You are on page 1of 48

การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์

------------------------------------------------------------------------------------------ 1

บทสรุป
สำำหรับผู้
บริหำร

วามท้าทาย สำาหรับองค์การที่อยู่ในฐานะผู้นำาการเปลี่ยนแปลงชุมชนและสังคมคือการมีภูมิไวรับต่อการ
ปรับเปลี่ยนกรอบคิดในการพัฒนาชุมชนและสังคมซึ่งไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่ มีความพร้อมที่จะก้าวไปกับโลกแห่ง
ความเปลี่ยนแปลงอย่างรู้เท่าทัน
มูลนิธิสงเคราะห์เด็กยากจน ซี. ซี. เอฟ.ในประเทศไทย กำาลังเผชิญกับความท้าทายดังกล่าว ด้วยเหตุ
ที่ภารกิจหลักของมูลนิธิฯนั้น มีทั้งการทำางานเพื่อชุมชนในลักษณะสงเคราะห์ การทำางานกับชุมชนโดยการเปิด
โอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา และการส่งเสริมการดูแลและพัฒนาเด็กโดยอาศัยชุมชนและครอบครัว
เป็นฐานในการพัฒนา ซึ่งภารกิจในประการหลังนี้ ถือเป็นเรื่องใหม่และมีความสำาคัญยิ่งต่อมูลนิธิสงเคราะห์
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 2
เด็กยากจน ซี. ซี. เอฟ.ในประเทศไทยในระยะยาว ที่จะต้องเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างแท้จริง เพื่อ
นำาไปสู่การเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็งในทุกพื้นที่ ในขอบเขตความรับผิดชอบของมูลนิธิฯ
จากการปรับเปลี่ยนจากกลยุทธ์ในอดีตที่เน้นการสงเคราะห์เพียงอย่างเดียว มาเป็นการสนับสนุน งบ
ประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ แก่ชุมชน และในเวลาต่อมากำาลังเปลี่ยนผ่านมาเป็นการเสริมสร้างความเข็มแข็ง
ของชุมชนในปัจจุบัน โครงการแม่เรียนรู้สู่โภชนาการที่ดีของลูก ที่อำาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ถือเป็น
โครงการนำาร่องโครงการหนึ่งที่เน้นการเสริมสร้างพลังความเข้มแข็งของชุมชนโดยเน้นที่ตัวแม่และลูก ขยายสู่
ครอบครัว ชุมชน ตลอดจนภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ร่วมกันเลี้ยงดูเด็ก 0-5 ปี ให้เจริญวัยสมบูรณ์ มี
ภาวะโภชนาการที่ดี มีพัฒนาการสมวัย
โครงการแม่เรียนรู้สู่โภชนาการที่ดีของลูก เป็นโครงการภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือระหว่างโครงการ
สงเคราะห์เด็กยากจน ซี.ซี.เอฟ. จังหวัดเชียงราย กับ สำานักงานสาธารณสุขอำาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัด
เชียงราย ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2549 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน มีพื้นทีด่ ำาเนินงานครอบคลุมจำานวน 34
หมู่บ้านของอำาเภอแม่ฟ้าหลวง ครอบคลุมพื้นที่ความรับผิดชอบของสถานีอนามัยจำานวน 8 สถานีอนามัย
และครอบคลุมเด็ก 0-5 ปีจำานวนทั้งหมด 2,635 คน

วัตถุประสงค์
ดังนั้นเพื่อสรุปบทเรียนการดำาเนินงานตามโครงการฯดังกล่าว ทางมูลนิธิจึงได้กำาหนดให้มีการศึกษา
ชุมชนและจัดเวทีสุนทรียสนทนาขึ้น เรื่อง“การประเมินผลอย่างมีส่วนร่วมของพหุภาคี โครงการแม่เรียนรู้สู่
โภชนาการที่ดีของลูก” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้พหุภาคี
1) เกิดความเข้าใจในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมชุมชนที่อยู่ในโครงการร่วมกัน
2) เข้าใจแนวคิดและวิธีการทำางานพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กโดยอาศัยสินทรัพย์ชุมชนเป็นฐาน
3) ได้เรียนรู้จากประสบการณ์การปฏิบัติงานในโครงการร่วมกันในช่วงระยะเวลา 2 ปี
4) สามารถออกแบบการจัดระเบียบและปรับแนวทางทำางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิผลได้
5) สามารถวางแผนปฏิบัติงานร่วมกันเพื่อสานต่อภารกิจให้บรรลุตามข้อตกลงร่วมกันในช่วง
เวลาที่เหลือได้

วิธีดำำเนินกำร
วิธดี ำาเนินการศึกษาชุมชนและจัดเวทีสุนทรียสนทนา มี 4 ขั้นตอนคือ
• ขั้นตอนที่ 1 ได้จัดปฐมนิเทศ แนวทางการศึกษาชุมชนและสุนทรียสนทนา เพื่อประเมินผลอ
ย่างมีส่วนร่วม แก่ทีมงานสาธารณสุขอำาเภอ สถานีอนามัยในพื้นที่และทีมงานโครงการ
สงเคราะห์เด็กยากจน ซี.ซี.เอฟ. จังหวัดเชียงราย เพื่อการสรุปบทเรียนการปฏิบัติงานร่วมกัน
มา ณ ห้องประชุมโครงการสงเคราะห์เด็กยากจน ซี.ซี.เอฟ. จังหวัดเชียงราย จำานวน 1/2 วัน
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 3
• ขั้นตอนที่ 2 มีการศึกษาชุมชนและจัดเวทีสุนทรียสนทนาในหมู่บ้าน เพื่อติดตามผลโครงการ
ในพื้นที่ปฏิบัติงานของโครงการฯบางพื้นที่เป็นเวลา 1 1/2 วัน ในพื้นที่ 5 หมู่บ้าน ได้แก่
หมู่บ้านแสนใจใหม่ หมู่บ้านแม่สะแลบ ตำาบลแม่สลองใน หมู่บ้านแม่เต๋อ ตำาบลแม่สลองนอก
หมู่บ้านห้วยอื้น หมู่บ้านผาจี ตำาบลเทอดไทย
• ขั้นตอนที่ 3 มีการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสนทนากับผู้ดำาเนินโครงการฯ และจากการ
ศึกษาชุมชน และมีการเตรียมข้อมูลเพื่อนำาเข้า ในเวทีสุนทรียสนทนา เป็นเวลา 1 วัน ณ ห้อง
ประชุมโครงการสงเคราะห์เด็กยากจน ซี.ซี.เอฟ. จังหวัดเชียงราย
• ขั้นตอนที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียสนทนา ทีมงาน และคณะกรรมการในพื้นที่ของโค
รงการฯ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำาบล ตำาบลแม่สะลองนอก จังหวัดเชียงราย
เป็นเวลา 2 วัน โดยในวันแรกผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ จำานวน 71 คน ได้แก่กรรมการ
อาสาจาก 12 เขตบริการจำานวน 32 คน เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย เจ้าหน้าที่โครงการฯ ซี. ซี.
เอฟ. จังหวัดเชียงราย ผู้ประสานงานภาคอาวุโส คณะเจ้าหน้าที่โครงการฯ ซี. ซี. เอฟ.จาก
ภาคใต้ และทีมวิทยากร

