผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลแมทะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง ผูวิจัย
ไดมองเห็นศักยภาพของชุมชนตาง ๆ ในตําบลแมทะ มีความเหมาะสมทีจ่ ะนํามาใชแกปญ  หาทีเ่ กิดขึน้
ไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงตัดสินใจเลือกตําบลแมทะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง สําหรับใชใน
การทดลองยุทธศาสตรการพัฒนาชุมชน โดยการจัดทําแผนชุมชนอยางมีสวนรวม จากสภาพปญหา
ที่เกิดขึ้นในตําบลแมทะ สวนใหญเปนปญหาทางเศรษฐกิจ เนื่องจากประชาชนสวนใหญประกอบ
อาชีพเกษตรกรรมซึง่ ตองอาศัยน้าํ ฝนจากธรรมชาติ บางครัง้ ตองประสบกับภาวะภัยแลง ฝนไมตกตอง
ตามฤดูกาล ราคาผลผลิตตกต่าํ ฯลฯ และสวนใหญไมมอี าชีพเสริมเปนอาชีพทีส่ อง จึงทําใหรายได
ไมพอกับรายจายตองกูยืมเงินจากภายนอกมาใชจาย ทําใหเปนหนี้สินลนพนตัว ผูวิจัยไดมองเห็นวา
ชุมชนมีศักยภาพเพียงพอที่จะรวมตัวกันดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจรวมกัน โดยการรวมตัวจัดตั้ง
กลุมอาชีพเสริม สรางรายไดใหแกครัวเรือน จึงเลือกเปนหนวยทองถิ่นที่จะทําการพัฒนา

ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะหปญหาเชิงพัฒนา มีประเด็นปญหาที่ตองวิเคราะหดังนี้


1. ปญหาทุกขรอ น คือ ชาวบานในตําบลแมทะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง มีฐานะ
ยากจน รายไดไมพอกับรายจาย
2. ปญหาปจจัย คือ
2.1 การขาดอาชีพเสริม สรางรายไดใหแกครัวเรือน
2.2 ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ํา
2.3 ประสบภาวะภัยแลงฝนไมตกตองตามฤดูกาล
2.4 ตนทุนปจจัยการผลิตสูงขึ้น
3. ปญหาสืบเนื่อง คือ
3.1 เมื่อรายไดไมพอกับรายจาย จนตองไปหยิบยืมจากคนอื่นมาใชจายใหพอเพียง
กับความตองการ
3.2 เปนเหตุใหเกิดหนี้สินลนพนตัว
3.3 เกิดความเครียดครอบครัวไมเปนสุข
3.4 เกิดความหวังในโชคลาภทําใหสูญเสียเงินไปกับการเสี่ยงโชคตาง ๆ
3.5 อาจสงผลใหตดั สินใจกระทําผิดกฎหมายเพือ่ ใหไดเงินสําหรับใชจา ยอยางพอเพียง
เชน การคายาเสพติด เลนการพนัน
79

ขั้นตอนที่ 3 การระบุปญหาเปา คือ ขาดแผนชุมชนสําหรับแกปญหาทางเศรษฐกิจซึ่ง


เปนการรวมตัวดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจรวมกันจัดตัง้ เปนกลุม อาชีพตาง ๆ เพือ่ สรางรายไดเสริม
ใหแกครอบครัว

ขัน้ ตอนที่ 4 การสรางยุทธศาสตรการพัฒนา โดยการเปดโอกาสใหชมุ ชนเขามามีสว นรวม


ในการจัดทําแผนชุมชนผานการจัดเวทีชุมชน 6 เวที (หนวยระบบทํางาน) มีรายละเอียดดังนี้
1. การกําหนดเปาหมายของยุทธศาสตร เพื่อใหไดแผนชุมชนตําบลแมทะ อําเภอ
แมทะ จังหวัดลําปาง
2. การสรางหนวยระบบทํางานของยุทธศาสตรการพัฒนา โดยการจัดทําแผนชุมชน
อยางมีสว นรวม กรณีตาํ บลแมทะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง มีหนวยระบบทํางาน 6 หนวยระบบ
ทํางานในเวทีชุมชน ดังนี้
เวทีที่ 1 เตรียมชุมชน เปนการเตรียมนักวิจัยชุมชน/วิทยากร โดยการอบรมสัมมนา
ทําความเขาใจกับผูนํา คือ กํานัน ผูใหญบาน อบต. และคนที่เปนหลักในกลุมตาง ๆรวมทั้งผูนํา
ธรรมชาติหรือคนเฒาคนแกที่ชาวบานใหการยอมรับนับถือ เพื่อใหผูนําเหลานี้ถายทอดความเขาใจ
ในการจัดทําแผนชุมชนกอนจะลงมือทํา จากนั้นคัดเลือกผูนําหรือตัวแทนหมูบานละ 10 คน รวม
เปนคณะทําแผนระดับตําบล ซึ่งรวม 10 หมูบานแลวจะไดประมาณ 100 คน ผูแทนเหลานี้จะ
รวมประชุมระดับตําบลเพื่อเรียนรูแนวคิด และวิธีการทํางานแลวนํากลับไปถายทอดใหทีมงาน
ของตนเองในระดับหมูบาน ซึ่งเปนบุคคลที่ไดรับคัดเลือกหรืออาสาเขามาทํางานรวมกันหมูบานละ
20 คน ตามสัดสวนของประชากรแตละหมูบาน ใหไดจํานวนเฉลี่ย 1 คนตอ 10 หลังคาเรือน
คนเหลานี้คือ นักวิจัยชุมชนที่จะสํารวจ เก็บขอมูล แตละคนรับผิดชอบประมาณ 10 ครอบครัว
ดังแสดงในตารางที่ 3.1
80

ตารางที่ 3.1 หนวยระบบทํางานที่ 1 เวทีเตรียมชุมชน

ปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output)


I1 = ผูวิจัย P1 = การสัมมนา O1 = เกิดความรูความเขาใจ
I2 = วิทยากร P2 = การถายทอดความรู ในการจัดทําแผนชุมชน

I3 = แกนนําชุมชน เกี่ยวกับการจัดทําแผนชุมชน O2 = ไดขอมูลเบื้องตนของ


P3 = การใหผูเขารวมสัมมนา ชุมชน
I4 = ตัวแทนจากองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น ไดแสดงความคิดเห็น/ซักถาม O3 = ไดนักวิจัยชุมชน

I5 = ตัวแทนจากหนวยงาน P4 = การเปดโอกาสใหผูเขารวม
ภาครัฐ/เอกชน สัมมนาไดรวมปฏิบัติการ
กรอกขอมูล วิเคราะหขอมูล
I6 = โรงเรียนบานทาแหน
เปนการสรางพื้นฐานความรู
I7 = ขอความรูที่เกี่ยวกับ ความเขาใจในการจัดทําแผน
การจัดทําแผนชุมชน ชุมชน

เวทีที่ 2 เก็บรวบรวมขอมูลชุมชน ประชุมนักวิจัยชุมชนและชาวบานในแตละหมูบาน


ทําความเขาใจชี้ใหเห็นถึงความผิดพลาดของการพัฒนาที่ผานมา ความสําคัญและความจําเปนของ
การตองมีแผนชุมชน ศึกษากระบวนการ แผนงาน/กิจกรรมทีจ่ ะดําเนินการรวมกัน เรียนรูก ารสํารวจ
ศักยภาพและทุนชุม ชน ไดแก ทําบัญชีค รัวเรือ น 30 วัน การสํารวจรายรับ รายจาย หนี้สิน
ของครอบครัว การกรอกแบบสํารวจบริบทชุมชน และแบบสํารวจผูนําชุม ชน ตลอดจนปญหา
และความตองการของชุมชน ดังแสดงในตารางที่ 3.2
81