วิธีกำรศึกษำชุมชน
วิธีการศึกษาชุมชนใช้วิธีการศึกษาเชิงบวกแบบมีส่วนร่วมในเรื่องศึกษาวิถีชีวิตวัฒนธรรมชนเผ่า การ
ดูแลสุขภาพตนเองของแม่ก่อนและหลังการคลอดลูก และค้นหาศักยภาพของชุมชนในโครงการแม่เรียนรู้สู่
โภชนาการที่ดีของลูก กระบวนการครั้งนี้ ใช้กระบวนการสุนทรียปรัศนี ใน 4 ประเด็นหลัก คือ
1. กำรร่วมค้นพบสิ่งดีแล้วชื่นชม(Discovery) ซึ่งหมายถึงร่วมการค้นหาสิ่งที่มีอยู่ในวิถีชีวิต
และวัฒนธรรมชุมชนในอดีตจนถึงปัจจุบันรวมทั้งความสำาเร็จจากการทำางานร่วมกันมาแล้ว
2. ร่วมทอฝันอย่ำงสมศักดิ์ศรี(Dream) ซึ่งหมายถึงการกำาหนดวิสัยทัศน์ของพหุภาคีใน
โครงการ ฯ ร่วมกัน
3. ร่วมออกแบบอย่ำงมีสุนทรีย์(Design) ซึ่งหมายถึงการวางแผนการทำางานร่วมกัน และ
4. ร่วมสร้ำงสรรค์สิ่งดีเพื่อชุมชน(Destiny)ซึ่งหมายถึงการกำาหนดบทบาทและวิธีการ
ทำางานในอนาคตของภาคีในโครงการ ฯร่วมกัน
กระบวนการดังกล่าวข้างต้นใช้เทคโนโลยี ของการมีส่วนร่วม (Technology of Participation)
โดยจัดเวทีสุนทรียเสวนาในชุมชน (Appreciative Inquiry Community Dialogue).ในชุมชน 5 แห่ง
ใช้เวลา 2 วัน การจัดประชุมรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล 1 วัน และประชุมเชิงปฏิบัติการของพหุภาคี
ในโครงการ(workshop) ใช้เวลา 2 วัน
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 4
ผลสรุปจำกกำรดำำเนินงำน
การดำาเนินงานประเมินผลอย่างมีส่วนร่วมของพหุภาคี โครงการแม่เรียนรู้สู่โภชนาการที่ดีของลูก
1. ผลของกำรศึกษำวิถีชีวิต วัฒนธรรมชุมชนและกำรดูแลตนเองของแมและกำรดูแล
ลูก
จากการศึกษาชุมชนโดยจัดเวทีสุนทรียสนทนาในชุมชน 5 พื้นที่ คณะทำางานได้จัดเวทีสนทนาใน
ชุมชน ระหว่างกลุ่มแม่และญาติพี่น้องในครอบครัว ตลอดจนสัมภาษณ์สมาชิกในองค์กรชุมชน พบว่า ได้มี
การดูแลตนเองและดูแลลูกน้อยตลอดจนพึ่งพาญาติพี่น้องในการเลี้ยงดูลูกของตนเองตามแนววัฒนธรรม
ชุมชน ซึ่งสืบสานกันมาจากบรรพชน ทั้งในชนเผ่าอาข่าและลาหู่ อาทิ การดูแลในช่วงการตั้งครรภ์นั้น อาหาร
ของแม่ได้จากพืชผักตามฤดูกาล และการปลูกผักสวนครัวตามรั้วบ้านเป็นหลัก การรับประทานเนื้อสัตวจะมี
เพียงสัปดาห์ละ 3-4 วัน หาซื้อได้จากพ่อค้าหรือแม่ค้าบรรทุกจักรยานยนต์นำามาเร่ขายในหมู่บ้านเป็นประจำา
การคลอดบุตรมีทั้งการคลอดที่สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล และอาศัยหมอตำาแยหมอพื้นบ้านหรือญาติ
ผู้ใหญ่ มีการตัดสายสะดือ ด้วยผิวไผ่ที่คมกริบ และต้มในนำ้าเดือดแล้ว และนำารกรวมทั้งสายสะดือลงฝังในดิน
ตามเสาหลักของบ้านในชนเผ่าอาข่า และโคนบันไดหน้าทางขึ้นบ้านในชนเผ่าลาหู่ตามคติโบราณของชน
เผ่า ในช่วงที่อยู่ไฟสามีจะช่วยทำางานบ้านทุกอย่างที่ภรรยาเคยทำาเป็นเวลา ตัง้ แต่12 วัน ถึง 1 เดือน มีการ
บำารุงครรภ์หลังการคลอดด้วยสมุนไพรช่วยขับนำ้าคาวปลาและสมุนไพรที่ทำาให้มีนำ้านมมาก ไม่รับประทาน
ของแสลง อาหารที่ไม่สะอาดและอาหารที่มีรสขม อาหารที่มีนำ้ามันหรือนำ้าเย็น มีการอยู่ไฟโดยอาศัยก้อน
กรวดเผาไฟให้ร้อนห่อผ้าหรือใช้ใบหนาดผิงไฟให้ร้อนแล้วให้แม่นั่งทับวันละ 2 เวลาเพื่อให้เกิดความอบอุ่น ผ่อน
คลายและทำาให้มดลูกเข้าอู่เป็นปกติ จนกว่านำ้าคาวปลาและฝีแผลจะแห้ง ประมาณ 2 สัปดาห์ การให้ลูกดื่มนม
จากเต้ามีระยะเวลายาวนานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไปจนถึง 3 ปี ขึ้นอยู่กับการมีลูกคนถัดไป และหลังการอยู่ไฟ แม่จะ
นำาลูกติดตามไปทุกหนแห่ง โดยใช้ผ้าคล้องตัวลูกผูกติดกับตัวของแม่ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ส่วนการทำา
อาหารพิเศษในบางครั้งจะมีการทำา“ข้าวฟุก” กันในชุมชนโดยต่างคนต่างนัดหมายกันนำาเอาอุปกรณ์และข้าวมา
ตำาในที่แห่งหนึ่ง เริ่มจากการเอาข้าวเหนียวร้อน ๆ มาใส่ในครกมองใหญ่ และให้แม่บ้าน 4-5 คนช่วยผลัดกันตำา
ข้าวเหนียวจนเป็นเนื้อเดียวกันแล้วใส่งาขาวผสมลงไปตำาจนได้ที่แล้วจึงนำามาปั้นเป็นก้อนกลม เท่าลูกปิงปอง
จากนั้นเอางามาทาลงในใบกล้วยสด วางข้าวลูกกลม ๆ ลงไปแล้วพับใบกล้วย รีดให้เป็นแผ่นกลม ๆ แบ่งกันรับ
ประทานในขณะยังร้อน ๆ ด้วยความตื่นเต้นทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ความเอื้ออาทร เผื่อแผ่และการแบ่งปันกันใน
ชุมชน ยังมีให้เห็นเป็นรูปธรรมจากการแบ่งกับข้าวที่ทำาเสร็จแล้วจากบ้านหนึ่งสู่บ้านหนึ่ง และเมื่อขาดเหลือก็
หยิบยื่นกันได้ ดังคำาที่ว่า “ได้พริกจากบ้านเหนือ ได้เกลือจากบ้านใต้” มีอาหารเสริมประเภทข้าว กล้วย ไข่ต้ม
ผักต่าง ๆ และอาหารย่อยง่าย เมื่อเด็กอายุตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไป
นอกจากนั้น แม้เมื่อเริ่มช่วยครอบครัวทำางานบ้านและทำาสวนทำาไร่ แม่ก็จะนำาลูกน้อยไปแขวนไว้
กับที่ใกล้ ๆกับที่ทำางานตัวเองทำางาน ในยามลูกหลับนอนก็จะเห่กล่อมด้วยเพลงของชนเผ่าที่แฝงด้วยคติธรรม
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 5
หรือให้หลับไปกับอกของแม่ด้วยความผ่อนคลาย และเป็นสุข ซึ่งพฤติกรรมการดูแลตนเองและลูกน้อยนี้
บ่ง
บอกถึงสัญชาติญาณของความเป็นมนุษย์และเป็นแม่สูงยิ่ง และหาได้ยากในในสังคมเมือง ในปัจจุบัน
ทำาให้ลูกมีความอบอุ่นไม่ว้าเหว่ขาดความรักด้วยการใส่ใจทำาหน้าที่ของแม่อย่างสมภาคภูมิ ตามภูมิปัญญา
ของชนเผ่า
ในส่วนของการแซกแทรงของวัฒนธรรมโลกาภิวัตน์จากภายนอกพบว่า ในช่วง 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา
มีการฝากครรภ์และการคลอดบุตรมากขึ้นเป็นลำาดับ เนื่องจากมีแม่บางคนในปัจจุบันเริ่มเข้ามาอยูใ่ นความ
ดูแลของโรงพยาบาล ประจำาอำาเภอหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขตำาบลที่ประจำาอยู่ที่สถานีอนามัยมากขึ้น ซึ่งเป็น
ผลมาจากความเชื่อว่ามีความทันสมัย เข้าใกล้อารยธรรมเมืองและอารยธรรมตะวันตกมากขึ้น ผู้คนเห็นได้ว่ามี
ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมดี (A touch of class) ซึ่งในบางครั้งทางโรงพยาบาลหรือสถานบริการก็ได้ให้คำา
แนะนำาให้เปลี่ยนแบบแผนการให้นมและการเลี้ยงดูที่ต่างไปจากวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่มีอยู่แต่เดิม และที่
สำาคัญก็คือบางสถานบริการ ได้เสนอให้เปลี่ยนการให้นมจากเต้ามาเป็นนมผงแทนโดยอ้างถึงความสะดวกของ
ผู้เป็นแม่ และประโยชน์ที่คิดว่าเหนือกว่าของนมผง ก่อให้เกิดความแปลกแยกและสับสนในเรื่องการเลี้ยงดูลูก
ในชุมชนชนเผ่าในเวลาต่อมา
2) ผลของกำรเรียนรู้จำกกำรปฏิบัติงำนร่วมกันในช่วงระยะเวลำ 2 ปี
จากการศึกษาถึงแนวความคิดและการปฏิบัติการในช่วงเวลา 2 ปี โดยการสัมภาษณ์และ
สนทนากลุ่มย่อยกัยผู้ประสานงาน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโครงการฯ มีข้อสรุปคือ ในช่วงแรก
ของโครงการฯ มีการเริ่มงานอย่างช้า ๆค่อยเป็นค่อยไปและระมัดระวัง ผู้ประสานงานโครงการได้เปิด
โอกาสให้สมาชิกในภาคีมีการขอการสนับสนุนด้านงบประมาณดำาเนินการ ในพื้นที่ โดยให้ขึ้นอยู่กับ
ดุลยพินิจและความพร้อมของทีมงานเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ จนกระทั่งในที่สุดแต่ละพื้นที่ ก็ได้
จัดกิจกรรมบริการสุขภาพโดยเน้นการให้ความรู้ด้านโภชนาการแก่แม่ การสร้างความเข้าใจวิธีการ
เลี้ยงลูกที่ถูกต้อง การค้นหามารดาอาสาเพื่อช่วยดูแลเด็ก การเฝ้าระวังภาวะทุโภชนาการของเด็กเป็น
ระยะ และสมำ่าเสมอ ทุกๆ 3 เดือน ซึ่งมีบริการชั่งนำ้าหนักและวัดส่วนสูงของเด็ก ตามภาระงานปกติ
ของ การเฝ้าระวังทางโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ของสถานีอนามัยทุกแห่งในอำาเภอแม่ฟ้าหลวง ที่ดำาเนิน
งานโดยอาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชน มีการพิจารณาให้ความช่วยเหลือเด็กในกรณีที่มีภาวะ
โภชนาการตำ่ากว่าเกณฑ์ โดยการสาธิตการทำาอาหาร การแจกนมผง และในระหว่างการปฏิบัติการ
ได้พบปัญหาการสื่อสารกันระหว่างแม่กับผู้ดำาเนินงานโครงการฯ และวิธีการดำาเนินโครงการ ว่าถึงแม้
จะมีการวางแผนการทำางานแบบพหุภาคี แต่ในทางปฏิบัติจริงยังคงแยกกันทำาอยู่ และมีมุมมอง
ในการทำางานที่แตกต่างกัน จากการมองภาพรวมของการทำางานในโครงการฯ พบว่า การให้บริการ
สาธารณสุขโดยการให้สุขศึกษาด้านโภชนาการและงานเฝ้าระวังด้านโภชนาการ โดยมีเจ้าหน้าที่
สาธารณสุขเป็นหลักในการดำาเนินงานที่อาศัยตามภาระงานปกติของกระทรวงสาธารณสุขเท่านั้น ไม่
ได้บูรณาการกันระหว่างภาครัฐและเอกชนทีใ่ ห้การสนับสนุนเข้าไปในเนื้องาน
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 6
3) สรุปผลจากการการประชุมเชิงปฎิบัติการ สุนทรียสนทนาระหว่างพหุภาคีในโครงการฯ องค์
ประกอบของผู้เข้าร่วมประชุมรวมทั้งสิ้น 60 คน ประกอบด้วย
• ทีมงานเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในเขตอำาเภอแม่ฟ้าหลวง 6 คน
• ผู้แทนคณะกรรมการเขตบริการ 15 คน / ผู้แทนคณะกรรมการบริหารโครงการ 8 คน
• ผู้แทนแกนนำาเด็ก 5 คน
• อาจารย์ ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก 5 คน
• เจ้าหน้าที่ CCF พื้นที่เชียงราย 9 คน / เจ้าหน้าที่ CCF พื้นที่ ภาคใต้ 7 คน
• ทีมงานวิทยากรกระบวนการ 5 คน
ผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรประชุมฯ
เกิดผลลัพธ์ในระดับละมุนละไม(Soft Outcome) เกิดความเข้าใจ การทำางานพัฒนาสุขภาพแม่
และเด็ก
ร่วมกันมากขึ้น จากการประชุมเชิงปฏิบัติการสุนทรียสนทนา ที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้มีโอกาสมาพบปะ และ
ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ผ่านกิจกรรมการสร้างสัมพันธภาพและสร้างความคุ้นเคย และ
กระบวนการศึกษาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพย์ชุมชนเป็นฐาน (Asset Based Community Development) ที่เน้น
การค้นพบสิ่งดีๆแล้วชื่นชม (DISCOVERY: Inquire ) ทำาให้ผู้เข้าร่วมประชุมฯได้สนทนากันอย่างมีส่วนร่วมใน
ประเด็นคำาถามที่เสริมสร้างพลัง(Empowering Questions)ดังต่อไปนี้
อะไรคือประสบกำรณ์ที่ดีที่สุดในกำรทำำงำนในโครงกำรนี้?
คุณค่ำที่ได้ทำำงำนร่วมกันอยู่ตรงไหน?
มีควำมหวังอยำกจะทำำอะไรอีกในโอกำสข้ำงหน้ำ?
เข้าใจและสามารถร่วมกันเสนอสิ่งดีๆมากมายในชุมชน ที่เป็นทุนทางสังคมของชุมชนได้ ทั้งทุนทาง
สังคมที่เป็นทุนทางวัฒนธรรมดั้งเดิมของชนเผ่าอาข่าและลาหู่
ที่ประชุมได้รว่ มกันค้นพบสินทรัพย์ชุมชน ในหมู่บ้านของตนเอกจากการในแบบสัมภาษณ์กันและกัน
และร่วมกันนำาเสนอ ขุมพลังที่จะนำาไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีและชุมชนเข้มแข็ง ทัง้ ในด้านทุนทรัพยากรมนุษย์ ทุน
ทางสังคม ทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสิ่งแวดล้อมและทุนธรรมชาติ และมีความเห็นร่วมกันว่ามีความจำาเป็นต้อง
จัดทำาทำาเนียบสินทรัพย์และขุมพลังเหล่านี้เพื่อวางแผนมามาใช้ในการพัฒนาชุมชนที่มีเด็ก ครอบครัวและ
ชุมชนเป็นศูนย์กลางในโอกาสต่อไป
ที่ประชุมได้เรียนรู้ร่วมกันในเรื่องการวางแผนพัฒนาชุมชน ได้ประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม ผ่าน
กระบวนการร่วมทอฝันอย่างสมศักดิ์ศรีและกระบวนการร่วมออกแบบทำางานอย่างสุนทรีย์(DREAM AND
DESIGN) ผู้เข้าร่วมประชุมฯสามารถร่วมกันเขียนสิ่งที่เป็นความภาคภูมิใจ สิ่งที่สร้างประโยชน์ให้แก่คน
ชุมชนของตนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันได้ ได้ร่วมกันฝันสิ่งที่อยากเห็น อยากให้เป็น อีก 10 ปีข้างหน้า
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 7
มติที่ประชุมฯต้องการเห็นชุมชนของตนอยู่อย่างเป็นสุข มีความสุข สงบ ไม่มีปญ
ั หาสังคม มากกว่าอยากเห็น
ความเจริญทางด้านวัตถุ
การฝึกอบรมฯ ในครั้งนี้ ได้รับความสนใจในระดับปานกลาง ประเมินได้จากการซักถาม การร่วมแลก
เปลี่ยนเรียนรู้ การให้ข้อเสนอแนะในทุกๆกระบวนการของการจัดการเรียนรู้ แต่ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี
ยิ่งจากแม่และเด็ก และประชาชนในชุมชน ในการศึกษาชุมชนและจัดเวทีสุนทรียสนทนาในพื้นที่ เจ้าหน้าที่
โครงการฯและผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจในกระบวนการสุนทรียสนทนา พร้อมที่จะนำาไปปรับใช้ในการปฏิบัติ
งานในพื้นที่ที่ตนรับผิดชอบได้
4) ข้อเสนอแนะเพื่อจัดระเบียบและปรับแนวทำงทำำงำนร่วมกัน รวมทั้งกำร
วำงแผนปฏิบัติงำนร่วมกันเพื่อสำนต่อภำรกิจให้บรรลุตำมข้อตกลงในช่วงเวลำที่เหลือ
 ควรจัดประชุมเพื่อวางแผนการดำาเนินงานโครงการแม่เรียนรู้สู่โภชนาการที่ดีของลูกร่วมกัน ของผู้
เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ในทุกระดับ เพื่อจัดทำาแผนปฏิบัติการโครงการฯ ในระยะเวลาที่เหลือ
กำาหนดตัวชี้วัดทุกกิจกรรม กำาหนดผู้รับผิดชอบในทุกภาคส่วนในแต่ละกิจกรรม
 ควรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในทุกระดับ อย่างต่อเนื่องและมีการติดตามประเมิน
ผลอย่างจริงจัง ตามตัวชี้วัดที่ได้กำาหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม ในโครงการฯ โดยกำาหนดแผนการ
ติดตามความก้าวหน้าทุกระยะ 3 เดือน 6 เดือน มีผู้ประเมินทั้งจากภายในและภายนอก
 ควรกำาหนดภาระงานที่ชัดเจนของเจ้าหน้าที่ CCF ใน 3 บทบาทได้แก่บทบาทที่ทำางานเพื่อชุมชน
บทบาททำางานร่วมกับชุมชน และบทบาทสนับสนุนให้ชุมชนสามารถดำาเนินการเองได้
 ควรมีการจัดโครงสร้างการบริหารงาน รวมทั้งโครงสร้างการติดตามและประเมินผล ในระดับท้อง
ถิ่น ของคณะกรรมการเขตบริการของ CCF ตามหลักการกระจายอำานาจและธรรมมาภิบาล
 ควรที่จะนำากระบวนการที่ได้รับจากการอบรมในครั้งนี้ ไปใช้จริงในพื้นที่ ผูร้ ับผิดชอบในการนิเทศ
ติดตามการดำาเนินงานในทุกระดับ
 ควรให้ความสำาคัญในการจัดทำาแผนที่เดินดินในระดับชุมชนในโครงการฯนี้ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือใน
การติดตาม กำากับงานในระดับพื้นที่ และเน้นการสำารวจสินทรัพย์ในชุมชนเพื่อนำาเป็นปัจจัยนำา
เข้าในกระบวนการสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งให้กับแม่เพื่อเรียนรู้สู่โภชนาการที่ดีของลูก และ
ผู้เกี่ยวข้องในและนอกชุมชน อย่างยั่งยืน
 ควรให้ความสำาคัญกับชุมชนโดยมอบหมายให้ชุมชนเป็นเจ้าภาพในการดำาเนินงานโครงการฯ
และมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ ซี. ซี. เอฟ .มีบทบาทสำาคัญในการเสริมสร้างความ
สามารถให้ชุมชนดำาเนินงานในโครงการได้ รวมทั้งคอยเป็นพี่เลี้ยง(Mentor) ให้การสนับสนุนชุมชน
ดำาเนินการสร้างเสริมสุขภาพ โดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงบนฐานวัฒนธรรมชุมชนชนเผ่า ทีเ่ น้น
ความยั่งยืนในการดำาเนินงาน
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 8