ตารางที่ 3.2 หนวยระบบทํางานที่ 2 เวทีรวบรวมขอมูลชุมชน

ปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output)


I1 = ผูวิจัย P1 = การจัดเวทีชุมชน O1 = เกิดความรูความเขาใจใน
I2 = นักวิจัยชุมชน P2 = การถายทอดความรู การบันทึกแบบสํารวจ
เกี่ยวกับการจดบันทึก ขอมูลศักยภาพและทุน
I3 = ประชาชนในชุมชน
แบบสํารวจขอมูลศักยภาพ ชุมชน
I4 = ตัวแทนจากองคกร
และทุนชุมชน O2 = ไดขอมูลศักยภาพและทุน
ปกครองสวนทองถิ่น
P3 = การใหผูเขารวมเวทีชุมชน ชุมชน ไดแก
I5 = ตัวแทนจากหนวยงาน ขอมูลบริบทชุมชน
ไดแสดงความคิดเห็น/ซักถาม
ภาครัฐ/เอกชน ขอมูลผูนําชุมชน
P4 = การเปดโอกาสใหผูเขารวม
I6 = ศาลาประชาคม ขอมูลรายรับ รายจาย
เวทีชุมชนไดทํากิจกรรมการ
หนี้สินของครอบครัว
I7 = ขอความรูที่เกี่ยวกับ บันทึกขอมูลรวมกัน
ขอมูลบัญชีครัวเรือน
การบันทึก การสํารวจ
30 วัน
ศักยภาพและทุนชุมชน

เวทีที่ 3 วิเคราะหขอมูลและจัดทําแผนชุมชนระดับหมูบาน ประชุมนักวิจัยชุมชนและ


ชาวบานเพื่อรวบรวมขอมูลที่ไดจากการสํารวจวิจัยชุมชนของตนเอง ขอมูลรายรับ รายจาย หนี้สิน
ของครอบครัว ขอมูลจากบัญชีครัวเรือน 30 วัน ขอมูลบริบทชุมชน ขอมูลผูนําชุมชน โดยให
ผูเขารวมเวทีชุมชนวิเคราะหขอมูลรวมกันแลวนําเสนอในรูปตาราง หลังจากนั้นก็นาํ ขอมูลที่ไดไป
จัดทําแผนชุ มชนระดั บหมู บาน แผนชุมชนที่ไ ดเปน การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจรวมกัน
โดยการรวมตัวกันจัดตั้งกลุมอาชีพ สรางรายไดเสริมใหแกครัวเรือน ดังแสดงในตารางที่ 3.3
82

ตารางที่ 3.3 หนวยระบบทํางานที่ 3 เวทีวิเคราะหขอมูลและจัดทําแผนชุมชนระดับหมูบาน

ปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output)


I1 = ผูวิจัย P1 = การจัดเวทีชุมชน O1 = เกิดความรูความเขาใจ
I2 = วิทยากร P2 = การถายทอดความรู ในการวิเคราะหขอมูล