การศึกษาชุมชน
และสุนทรียสนทนา
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 9

กำาหนดการศึกษาชุมชน และสุนทรียสนทนา
เรื่อง “กำรประเมินผลอย่ำงมีส่วนร่วมของพหุภำคีโครงกำรแม่เรียนรู้สู่โภชนำกำรที่ดีของลูก”
ภำยใต้ข้อตกลงควำมร่วมมือระหว่ำงสำำนักงำนสำธำรณสุขอำำเภอแม่ฟ้ำหลวง จังหวัดเชียงรำย
กับโครงกำรสงเครำะห์เด็กยำกจน ซี.ซี.เอฟ จ.เชียงรำย
-----------------------------------------------------------------------------
วันเสำร์ที่ 2 กุมภำพันธ์ 2551
09.00 – 12.00 น. ปฐมนิเทศ แนวทางการศึกษาชุมชน ประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม
ทีมงานสาธารณสุขอำาเภอ และ สอ.ในพื้นที่ของโครงการฯ
13.00 – 16.00 น. ศึกษาเยี่ยมชน และจัดเวที สุนทรียสนทนาใน พื้นที่ปฏิบัติงานของโครงการ

วันอำทิตย์ที่ 3 กุมภำพันธ์ 2551


09.00 - 12.00 น. ปฐมนิเทศ แนวทางการศึกษาชุมชน ประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม
ทีมงานคณะกรรมการในพื้นที่บริการของโครงการฯ
13.00 - 16.00 น. ศึกษาเยี่ยมชนพื้นที่ปฏิบัติงานของโครงการ

วันจันทร์ที่ 4 กุมภำพันธ์ 2551


09.00 - 12.00 น. รวบรวมและวิเคราะห์ผลการศึกษาชุมชน
13.00 - 15.00 น. วางแผนระหว่างทีมงาน เตรียมงาน สุนทรียสนทนา การถอดบทเรียน
และการประเมินผลอย่างมีสว่ นร่วม
15.00 - 17.00 น. วางแผน เตรียมงาน สุนทรียสนทนา การออกแบบ จัดระเบียบปรับความคิดใน
การทำางานร่วมกัน

วันอังคำรที่ 5 กุมภำพันธ์ 2551 สุนทรียสนทนำ ประชุมเชิงปฏิบัติกำร


การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 10
09.00 - 10.15 น. เปิดประชุม
ชี้แจงวิธีการประชุม
ร่วมกำาหนดกฎ กติกา มรรยาท ความคาดหวัง
กระบวนการกลุ่ม ละลายพฤติกรรม
10.15 - 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.30 - 12.00 น. ร่วมค้นพบสิ่งดีแล้วชื่นชม(Discovery: Inquire)
สัมภาษณ์กันเป็นคู่
 อะไรคือประสบการณ์ที่ดีที่สุดในการทำางานโครงการนี้ ?
 ค้นหาคุณค่าที่ได้ทำา อยู่ตรงไหน ?
 หวังอยากจะทำาอะไรอีกในโอกาสข้างหน้า ?
แลกเปลี่ยนกันภายในกลุ่มย่อย /นำาเสนอกลุ่มใหญ่
ผลัดเปลี่ยนกันชื่นชมเมื่อการนำาเสนอจบลงนำาผลที่ได้จากการนำาเสนอไปติดไว้ที่ฝาผนัง
ให้เป็นระเบียบ

12.00 - 13.00 น. อาหารกลางวัน


13.00 - 14.45 น. ร่วมถักทอฝันอย่างสมศักดิ์ศรี(Dream: Imagine)
• กลุ่มย่อยระดมความคิด
• ร่วมระบุภาพอนาคตที่หวังให้เกิด ใน 3-5 , 10 ปี
• วาดรูป เขียนบัตรคำา ในเรื่อง แม่เรียนรู้สู่โภชนาการลูก
• สรุปสั้น ๆ เป็นธรรมนูญ ปฎิญญา คำาขวัญ ชัดเจน
• นำาเสนอกลุ่มใหญ่
14.45 - 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 - 16.30 น. ร่วมออกแบบทำางานอย่างสุนทรีย์ (Design: Innovate)
• ทำาพิมพ์เขียว สำาหรับการทำางานในโครงการให้ดียิ่งขึ้น
• คุณค่า ภาวะผู้นำา สัมพันธภาพ วัฒนธรรมการทำางาน การสื่อสาร
• โครงสร้าง กระบวนการ ผลลัพธ์
16.30 - 18.00 น. พักผ่อน
18.00 - 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น
19.00 - 21.00 น. สันทนาการและวาระหรรษาของชุมชน

วันพุธที่ 6 กุมภำพันธ์ 2551 สุนทรียสนทนำ ประชุมเชิงปฏิบัติกำร


07.00 - 08.00 น. อาหารเช้า
08.30 - 09.00 น. ทบทวน กิจกรรม ที่ได้เรียนรู้ ในวันแรก
09.00 - 10.15 น. เลือกข้อเสนอที่จะทำาร่วมกัน
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 11
เลือกวิธีการสื่อสารที่ง่าย สะดวกและเหมาะสมสำาหรับคนทำางาน
เลือกวิธีการพบปะ ติดตาม ความก้าวหน้า
เลือกกรรมการกำากับที่จะทำาให้งานเดินหน้า
เลือกผู้ประสานสัมพันธ์กับกลุ่มอื่น
10.15 - 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.30 - 12.00 น. ถอดบทเรียนการทำางานร่วมกัน
12.00 - 13.00 น. อาหารกลางวัน
13.00 - 14.45 น. การประเมินทีมงานอย่างมีส่วนร่วม
14.45 - 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 - 16.30 น. ปัจฉิมนิเทศ “ทุกสิ่งดีอยู่ที่ใจ”
พิธีปิด ของ CCF

สาระสำาคัญ
ของแต่ละบทเรียน/กิจกรรม
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 12

สาระสำาคัญของแต่ละบทเรียน/กิจกรรม
กิจกรรมประกอบการฝึกอบรมฯ ในทุกบทเรียน / กิจกรรม จะมีกิจกรรมประกอบเพื่อนำาไปสู่การ
เรียนรู้ในลักษณะของ “หรรษาวิชาการ” (Edutainment) เช่น
1). สาธิตลีลาประกอบเพลง “มาจากไหน? ไม่สำาคัญ”
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนรู้ ปรับใจ ถอดยศ ตำาแหน่ง เข้าสู่การเรียนรู้อย่างเป็นกันเอง
ไม่ถือตัวและกลมกลืนไปกับกลุ่มตามเนื้อหาและชื่อของเพลง
2) กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ “แนะนำาตัวเอง และเพื่อนแบบบูรณาการ”
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผเู้ รียนรู้ แนะนำาตัวเอง และแนะนำาชื่อเพื่อน เพิ่มขึ้น อีก 1
คน สะสมไปจนครบคน คนสุดท้ายจะขานชื่อเพื่อนครบทุกคน
3). กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ “แนะนำา และ สะท้อนความรู้สึกตัวเอง ”
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนรู้ แนะนำาตัวเอง สร้างความคุ้นเคยกันอย่างรวดเร็วและ
ด้วยความเต็มใจ
4) กิจกรรมสร้ำงควำมคุ้นเคย
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนรู้ แนะนำาตัวเอง สร้างความคุ้นเคยกันอย่างรวดเร็วและ
ด้วยความเต็มใจ
กิจกรรมประกอบเพลง “ดอกลั่นทม”
“โอ้แม่ดอกลั่นทม ฉันเคยเด็ดดม และเคยเด็ดเล่น เด็ดเช้า เด็ดเย็น ฉันเคยเด็ดเล่น เด็ด ดม เด็ด
ดม”
โดยให้ผู้ที่เข้ารับการอบรม ทำาท่าทางประกอบด้วย
กิจกรรม “ล้อมวง” (กิจกรรมเข้าจังหวะ)
 ให้ทุกกลุ่มสำารวจสมาชิกของตนเอง ทำาความรู้จักสมาชิกในกลุ่ม
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 13
 ตั้งชื่อกลุ่ม แล้วเปล่งเสียงพร้อมกัน และมีท่าทางประกอบ
กิจกรรม “หาเพื่อน” ให้ทุกกลุ่มทำากิจกรรมโดยหาเพื่อนให้ได้มากที่สุด
 ชื่อเล่น/ชื่อจริง
 ชอบอะไร/ไม่ชอบอะไร
 ความสามารถเฉพาะตัว
 คติประจำาใจ
5). สาธิตลีลา “ตบบะผาบ ”
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนรู้ ผ่อนคลายจากการเรียนรู้ในชั่วโมงที่ผ่านมาและ
เรียนรู้วัฒนธรรมการฟ้อนเจิงของชาวล้านนา ผสมผสานไปกับลีลาและ
วัฒนธรรมของชนเผ่าอาข่า มูเซอดำา กระเหรี่ยงไปด้วย

กิจกรรมกำรศึกษำชุมชนด้วยกระบวนกำรสุนทรียสนทนำ
รูปแบบ ทัง้ หมดของสุนทรียสนทนา คือ วงจร แห่งปฏิบัติการทั้ง 4 ขั้นตอน
ร่วมกันทำำ 4 สิ่งที่ดีงำม กระบวนกำร
• ค้นให้พบสิ่งดี แล้วชื่นชม *คำาถาม
• ถักทอฝันอย่างสมศักดิ์ศรี *จินตนาการ
• ร่วมกันออกแบบอย่างสุนทรีย์ *สร้างนวัตกรรม
• ร่วมสร้างสรรค์สิ่งดีเพื่อชุมชน *ทำาด้วยกันอย่างมีชีวิตชีวา
สังคม ครอบครัว ตัวเอง
4- D model 4-1 model
• Discover *inquire
• Dream *imagine
• Design *innovate
• Destiny *implement