I3 = นักวิจัยชุมชน เกี่ยวกับการวิเคราะห O2 = ไดขอมูลชุมชนที่ผาน


ขอมูลชุมชน การวิเคราะหแลว
I4 = ประชาชนในชุมชน
P3 = การใหผูเขารวมเวทีชุมชน O3 = ไดตารางแสดงคาใชจา ย
I5 = ตัวแทนจากองคกร
ไดแสดงความคิดเห็น/ซักถาม ตาง ๆ ของชุมชน เชน
ปกครองสวนทองถิ่น
P4 = การเปดโอกาสใหผูเขารวม คาอาหาร
I6 = ตัวแทนจากหนวยงาน คาเครื่องปรุง
เวทีชุมชนไดทํากิจกรรมการ
ภาครัฐ/เอกชน คาเครื่องดื่มและขนม
วิเคราะหขอมูลรวมกัน
I7 = ศาลาประชาคม คาของใชตาง ๆ
P5 = การเปดโอกาสใหผูเขารวม
คายารักษาโรค
I8 = แบบสํารวจขอมูล เวทีชุมชนนําขอมูลที่ไดจาก
คาใชจายการศึกษา
ศักยภาพและทุนชุมชน การวิเคราะหมาประกอบการ
คาใชจา ยในการบันเทิง
I9 = ขอความรูที่เกี่ยวกับ เขียนแผนชุ ม ชนระดั บ หมู
บ  า
 น
คาผอนชําระหนี้สิน
การวิเคราะหขอ มูลชุมชน คาใชจายในการผลิต
I10 = ขอความรูที่เกี่ยวกับ คาใชจายทางสังคม
การจัดทําแผนชุมชน O4 = ไดแผนชุมชนระดับ
หมูบาน

เวทีที่ 4 จัดทําแผนชุมชนระดับตําบล เพือ่ นําแผนชุมชนระดับหมูบ า นมาวิเคราะหใหเห็น


ความเหมือนหรือความแตกตาง มีความซ้าํ ซอนของกลุม อาชีพหรือไมเพือ่ กําหนดเปนขอตกลงรวมกัน
ไมใหเกิดกลุมอาชีพที่ซ้ําซอนกัน ซึ่งอาจจะทําใหเกิดปญหาอุปสรรคในการนําไปปฏิบัติ แลวจัดทํา
เปนแผนชุมชนระดับตําบล ดังแสดงในตารางที่ 3.4
83

ตารางที่ 3.4 หนวยระบบทํางานที่ 4 เวทีจัดทําแผนชุมชนระดับตําบล

ปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output)


I1 = ผูวิจัย P1 = การจัดเวทีชุมชน O1 = เกิดความรูความเขาใจ
I2 = วิทยากร P2 = การใหผูเขารวมเวทีชุมชน ในการจัดทําแผนชุมชน
ไดแสดงความคิดเห็น/ซักถาม ระดับตําบล
I3 = นักวิจัยชุมชน
O2 = ไดแผนชุมชนระดับตําบล
I4 = ประชาชนในชุมชน P3 = การเปดโอกาสใหผูเขารวม
ทีเ่ ปนการหลอมรวมของ
เวทีชุมชนไดตัดสินใจรวมกัน
I5 = ตัวแทนจากองคกร แผนชุมชนแตละหมูบ า น
ในการหลอมรวมแผนชุมชน
ปกครองสวนทองถิ่น
ระดับหมูบานเปนแผนชุมชน
I6 = ตัวแทนจากหนวยงาน ระดับตําบล
ภาครัฐ/เอกชน
I7 = ศาลาประชาคม
I8 = แผนชุมชนของแตละ
หมูบาน

เวทีที่ 5 การศึกษาดูงาน โดยการนําตัวแทนแตละกลุม อาชีพไปศึกษาดูงานตามสถานที่


ตาง ๆ เพือ่ เรียนรูเ กีย่ วกับการกอกําเนิดของกลุม การบริหารจัดการกลุม จนประสบความสําเร็จ หลัง
จากนัน้ ก็จะนําประสบการณทไี่ ดจากการศึกษาดูงานมาอภิปรายหาแนวทางในการบริหารจัดการกลุม
อาชีพของตนใหมปี ระสิทธิภาพ และเปนจริงไดในทางปฏิบตั ดิ งั แสดงในตารางที่ 3.5
84

ตารางที่ 3.5 หนวยระบบทํางานที่ 5 เวทีการศึกษาดูงาน

ปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output)


I1 = งบประมาณ P1 = การศึกษาดูงาน O1 = เกิดความรูความเขาใจ
I2 = ผูวิจัย P2 = การวิเคราะหขอความรู ในการกอกําเนิดกลุม

I3 = ตัวแทนกลุมอาชีพ ที่ไดจากการศึกษาดูงาน O2 = เกิดความรูความเขาใจ


P3 = การสรุปหรือถอดบทเรียนจาก ในการบริหารจัดการ
I4 = สถานที่ศึกษาดูงาน
การศึกษาดูงาน กลุม
I5 = วิทยากรจากสถานที่ O3 = ไดขอ สรุปผลการศึกษา
ศึกษาดูงาน ดูงาน
I6 = ขอความรูจากสถานที่
ศึกษาดูงาน

เวทีที่ 6 ประชาพิจารณแผนชุมชน หลังจากการศึกษาดูงานตามสถานทีต่ า ง ๆ แลวใหตวั แทน


แตละกลุมอาชีพที่ไดไปศึกษาดูงานตามหนวยงานตาง ๆ รวมกันอภิปรายสรุปบทเรียนที่ไดจาก
การศึกษาดูงานเพื่อสรางความเชื่อมั่นวาจะสามารถดําเนินการตามแผนที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ
หลังจากนั้นก็จัดประชุมแกนนํากลุมอาชีพตาง ๆ และเชิญหัวหนาสวนราชการ คณะผูบริหารองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น เชน นายกองคการบริหารสวนตําบลแมทะ ตัวแทนจากองคการบริหารสวน
จังหวัดลําปาง ฯลฯ เวทีนี้เปนการใหประชาชนมารวมรับรูในการนําแผนชุมชนระดับตําบลมาทํา
ประชาพิจารณ โดยการมารวมเรียนรูพิจารณาแผนชุมชนอันเปนแผนชีวิตของตนวาเห็นดวยหรือไม
อยางไร มีขอจํากัดหรือขอบกพรองอะไรที่ควรจะแกไขและทําอยางไรจึงจะใหเปนแผนชุมชนที่มี
ประสิทธิภาพและเปนจริงไดในทางปฏิบัติ ดังแสดงในตารางที่ 3.6
85

ตารางที่ 3.6 หนวยระบบทํางานที่ 6 เวทีประชาพิจารณแผนชุมชน

ปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output)


I1 = ผูวิจัย P1 = การจัดเวทีชุมชน O1 = เกิดความรูค วามเขาใจใน
I2 = วิทยากร P2 = การถายทอดความรูเกี่ยวกับ การจัดทําประชาพิจารณ
การประชาพิจารณแผนชุมชน แผนชุมชนระดับตําบล
I3 = นักวิจัยชุมชน
I4 = ประชาชนในชุมชน P3 = การอภิปรายบทสรุปผลที่ได O2 = ไดแผนชุมชนระดับตําบล
จากการศึกษาดูงาน ทีผ่ า นการประชาพิจารณ
I5 = ตัวแทนจากองคกร แลวกลายเปนแผนชุมชน
ปกครองสวนทองถิ่น P 4 = การให ผเ
 ู ข าร ว มเวที ชม
ุ ชน
ซึ่งพรอมจะนําไปสู
ไดแสดงความคิดเห็น/ซักถาม
I6 = ตัวแทนจากหนวยงาน การปฏิบัติเ พื่อ ใหเ กิด
ภาครัฐ/เอกชน P5 = การเปดโอกาสใหผูเขารวม การพัฒนาขึ้นในชุมชน
เวทีชุมชนไดทํากิจกรรมการ สรางรายไดแกครัวเรือน
I7 = สถานที่สําหรับการศึกษา
ประชาพิจารณแผนชุมชน
ดูงาน
รวมกัน
I8 = โรงเรียนแมทะวิทยา
I9 = แผนชุมชนระดับตําบล
I10 = ขอความรูในการจัดทํา
ประชาพิจารณแผนชุมชน