รายละเอียดของกิจกรรม
“สุนทรียสนทนา” คือ การค้นหาสิ่งที่ดีที่สุดในตัวคนองค์กร หรือชุมชน และ การค้นพบอย่างเป็นระบบ
ในสิ่งที่เกี่ยวข้องกันชีวิตในระบบชีวิต ในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ ทั้งที่ทำาให้การทำางานที่มีประสิทธิผล การทำาให้
สภาวะแวดล้อมเอื้ออำานวยต่อชีวิตและสุขภาพที่ดี โดยเริ่มจากคำาถามที่ทรงพลังถามหาศักยภาพเชิงบวก ในสิ่งที่
มีอยู่ในตัวตนของผู้คนเป็นร้อยเป็นพันทั้งหลาย
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 14
1) ร่วมค้นพบสิ่งดีแล้วชื่นชม (Discovery) เริ่มต้นด้วยการสนทนากันโดยผลัดกันสัมภาษณ์
ประสบการณ์ชีวิตที่ดี ในช่วงแรกเป็นการตั้งคำาถามที่จุดประกายให้ผู้ตอบรื้อฟื้นความทรงจำาถึงประสบการณ์
ชีวิต การทำางานที่เคยผ่านมาในอดีต ในส่วนที่เคยทำาได้ดี มีประสิทธิผล มีความภาคภูมิใจ
ด้วยคำาถามที่ก่อให้เกิดการเสริมสร้างพลังนัน้ เอง จะทำาให้ผู้ตอบมีโอกาสได้แสดงทัศนะต่อชีวิต การ
งานของตนเองที่เลือกสรรแล้วว่าดีที่สุด ให้คู่สนทนาฟัง ด้วยความภาคภูมิใจ เป็นการระเบิดจากภายในตัวของผู้
ตอบเอง ซึ่งผลดีที่ตามมาก็คือ การก่อเกิดความบันดาลใจอย่างไม่รู้ตัว ที่จะริเริ่มสร้างสรรค์จากสิ่งที่ดีที่สุดเพื่อ
พบกับประสบการณ์ใหม่ ดังนัน้ หากมีการสร้างบรรยากาศให้เกิดการชื่นชมผลงานของกันและกัน ที่ประชุมแห่ง
นัน้ ก็จะเต็มไปด้วยไมตรีจิตรมิตรภาพ และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันและกัน ก็จะทำาให้เกิดการเรียนรู้ซึ่ง
กันและกัน เป็นที่มาของการเกิดการค้นพบและและการจุดประกายให้มีกำาลังใจ และเติมไฟชีวิตซึ่งกันและกัน
การค้นพบคุณค่าของชีวิต ประเพณีวัฒนธรรม จากเรื่องราวที่บอกเล่า ทำาให้เกิดความมั่นใจ ที่จะสร้างอนาคต
ร่วมกันเพื่อนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงในทางที่ดียิ่งขึ้นไปอีก และผลที่ได้รับจาการตอบคำาถามที่สร้างพลังใจก็คือ
การค้นพบสิ่งที่ดีงาม การทำางานที่ได้ผล ความสามารถและพรสวรรค์ของผู้คนทั้งในอดีตและ
ปัจจุบัน รวมทั้งขุมพลังและทรัพยากร ที่มีอยู่ภายในตัวของผู้คนและองค์กรตลอดจนถึงชุมชน ซึ่งถือได้ว่าเป็น
สินทรัพย์แห่งชุมชน (community assets) โดยแท้
2) ร่วมทอฝันอย่างสมศักดิ์ศรี (Dream) คือการกำาหนดวิสัยทรรศน์ร่วมกันระหว่างผู้ทำางาน เพื่อใช้
เป็นการใช้จินตนาการและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่จะทำาให้เกิดสิ่งใหม่ ระบบใหม่ กระบวนการ
ใหม่ หรือกลไกใหม่ คำาถามที่ทรงพลังในวาระนี้ก็คือ จากนี้ไปสู่อนาคต เราอยากจะเห็นสิ่งดีงามอะไรบ้างเกิดกับ
ตัวเรา ทีมงานของเรา ครอบครัวของเรา องค์กรของเรา ชุมชนของเรา และสังคมของเรา แทนที่จะกระโจนเข้าสู่
กับดักของปัญหาและตามมาด้วยการวิเคราะห์ถึงสาเหตุแห่งปัญหา ทำาให้พบกับความอ่อนแอ พ่ายแพ้ ความรู้สึก
ผิด ของผู้คนที่เกี่ยวข้อง และเป็นชนวนให้เกิดความขัดแย้ง หรือการโยนกลองในที่สุด เราสามารถกระโจนข้าม
กับดักเหล่านั้น อานิสงค์ของการค้นพบสิ่งดี ทำาให้เราสามารถกำาหนดอนาคตที่ดีไว้ในเบื้องหน้า ตามอุดมคติ
ของตน
3) ร่วมออกแบบทำางานอย่างสุนทรีย์ (Design) เป็นการวางแผนการทำางานร่วมกันตั้งแต่ต้น ของผู้ที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องในชุมชน อย่างมีชีวิตชีวา เพื่อตัวเอง เพื่อหมู่คณะ เพื่อชุมชนและสังคมของทุกๆ คน ซึ่งการ
ออกแบบดังกล่าวอยู่บนพื้นฐานของแนวคิดในการเสียสละเพื่อชุมชนของตนเอง โดยมีสินทรัพย์ที่ค้นพบ เป็น
ทุนทางสังคมที่จะนำาออกมาใช้ในการออกแบบการทำางาน และสื่อสารระหว่างกันเพื่อการเปลี่ยนสังคมไปสู่สิ่งที่
ดีงามและยั่งยืน
4) ร่วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีเพื่อสังคม (Destiny) เป็นการตัดสินใจร่วมกันว่าจะนำาพา
ชุมชนของตนไปสู่ทิศทางใดโดยอาศัยการวิธีการศึกษาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และมีเครื่องมือในการศึกษาวิถี
ชีวิตองค์กรของตนเองและชุมชนในทางบวก ทำาให้เห็นถึงความสามารถของคนในชุมชนที่จะเกิดพลัง
สร้างสรรค์ที่จะนำาชุมชนไปสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างมีคุณค่า ทุกคนสามารถอำานวยความสะดวกให้ชุมชน
สามารถวางแผนงานและดำาเนินโครงการของตนเองได้อย่างสมศักดิ์ศรี
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 15
ระยะเวลา จำานวน 5 วัน วันที่ 2-6 กุมภาพันธ์ 2551 สถานที่ ห้องประชุม อบต.แม่สะลองนอก
จังหวัดเชียงราย
ความคาดหวังความสำาเร็จ
 เจ้าหน้าที่โครงการฯ ซี.ซี.เอฟ. ในจังหวัดเชียงราย
• สามารถอธิบายแนวคิดพหุนิยมประชาธิปไตย เพื่อการทำางานแบบภาคี สร้างองค์กรของ
ตนเอง และชุมชนเข้มแข็ง
• สามารถอธิบายบทบาทผู้นำาการเปลี่ยนแปลงสังคมได้
• สามารถอธิบายแนวคิดและกระบวนการ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาองค์กร
ของตนเองและชุมชน
• สามารถใช้เทคโนโลยี ของการมีส่วนร่วม(Technology of Participation) เพื่อการจัดเวที
ชุมชนเสวนา (Community Dialogue) และประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshop) ได้
• สามารถใช้แผนที่เดินดินมาเป็นเครื่องมือในการดำาเนินงานโครงการฯ ติดตามและประเมิน
ผลโครงการฯได้
• สามารถออกแบบการจัดระเบียบและปรับโครงสร้างและปรับแนวทางทำางานร่วม
กันอย่างมีประสิทธิผลได้
• สามารถวางแผนปฏิบัติงานร่วมกันเพื่อสานต่อภารกิจให้บรรลุตามข้อตกลง
ร่วมกันร่วมกันในช่วงเวลาที่เหลือได้

 ผู้เข้าร่วมประชุมในบทบาทของ กกบ. กกข. กย. ฯลฯ ในจังหวัดเชียงราย ที่เข้ารับการอบรม


• มีแนวคิดในการพัฒนาชุมชน แตกต่างจากการพัฒนาในแนวดั้งเดิม ซึ่งแทนที่จะอาศัยการพึ่งพิง
จากภายนอก จะปรับเปลี่ยนเป็นการพัฒนาโดยอาศัยสินทรัพย์ของชุมชนเป็นฐานและเน้นการ
สื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคม
• มีแนวคิดและกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
• สามารถศึกษาชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและใช้เครื่องมือศึกษาวิถีชีวิตชุมชนในเชิงบวกได้
• มีความสามารถในการทำางานในชุมชนร่วมกันเป็นทีม
• มีทักษะของการเป็นบริกร(นวัตกรสังคม) กระบวนการขั้นต้นสามารถ อำานวยความสะดวก และ
ประสานงาน ให้ชุมชน วางแผนและดำาเนินโครงการพัฒนาชุมชนของตนเองได้อย่างสมศักดิ์ศรี
และยั่งยืน
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 16

สรุปบทเรียน
การจัดเวทีเสวนาในชุมชน
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 17

ประเด็นการจัดเวทีเสวนาในชุมชน
1. สุนทรียสนทนา ตามหา “ทุนทางสังคมของชุมชน” หรือ “ของดีๆที่มีอยู่ในชุมชน”
(ตามแบบสำารวจทุนทางสังคมของชุมชน)

2. เดินสำารวจชุมชน เพื่อสำารวจแผนที่เดินดินอย่างคร่าวๆ

3. ความภาคภูมิใจ ความสำาเร็จ ได้ร่วมกันทำามาในการดูแลมารดาและทารกตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีอะไร


บ้าง?
4. ความเชื่อ ภูมิปัญญาที่ถ่ายทอดมาตั้งแต่บรรพชนของชุมชนและถือปฏิบัติมาถึงปัจจุบัน มีอะไรบ้าง ในการ
ดูแลมารดาและทารกและเด็กๆในชุมชน
5. สิ่งที่ชุมชนอยากทำาร่วมกันต่อไป ในการดูแลมารดาและทารกและเด็กๆในชุมชน
ทั้งสิ่งทำามาแล้ว………และอยากทำาต่อไป มีอะไรบ้าง?
สิ่งที่ยังไม่เคยทำามาก่อน……แต่คิดว่าชุมชนของเราสามารถทำาได้ มีอะไรบ้าง?
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 18

สรุปบทเรียนเวทีสุนทรียสนทนำในพื้นที่กำรปฏิบัติงำน
ของโครงกำรแม่เรียนรู้สู่โภชนำกำรที่ดขี องลูก

เผ่ำอำข่ำ
• หมู่บ้านแสนใจใหม่ ต.แม่สลองใน
• หมูบ่ ้านแม่เต๋อ ต.แม่สลองนอก
• หมู่บ้านแม่แสลบ ต.แม่สลองใน
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 19

• กำรดูแลสุขภำพแม่
1. ขณะตั้งครรภ์และกำรฝำกครรภ์ของแม่
 กำรแต่งงำน ส่วนใหญ่อายุประมาณ 15 ปีขึ้นไป ไม่มีการตรวจสุขภาพเพื่อป้องกันโรคที่ติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์
 กำรฝำกครรภ์ ส่วนใหญ่นิยมฝากครรภ์ที่สถานีอนามัย เมื่ออายุครรภ์เฉลี่ย 2-3 เดือน ขึ้นไป ยังมี
บางรายไม่เห็นความสำาคัญของการไปฝากครรภ์ ไม่ไปฝากครรภ์เลย
 มีข้อห้ำม ขณะตั้งครรภ์ห้ามแม่รับประทานผัก ผลไม้ ที่มีแมลง หนู กัดกินแล้วและห้ามรับประทาน
อาหารที่มีรสขม เพราะมีความเชื่อว่าลูกออกมาจะไม่แข็งแรง