3. การจัดทรัพยากร เปนการนําศักยภาพและทุนทีม่ ใี นชุมชนมาพัฒนาแกปญ  หาทาง


เศรษฐกิจชุมชน ใชทรัพยากรที่มีในชุมชนจากการสํารวจรวบรวมขอมูลของชุมชนทั้งบริบทชุมชน
ขอมูลรายรับ รายจาย หนี้สินของครอบครัว ขอมูลผูนําชุมชน ขอมูลบัญชีบันทึกครัวเรือน 30 วัน
โดยใชความรวมมือของคนในชุมชน คนจากหนวยงานภาครัฐ/เอกชนและองคกรปกครองสวนทองถิน่

ขั้นตอนที่ 5 การทดลองยุทธศาสตรการพัฒนา หลังจากไดแผนชุมชนซึ่งเปนโครงการ


รวมตัวจัดตั้งกลุมอาชีพตาง ๆ ผูวิจัยจะนําโครงการ 1 โครงการ ที่เหมาะสมกับเวลา/งบประมาณ
และอยูใ นวิสยั ทีผ่ วู จิ ยั จะทําการทดลองได ไปดําเนินการทดลองยุทธศาสตร ดังแสดงในตารางที่ 3.7
86

ตารางที่ 3.7 หนวยระบบทํางานที่ 7 การทดลองยุทธศาสตรการพัฒนา

ปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output)


I1 = ผูวิจัย P1 = ปรับปรุง/เตรียมสถานที่ O1 = เกิดกลุม อาชีพ
I2 = สมาชิกกลุมอาชีพ P2 = การถายทอดความรูเกี่ยวกับ O2 = สมาชิกมีรายไดเพิม่ ขึน้
I3 = เงินทุน การผลิตตามสาขาอาชีพใหแก O3 = เกิดความรูใ นการทํางาน
สมาชิก เปนทีม/หมูค ณะ
I4 = ปจจัยการผลิต
P3 = ดําเนินกิจกรรมการผลิต O4 = เกิดความสามัคคีในกลุม
I5 = สถานที่
P4 = การกําหนดระเบียบการทํางาน สมาชิก
I6 = อุปกรณ
และขอตกลงรวมกัน
I7 = ขอความรูในการผลิต
P5 = การมอบหมายหนาที่ใหแก
ตามสาขาอาชีพ
สมาชิกแตละคนรับผิดชอบ
I8 = ขอความรูในการบริหาร
P6 = การประชุมรวมกันทุกเดือน
จัดการกลุม
I9 = ขอความรูดานการตลาด

ขัน้ ตอนที่ 6 การประเมินผลการทดลองยุทธศาสตรการพัฒนา หลังจากมีการดําเนินงาน


ในระยะเวลาพอประมาณ ผูว จิ ยั จึงทําการประเมินผลการดําเนินงาน โดยใชการสังเกต สอบถาม
การประชุมกลุม ยอย (focus group) เพือ่ ประเมินความพึงพอใจของสมาชิกทีม่ ตี อ การดําเนินกิจกรรม
การเลี้ยงไกพันธุพื้นเมืองเปนการประเมินผลในขั้นตนของการดําเนินงานเทานั้น เนื่องจากขอจํากัด
ของงบประมาณและเงือ่ นไขของระยะเวลาสําเร็จการศึกษา (ไดกลาวไวแลวในขอตกลงเบือ้ งตน) ผูว จิ ยั
จึงไมสามารถประเมินผลการดําเนินงานจนสิน้ สุดกระบวนการผลิตได ดังแสดงในตารางที่ 3.8
87

ตารางที่ 3.8 หนวยระบบทํางานที่ 8 การประเมินผลการทดลองยุทธศาสตรการพัฒนา

ปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output)


I1 = ผูวิจัย P1 = ดําเนินการประเมินผลโดยใช O1 = ไดผลการประเมินผล
I2 = สมาชิกกลุมอาชีพ การสังเกต สัมภาษณ การดําเนินงานของกลุม
ประชุมกลุม ยอย (focus group) O = ไดขอ มูลสําหรับปรับปรุง
I3 = สถานที่ 2
P2 = วิเคราะหขอมูลที่ไดจากการ แกไขการดําเนินงานใหมี
I4 = ขอความรูในการประเมิน
การสังเกต สัมภาษณ ประสิทธิภาพยิง่ ขึน้
ผลการดําเนินงาน
ประชุมกลุม ยอย (focus group) O = การบริหารจัดการกลุม
3
I4 = ขอความรูอื่น ๆ ไดแก
P3 = สรุปผลการประเมินผล มีประสิทธิภาพ ดีขนึ้
การสังเกต
การสัมภาษณ O4 = เกิดความรูใ นการประเมิน
การประชุมกลุมยอย ผลการดําเนินงาน
(focus group)

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

1. แบบบันทึกขอมูลศักยภาพและทุนชุมชน ไดแก แบบบันทึกบริบทชุมชน แบบบันทึก


ขอมูลผูน าํ ชุมชน แบบบันทึกรายรับ รายจาย หนีส้ นิ ของครอบครัว แบบบันทึกบัญชีครัวเรือน 30 วัน
เครื่องมือเหลานี้ผูวิจัยไดนาํ มาจากเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นจากเครื่องมือของมูลนิธิหมูบาน โดยผูชวย
ศาสตราจารยอรรณพ วงศวชิ ยั ซึง่ ไดผา นการนําไปใชจริงในการจัดทําแผนชุมชนของหลายชุมชน เชน
ตําบลทุง งาม อําเภอเสริมงาม ตําบลสันดอนแกวและตําบลดอนไฟ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง
2. การสังเกต ใชการบันทึกวีดีทัศน เครื่องบันทึกเสียง ใชการสังเกตแบบแผนพฤติกรรม
การมีสวนรวม ความเขาใจในวัตถุประสงคของกิจกรรมที่ทํารวมกันในแตละเวทีชุมชน
3. การสัมภาษณแบบไมเปนทางการ แกนนําที่เขารวมในการจัดเวทีชุมชน โดยพิจารณา
จากผูที่มีความรูความเขาใจในการจัดทําแผนชุมชน พิจารณาไดจากการสังเกตของผูวิจัยเอง
4. การประชุมกลุมยอย เปนการประชุมสมาชิกรวมกับผูวิจัยเพื่อรวมกันอภิปรายและ
เสนอแนะขอความรูที่ไดจากการดําเนินกิจกรรมการผลิตและการแกไขปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น
88

แหลงขอมูลและวิธีเก็บรวบรวมขอมูล

1. ขอมูลปฐมภูมิ (primary data) เปนขอมูลที่ไดจากการเขารวมกิจกรรมตาง ๆ เชน


การจัดเวทีเรียนรูช มุ ชน การสังเกตแบบไมเปนทางการ การสํารวจบริบทชุมชน บันทึกขอมูลผูน าํ ชุมชน
ขอมูลรายรับ รายจาย หนี้สินของครัวเรือน การบันทึกบัญชีครัวเรือน 30 วัน การสัมภาษณ
บุคคลและกลุมบุคคลที่เกี่ยวของในการจัดทําแผนชุมชน มีการใชเทปบันทึกเสียง การบันทึกวีดที ศั น
การบันทึกภาพกิจกรรมตาง ๆ ในการเก็บรวบรวมขอมูล โดยไดขอ มูลจาก ผูน าํ ชุมชน นักวิจยั ชุมชน
ประชาชนทีอ่ าสาสมัครบันทึกขอมูลบัญชีครัวเรือน 30 วัน และประชาชนทัว่ ไปทีเ่ ขารวมเวทีชมุ ชน
2. ขอมูลทุติยภูมิ (secondary data) เปนขอมูลที่ไดเก็บรวบรวมไวแลวโดยบุคคลหรือ
กลุมบุคคลและกลุมองคกรตาง ๆ เชน เอกสาร รายงานวิจัย บทความ วารสารสิ่งพิมพ หนังสือ
รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของกับบริบทชุมชน ศักยภาพและทุนของชุมชน ที่มีการรวบรวมไวแลวโดย
องคกรปกครองสวนทองถิ่น เชน แผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลแมทะ ขอมูลตําบลแมทะ