2. กำรปฏิบัติตัวของแม่ขณะคลอด/หลังคลอด
 กำรคลอด ส่วนใหญ่ไปคลอดที่สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล มีบางรายคลอดเองที่บ้าน
แต่มีแม่บางรายคลอดเองที่บ้านโดยมีผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้าน หรือ หมอตำาแย ช่วยในการ
คลอด โดยใช้ไม่ไผ่นำามาต้มในนำ้าเดือดและลนไฟเพื่อนำามาตัดสายสะดือ
 หลังคลอด ตามประเพณีจะมีการ "อยู่ไฟ" ซึ่งมีการปฏิบัติตนดังนี้
o อยู่ในบ้านเป็นเวลาอย่างน้อย 12 วัน ถึง 1 เดือน และให้เลี้ยงลูกอย่างเดียวไม่ต้องทำากิจกรรมอย่าง
อื่น

o การใช้ใบหนาด ภาษาอาข่าเรียกว่า "ฮูซางลามา" ผิงไฟให้ร้อนแล้วนำานั่งทับ วันละ 2 ครั้ง จนกว่า


นำ้าคาวปลา และแผลฝีแยบจะแห้ง ประมาณ 2 สัปดาห์
o รับประทานสมุนไพร ภาษาอาข่าเรียกว่า "ซีวอย" เมื่อต้มแล้วจะมีนำ้าสีแดงมีคุณสมบัติช่วยในการ
ขับนำ้าคาวปลา
o เมื่อต้องการให้มนี ำ้านมมากจะรับประทานสมุนไพร ที่มีชื่อว่า "อะพอนิโด" และใบขนุน
o ข้อห้ามของแม่ทคี่ ลอดแล้ว คือ ห้ามนอนกับสามี ห้ามอาบนำ้าเย็น ห้ามสระผม 1 เดือน ไม่รับ
ประทานอาหารที่ใส่ผงชูรส อาหารที่มีรสชาติขม และไม่รับประทานอาหารที่มีนำ้ามัน ห้ามกินต้น
หอม กินเหล้ากินเบียร์ และไม่ดื่มนำ้าเย็น
o เมื่อตัดสายสะดือเด็กแล้วจะมีการนำาไปฝังที่เสาเอกของบ้านแล้วนำานำ้าร้อนไปรดทุกวันจนกว่าสาย
สะดือจะเปื่อยยุ่ยไปเอง
o แม่บางรายที่ไม่สบายมีการใช้สมุนไพรมาต้มรับประทานโดยคำาแนะนำาของผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้าน
แต่ส่วนใหญ่ในปัจจุบันไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลหรือสถานีอนามัย
 กำรคุมกำำเนิด
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 20
o ปัจจุบันส่วนใหญ่แล้วเมื่อมีบุตร 3-4 คนต่อครอบครัวแล้วจะคุมกำาเนิดโดยใช้ยาฉีด
ยาฝัง และยาเม็ดคุมกำาเนิด ไม่นิยมทำาหมันเพราะมีความเชื่อว่าไม่มีแรงทำางานหนัก
ไม่ได้
o สมัยก่อนมีลูก 10-12 คนต่อครอบครัว ไม่มีการคุมกำาเนิด

• กำรดูแลเด็ก 0-5 ปี
 ส่วนใหญ่จะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จนถึง 2-3 ปี หรือจนกว่าจะมีลูกคนต่อไปจึงหยุดให้นม
 บางรายแม่ที่ไม่มีนำ้านมและแม่ที่ไม่สบายจะมีการให้นมผงเด็ก
 เมื่อเด็กมีอายุ 3 เดือนขึน้ ไป มีการให้อาหารเสริมประเภทข้าว กล้วย ข้าวต้มหมู ไข่ และผักกาด ผักต่าง
ๆ และอาหารอ่อนย่อยง่าย
 แต่ละหมู่บ้านจะมีเพลงกล่อมลูกโดยภาษาของตนเองซึ่งเพลงกล่อมลูกมีความหมายเพื่อให้ลูกนอน
หลับอิ่มสบาย ไม่ให้สิ่งต่าง ๆ มารบกวน
 เมื่อแม่ต้องออกไปทำางานในสวนในไร่ แม่จะพาลูกไปเลี้ยงด้วย โดยมัดติดไว้ที่หลัง

• ชุมชน/หมู่บ้ำน
 การตั้งชื่อเด็ก เมื่อคลอดแล้วจะมีประเพณีการตั้งชื่อเด็กไม่ให้ซำ้ากับบรรพบุรุษ ผู้เฒ่าผู้แก่ที่นับถือใน
หมู่บ้านเป็นคนตั้งชื่อให้ โดยเจ้าของบ้านจะต้องฆ่าไก่ 1 ตัวและต้มไข่ 1 ฟอง ให้กับผู้ที่ตั้งชื่อเด็ก
 คนแก่ในหมู่บ้านมีความสามารถในการทำาคลอดเกือบทุกคน
 ในงานขึ้นบ้านใหม่ของคนในหมู่บ้าน แม่ลูกอ่อนจะได้รับไข่ 1 ฟอง และเงิน 1 บาทจากคนที่รู้จักกัน
 ในวันขึ้นปีใหม่บ้านที่มีลูกอ่อน จะได้รับไข่ที่ทาสีแดงจากทุกบ้านในหมู่บ้านนั้น

• กรณีศึกษำ
 พบหญิงอายุ 49 ปี ตั้งครรภ์แล้วไม่รู้ว่าตนเองตั้งครรภ์ เนื่องจากคิดว่าตนเองอ้วน และมีอายุมาก มีลูก
หลายคน จึงคิดว่าตนเองไม่สามารถมีลูกได้แล้ว และไม่ได้คุมกำาเนิด แต่เด็กที่คลอดออกมามีสุขภาพ
แข็งแรงสมบูรณ์ดี
 พบแม่ที่ไม่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ เนื่องจากไม่มนี ำ้านมจึงเลี้ยงด้วยนมผงแทน
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 21

เผ่ำมูเซอดำำ
• หมู่บ้านห้วยอื้น ต.เทอดไทย
• หมู่บ้านผาจี ต.เทอดไทย

• กำรดูแลสุขภำพแม่
1. กำรฝำกครรภ์และกำรตั้งครรภ์
 การแต่งงานส่วนใหญ่อายุประมาณ 15 ปีขึ้นไป แต่งงานกันเลยโดยไม่มีการตรวจสุขภาพเพื่อ
ป้องกันโรคที่ติดต่อทางเพศสัมพันธ์

 การฝากครรภ์ นิยมฝากครรภ์ที่สถานีอนามัยเทอดไทยเมื่ออายุครรภ์เฉลี่ย 2-3 เดือน ขึ้นไปและไป


คลอดที่ รพ.แม่ฟ้าหลวง(ระยะทาง 2 กม.จากหมู่บ้าน) ส่วนหมู่บ้านผาจีส่วนใหญ่ไปฝากครรภ์ที่
สอ.พญาไพร
 ห้ามรับประทานผัก ผลไม้ ที่มีแมลง หนู กัดกินแล้ว และห้ามรับประทานอาหารที่มีรสขม เหล้า
เบียร์เพราะอาจทำาให้แท้งได้
2. การปฏิบัติตวั ของแม่ขณะคลอด/หลังคลอด
 เมื่อคลอดแล้วตามประเพณีจะมีการ "อยู่ไฟ"
o อยู่ในบ้านเป็นเวลาอย่างน้อย 12 วัน ถึง 1 เดือน และเมื่อครบ 12 วันจะออกจากบ้านได้
และเมื่อครบ 1 เดือนจะออกจากหมู่บ้านได้ และให้เลี้ยงลูกอย่างเดียวไม่ต้องทำากิจกรรม
อย่างอื่น
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 22
o การทำาให้ร่างการอบอุ่น โดยจิบนำ้าอุ่นผสมพริกไทยและ มีการก่อไฟอยู่ข้าง ๆ ที่แม่นอน
และการนำาขวดนำ้าหรือก้อนหินไปผิงไฟให้อุ่นพันด้วยผ้านำามาทาบที่ท้อง จนกว่านำ้า
คาวปลา และแผลฝีแยบจะแห้ง ประมาณ 2 สัปดาห์
o เมื่อต้องการให้มนี ำ้านมมากจะรับประทานสมุนไพร ใบขนุน
o ข้อห้ามของแม่หลังคลอดแล้ว คือ ห้ามนอนกับสามี ห้ามอาบนำ้าเย็น ห้ามสระผม 1 เดือน
ห้ามกินเนื้อหมู กินได้เฉพาะไก่กระดูกดำา ไข่ และ ผักต่าง ๆเพราะ มีความเชื่อว่าไก่
กระดูกขาว รับประทานแล้วจะเวียนศรีษะ ไม่รับประทานอาหารที่ใส่ผงชูรส อาหารที่มี
รสชาติขม และไม่รับประทานอาหารที่มีนำ้ามัน ห้ามรับประทานข้าวเหนียว ห้ามกินต้น
หอม ห้ามกินเหล้ากินเบียร์ และไม่ดื่มนำ้าเย็น
o แม่จะต้องใส่หมวกใส่ถุงเท้า ใส่เสื้อแขนยาวปิดร่างกายให้มิดชิดเพื่อรักษาความอบอุ่น
ของร่างกายตลอดเวลา
3. เมื่อตัดสายสะดือเด็กแล้วจะมีการนำาไปฝังทีใ่ ต้บันไดของบ้านเพื่อให้เด็กไม่ออกไปทำางานต่างถิ่น
4. แม่บางรายที่ไม่สบายมีการใช้สมุนไพรมาต้มรับประทานโดยคำาแนะนำาของผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้าน แต่
ส่วนใหญ่ในปัจจุบันไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลหรือสถานีอนามัย
5. การคุมกำาเนิด
5.1 ส่วนใหญ่แล้วมีบุตร 3-4 คนต่อครอบครัวแล้ว จะคุมกำาเนิดโดยวิธีการใช้ ยาฉีด ยาฝัง และยาเม็ด
คุมกำาเนิด
5.2 สมัยก่อนมีลูก 10-12 คนต่อครอบครัว ไม่มีการคุมกำาเนิด