วิธีวิเคราะหขอมูล

1. การวิเคราะหขอ มูล ที่ไ ดจ ากแบบบัน ทึก ขอ มูล ศักยภาพและทุน ชุม ชน ซึ่งเปน
การวิเคราะหเชิงปริมาณของรายรับ ราจาย หนี้สิน รวมกับการวิเคราะหเชิงเหตุผลของศักยภาพ
และทุนชุมชน ไดแก บริบทชุมชน ความรูภูมิปญญาทองถิ่น ฯลฯ โดยมีรายละเอียดของขั้นตอน
ในการวิเคราะหขอมูลดังนี้
1.1 รวบรวมขอมูลที่ไดของแตละหมูบาน(บริบทชุมชน ความรูภูมิปญญาทองถิ่น)
1.2 รวบรวมรายรับ รายจาย หนี้สินตาง ๆ ของแตละหมูบาน
1.3 นําคาที่รวมไดของแตละหมูบาน มารวมเปนภาพรวมของทั้งตําบล
1.4 นําเสนอขอมูลการวิเคราะหในรูปตาราง (contingency table) โดยจัดแบงเปน
หมวดหมูใหชัดเจนงายตอการทําความเขาใจ เพื่อใชประกอบในการตัดสินใจดําเนินโครงการหรือ
กิจกรรมสําหรับแกปญหาทางดานเศรษฐกิจของชุมชน

2. การวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการสังเกต สัมภาษณและการประชุมกลุมยอย
2.1 การวิเ คราะหร ะหวา งเก็บ ขอ มูล (analysis during data collection) เปน
การวิเคราะหขอมูลสังเกตในภาคสนาม เพื่อใหไดขอมูลเบื้องตนสําหรับนําไปใชพิจารณาตัดสินใจ
89

ในการวางแผนดําเนินงานและปฏิบตั กิ ารเก็บรวบรวมขอมูลในระยะตอไปเพือ่ ใหไดรบั ขอมูลหนาแนน


(thick description) เพียงพอตอการตอบประเด็นคําถามการวิจัย ไดอยางครอบคลุมครบถวน
2.2 นําขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณ มาจัดระบบวาสมเหตุสมผล และมีความเปนไป
ไดมากนอยเพียงใดในการพรรณนาปรากฎการณ หรือ ตอบคําถามการวิจัย แลวแบง แยกขอมูล
ดังกลาวออกเปนสวนยอย ซึ่งบรรจุชิ้นสวนความหมาย ที่มีใจความเกี่ยวของกับประเด็นปญหา
การวิจัยโดยแบงแยกตามหนวยความหมายหรือหนวยการวิเคราะห เชน ถอยคํา วลี ขอความ หรือ
ประโยคหลักและรอง
2.3 พิจารณาการอภิปรายและขอเสนอแนะของสมาชิกแตละคน ในการประชุมกลุม ยอย
แลวแยกแยะเพือ่ หาหัวขอและกลุม หัวขอสรุปแนวคิด (conceptual topic/category) ของขอมูลเหลานัน้
2.4 นําเสนอขอมูลที่ไดโดยการบรรยายเชิงพรรณนา ถึงการไดมาของแผนชุมชนจาก
เวทีชุมชนตาง ๆโดยใชประกอบกับขอมูลเชิงสถิติที่ไดจากการใชแบบบันทึกขอมูลศักยภาพและทุน
ชุมชน ขอมูลจากเอกสารตํารา

You might also like