• กำรดูแลเด็ก 0-5 ปี
 เด็กส่วนใหญ่มีนำ้าหนักแรกคลอด 3,000 กรัมขึ้นไป
 ส่วนใหญ่จะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จนถึง 2-3 ปี หรือจนกว่าจะมีลูกคนต่อไปจึงหยุดให้นม
 บางรายแม่ที่ไม่มีนำ้านมและแม่ที่ไม่สบายจะมีการให้นมผงเด็ก
 เมื่อเด็กมีอายุ 3 เดือนขึน้ ไป มีการให้อาหารเสริมประเภทข้าว กล้วย ข้าวต้มหมู ไข่ และผักกาด ผักต่าง
ๆ และอาหารอ่อนย่อยง่าย
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 23
 มูเซอดำา บ้านห้วยอื้น เมื่อเด็กจะรับประทานอาหารคำาแรก เด้กผู้ชายจะให้กินตัวผึ้งอ่อน เพราะเชื่อว่ามี
ความสามารถในการทำามาหากินและขยันอดทน เด็กผู้หญิงจะให้กินปลา เพราะมีความคล่องแคล่ว
ว่องไวเหมือนปลาในการดูแลบ้าน
 แต่ละหมู่บ้านจะมีเพลงกล่อมลูกโดยภาษาของตนเองซึ่งเพลงกล่อมลูกมีความหมายเพื่อให้ลูกนอน
หลับอิ่มสบาย ไม่ให้สิ่งต่าง ๆ มารบกวน
 เลี้ยงดูลูกขณะแม่ที่แม่กำาลังทำางานในสวนไร่ แม่จะพาลูกไปด้วยโดยมัดไว้ติดหลัง

• ชุมชน/หมู่บ้ำน
 การตั้งชื่อเด็ก เมื่อคลอดแล้วจะมีประเพณีการตั้งชื่อเด็กไม่ให้ซำ้ากับบรรพบุรุษ ผู้เฒ่าผู้แก่ที่นับถือใน
หมู่บ้านเป็นคนตั้งชื่อให้ โดยเจ้าของบ้านจะต้องฆ่าไก่ 1 ตัวและต้มไข่ 1 ฟอง ให้กับผู้ที่ตั้งชื่อเด็ก
 ในงานขึ้นบ้านใหม่ของคนในหมู่บ้าน แม่ลูกอ่อนจะได้รับไข่ 1 ฟอง และเงิน 1 บาท
 ในวันขึ้นปีใหม่บ้านที่มีมีลูกอ่อนจะได้รับไข่ที่ทาสีแดงจากแต่ละบ้านในหมู่บ้านนั้น

• กรณีศึกษำ
 พบแม่อายุ 30 ปี ไม่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้เนื่องจากไม่มีนำ้านมจึงเลี้ยงด้วยนมผงถึงอายุ 1.5 ปี
ตอนคลอดมีนำ้าหนัก 1.5 กิโลกรัม
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 24

การประเมินทุนทางสังคมของชุมชนโดยการใช้แบบสำารวจ
เพื่อค้นหา “ขุมพลังชุมชน” (Community Assets Survey)

การประเมินทุนทางสังคมของชุมชนโดยการใช้แบบสำารวจ
แบบสำารวจเพื่อค้นหา “ขุมพลัง” ชุมชน (Community Assets Survey)
ชุมชนของท่านมีขุมพลังใดบ้างที่จะนำาไปสู่การสร้างเสริมสุขภาพ คุณภาพชีวิต และชุมชนเข้มแข็ง ?
-------------------------------------------------
1. ในชุมชนของท่านมีองค์กร/กิจกรรมอะไรบ้าง ?
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 25
มีสื่อท้องถิ่น
□ จดหมายข่าวชุมชน □ โทรทัศน์ชุมชน □ หนังสือพิมพ์หมู่บ้าน
□ วิทยุชุมชน □ ที่อ่านหนังสือพิมพ์ □ ห้องสมุดชุมชน
มีกลุ่ม/ชมรม/เครือข่าย
□ ผูส้ ูงอายุ □ แม่บ้าน □ เยาวชน □ เกษตรกร □ พระสงฆ์
□ อสม. □ กลุ่ม/ชมรมอื่นๆ ชื่อ.................................................................................
มีกิจกรรม
□ ออกกำาลังกาย □ ฟังเทศน์/ฟังธรรม □ เดิน/วิ่ง
□ เล่นดนตรีพื้นเมือง □ เล่นพระเครื่อง
เล่นกีฬา........................................
□ สร้างบ้าน □ มังสวิรัติ □ ป้องกันเอสด์/เสี่ยงทางเพศ
□ การคุ้มครองผู้บริโภค □ พิทักษ์สิทธิชุมชน □ การอนุรักษ์วัฒนธรรม
□ การแพทย์พื้นบ้าน □ การแพทย์แผนไทย □ การดูแล บำารุงรักษาตนเอง
□ ขีจ่ ักรยาน □ อนุรักษ์สมุนไพร □ อนุรักษ์ภาษา/ตัวหนังสือพื้น
เมือง
□ เต้นแอโรบิก □ รำามวยจีน/ไทย/ไท้ฉี จี้กง □ อนุรักษ์แม่นำ้า/สิง่ แวดล้อม
□ ปลูกผักปลอดสารพิษ □ เกษตรอินทรีย์ □ ป้องกัน/ต่อต้านยาเสพติด
□ จัดการป่าชุมชน □ จัดการที่ดินสาธารณะ □ จัดการเหมืองฝาย
□ สหกรณ์ร้านค้า □ สหกรณ์ออมทรัพย์ □ กลุ่มจัดการฌาปนกิจ
□ สภาวัฒนธรรม □ สภาหมู่บ้าน
กลุ่มเกษตรกร..............................
□ ธนาคารควาย □ ธนาคารข้าว
ประชาคม....................................
□ พิพิธภัณฑ์..............................................................................
□ อื่นๆ
(ถ้ามี).......................................................................................
ชื่อชุมชน : .....................................................................................................................
ผู้ให้ข้อมูล : ....................................................................................................................
ผู้สมั ภาษณ์ : ....................................................................................................................

2. อาคารสถานที่/อุปกรณ์ สิ่งอำานวยความสะดวกที่มีในหมู่บ้านของท่านมีอะไรบ้าง ?
□ วัด □ โรงเรียน □ ข่วง / ลาน..................................................
□ โรงละคร □ ศูนย์วัฒนธรรม/ศิลปกรรม □ ศูนย์เศรษฐกิจชุมชน
□ ตลาดสด/ตลาดนัด □ โรงพยาบาล □ สวนสาธรรณะ
□ สนามกีฬาโรงเรียน □ อาคารเอนกประสงค์ □ ศาลาประชาสังคมในหมู่บ้าน
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 26
□ ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ □ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน □ สถานีอนามัย
□ สวนสุขภาพในหมู่บ้าน □ สวนสาธารณะในหมู่บ้าน □ สนามเด็กเล่น
□ สำานักงาน อบต./เทศบาล □ ศูนย์ฯผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น □ ตลาดนัด
□ ห้องสมุดหมู่บ้าน,ชุมชน □ การเคหะชุมชน □ สำานกงานในชุมชน...............
□ ศูนย์ฯสาธิตผลิตภัณฑ์ในหมู่บ้าน □ อาคารออกกำาลังกายในหมู่บ้าน
□ ศูนย์ฝึกอาชีพ/ศีลปาชีพ □ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี..................................
□ สถาบัน สำานักศูนย์อื่นๆ (ถ้ามี)......................................................................................................................

3. คนที่มีความสามารถในหมู่บ้านท่าน มีหรือไม่ ?
□ ช่างก่อสร้าง □ ช่างไฟฟ้า □ ช่างประปา
□ หมอเมือง □ นักกีฬา □ ประธานกลุ่มหนุ่มสาว
□ ประธานกลุ่มผูส้ ูงอายุ □ ประธานกลุ่มแม่บ้าน □ ประธานกลุ่ม..............
□ อสม. □ พระสงฆ์ □ ศิลปิน........................
□ นักกิจกรรมประชาธิปไตย □ นักกิจกรรมสิ่งแวดล้อม □ นักกิจกรรมสุขภาพ
□ ผู้นำาธรรมชาติ.........................................................................................
□ ทรงคุณวุฒิท้องถิ่น/ปราชญ์ชาวบ้าน.....................................................
□ อื่นๆ (ถ้ามี)..........................................................................................

4. ทุนธรรมชาติมีหรือไม่ ?
□ นำ้าตก............................................................. □ ที่ดินสาธารณะ..................................................
□ ป่าไม้.............................................................□ แม่นำ้า................................................................

5. ทุนในชุมชนอื่นๆ ที่สามารถค้นหาได้
...........................................................................................................................................................................

สรุปการประเมินทุนทางสังคมของชุมชนโดยการใช้แบบสำารวจ
สำำรวจสินทรัพย์ในชุมชน

กระบวนกำรของกิจกรรม
1. แยกกลุ่มตามเขตบริการของ CCF ได้ 12 กลุ่ม
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 27
2. ใช้แบบฟอร์ม Community Asset ให้ทุกกลุ่มคิด
3. สรุป เขียนใน Flipchart และให้แต่ละกลุ่มนำาเสนอ
ข้อค้นพบ
1. สื่อท้องถิ่น
• วิทยุชุมชน
• หอกระจายข่าว
• หน่วยงานรัฐ/เอกชน/มูลนิธิสื่อสาร
2. กลุ่ม/ชมรม/เครือข่าย
• กลุ่มแม่บ้าน
• กลุ่มเยาวชน
• กลุ่มผู้สูงอายุ
• อสม.
• CCF
• พสต.
3. กิจกรรม
• ออกกำาลังกาย/เข้าโบสถ์/ประเพณีชนเผ่า/การอบรมให้ความรู้สุขภาพ
• กิจกรรมเด็ก CCF/ สร้างบ้าน/เปลี่ยนหลังคา/ปลูกชา
• ฝ่ายชุมชน/ กลุ่มเกษตกร/สร้างอาชีพ/สร้างแหล่งอาหาร
• ศิลปินอาข่า(แสนใจใหม่)/ลาหู่/บ้านปูนะ
4. อาคารสถานที่/อุปกรณ์
• โบสถ์/ศพด./อาคารเอนกประสงค์
• ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ/ศสฐ.มูลฐาน/ลานกีฬา/สนามเด็กเล่น
• สำานักงานโครงการชัยพัฒนา
5. คนที่มีความสามารถ
• ช่างก่อสร้าง/ช่างไฟฟ้า
• หมอเมือง
• ประชากรกลุ่มหนุ่มสาว
• กลุ่มแม่บ้าน
• กลุ่มผู้สูงอายุ
• แกนนำาหมู่บ้าน/ผู้นำาธรรมชาติ
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 28
6. ทุนธรรมชาติ
• ที่ดนิ สาธารณะ/แม่นำ้า
• ป่าไม้ / คนในพื้นที่จิตใจดี

กำรพัฒนำศักยภำพ
กำรเป็นผู้นำำ

กิจกรรม “ผู้นำำ”
กำรดำำเนินกิจกรรม
1. ให้เขียนเกี่ยวกับ “ผูน้ ำาแบบเก่า” และ “ผู้นำาแบบใหม่(ในอุดมคติ)”
อุปกรณ์ : แจกกระดาษคนละ 2 แผ่น และสีเมจิกให้ทุกคน

ผลสรุปกิจกรรม “ผู้นำำแบบเก่ำ-ผู้นำำแบบใหม่”
ผู้นำำแบบเก่ำ :
• บ้าอำานาจ
• ไม่มีความสามารถ
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 29
• ไม่เป็นกลาง(ธรรม)
• พูดแล้วไม่ทำา พูดแล้วทำาไม่ได้
• อวดฉลาด
• ดีแต่พูดงานไม่ทำา
• ขาดความยุติธรรม
• ฟ้องนายขายลูกน้อง
• เห็นแก่ตัวไม่ซื่อตรง คอรับชั่น
• ไม่ยอมรับฟังผู้อื่น
• ไม่ยุติธรรม ลำาเอียง
• ไม่โปร่งใส
• ขาดความกระตือรือร้น
• เอาหน้า
• โลภ
• ไม่มีระบบการทำางาน
• ไม่มีความรู้
• เอาใจตนเองเป็นที่ตั้ง
• ชอบดูถูกคน

ผู้นำำแบบใหม่(ในอุดมคติ) :
รักชุมชนอย่างแท้จริง
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 30
ไม่ขายชาติ เสียสละ
ช่วยเหลือชาวบ้าน
เอื้ออาทร
เปิดเผย
โปร่งใส จริงใจ
มีความคิดก้าวหน้า
ไม่โยนความผิดให้ลูกน้อง
รับผิดชอบ
รักเพื่อนพ้อง
พูดจริงทำาจริง
ใจดีมีเมตตา
ไม่ลำาเอียง
ผูท้ ี่มีความรู้ความสามารถ
เข้าใจผู้อื่น
มีความยุติธรรม
คิดดี
ปากกับใจตรงกัน
ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก
กล้าทำาสิ่งที่ถูก
ให้โอกาสคนอื่น
วิสัยทัศน์กว้างไกล
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 31
ผลสรุปกิจกรรม “กรอบควำมคิดผู้นำำแบบเก่ำ-ผู้นำำแบบใหม่”
การดำาเนินกิจกรรม ให้เขียนเกี่ยวกับ “กรอบความคิดผู้นำาแบบเก่า” และ “กรอบความคิดผู้นำาแบบใหม่
(ในอุดมคติ)” อุปกรณ์ : แจกกระดาษคนละ 2 แผ่น และสีเมจิกให้ทุกคน
กรอบควำมคิดผู้นำำแบบเก่ำ :
คิดว่าตนเองเก่งฉลาดกว่าคนอื่น
อยากได้แต่ผลงาน
เอาแต่ได้ คิดคนเดียว
พูดไม่คิด
ทะนงตัว
บ้าอำานาจ
 มีพรรคมีพวก
ละโมภ อยากได้อยากมี
คิดไม่ซื่อ
เห็นแก่ได้
เห็นแก่ตัว
ความคิดโบราณ
ไม่มีคุณธรรม
กรอบควำมคิดผู้นำำแบบใหม่(ในอุดมคติ) :
จริงใจ
เก่ง
เสียสละ
มนุษยสัมพันธ์ดี
เป็นประชาธิปไตย
ฟังความคิดเห็นผู้อื่น
รักลูกน้อง
ยุติธรรม
มีเหตุผล
ใส่ใจผู้อื่น
รับฟังความคิดผู้อื่น
ทำาความดีให้กับหมู่บ้าน
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 32
เป็นผู้มีความสามารถ มีความรู้
พัฒนาจริง

ผลสรุปกิจกรรม “วิธีกำรทำำงำนแบบเก่ำ”ที่เรำไม่อยำกพบ ไม่


อยำกเจอ
กำรดำำเนินกิจกรรม
ให้เขียนเกี่ยวกับ “วิธีการทำางานแบบเก่า” และ “วิธีการทำางานแบบใหม่(ในอุดมคติ)”
อุปกรณ์ : แจกกระดาษคนละ 2 แผ่น และสีเมจิกให้ทุกคน
วิธีกำรทำำงำนแบบเก่ำ :
• ทำาแบบให้มันผ่านไป
• คนเห็นแก่ตัว
• ไม่มีกระบวนการ
• ตัวใครตัวมัน
• อยู่ในกรอบ
• ขาดการติดตาม
• ออกคำาสั่งขาดเหตุผล
• ไม่มีทีมงาน
• ทำางานไม่สำาเร็จ
• ไม่ใส่ใจ เผด็จการ
• ผู้นำาตัดสินใจเอง ไม่ปรึกษาใคร
• ตัวใครตัวมัน
• เช้าชามเย็นชาม
• ค่าของคนอยู่ที่คนของใคร
วิธกี ำรทำำงำนแบบใหม่(ในอุดมคติ) :
• ร่วมคิดร่วมสร้าง
• สามัคคี
• มีมติร่วมกัน
• ช่วยกันสร้างสรรค์งานของเรา
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 33
• ทำางานร่วมกัน เป็นทีม
• เชื่อมโยงต่อเนื่อง
• คิดต่อยอด
• คิดก้าวหน้า
• รับผิดชอบร่วมกัน
• ร่วมกันเดินไปข้างหน้า
• รอบคอบ
• ทุกองค์กรมีส่วนร่วม
• มีความกระตือรือร้น
• มุ่งมั่น
• โปร่งใสในงานของตน
• เข้าถึงชาวบ้านและความเป็นกันเอง
• ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
• ปรึกษาหารือ
• ทำาเพื่อชุมชน
• ซื่อสัตย์
• รับฟังความคิดของผู้อื่น
• คิดแล้วลงมือทำา
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 34

ผลสรุปกิจกรรม “วิธีกำรทำำงำนแบบเก่ำทำำให้เกิดผลลัพท์
อย่ำงไร”
และ “วิธีกำรทำำงำนแบบใหม่ทำำให้เกิดผลลัพท์อย่ำงไร”
กำรดำำเนินกิจกรรม
ให้เขียนเกี่ยวกับ “วิธีการทำางานแบบเก่าทำาให้เกิดผลลัพท์อย่างไร” และ “วิธีการทำางานแบบใหม่(ใน
อุดมคติ)ทำาให้เกิดผลลัพท์อย่างไร”
อุปกรณ์ : แจกกระดาษคนละ 2 แผ่น และสีเมจิกให้ทุกคน
กำรทำำงำนแบบเก่ำทำำให้เกิดผลลัพท์อย่ำงไร :
• ประเทศชาติล่มจม
• ขาดความร่วมมือ
• ไม่พัฒนาไม่ก้าวหน้า
• เบื่อหน่าย ล้มเหลว เฉื่อยชา
• ไม่ได้ความจริงใจ
• ไม่ประสบผลสำาเร็จ
• ไร้ประโยชน์
• ขาดความรอบคอบ
• ไม่เจริญ
กำรทำำงำนแบบใหม่ทำำให้เกิดผลลัพท์อย่ำงไร :
• งานประสบผลสำาเร็จ
• อยู่ดีมีสุข
• ความร่วมมือ
• ประเทศชาติเจริญ
• มีความสุข ภูมิใจ
• หมู่บ้านตัวอย่าง
• พัฒนามากขึ้น
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 35
• ชุมชนเจริญก้าวหน้า
• หนึ่งเดียว
• กินอยู่แบบพอเพียงแล้วมีความสุข
• เกิดพลังขับเคลื่อน
• พูดแล้วทำาได้

ผลสรุปกิจกรรม“ท่ำนอยำกเห็นโครงกำรฯนี้ก้ำวไปข้ำงหน้ำ
อย่ำงไร”
กำรดำำเนินกิจกรรม
ให้เขียนเกี่ยวกับ “ท่านอยากเห็นโครงการฯนี้ก้าวไปข้างหน้าอย่างไร”
อุปกรณ์ : แจกกระดาษคนละ 2 แผ่น และสีเมจิกให้ทุกคน

ข้อสรุป “ท่ำนอยำกเห็นโครงกำรนี้ก้ำวไปข้ำงหน้ำอย่ำงไร” :
• แม่และเด็กมีสุขภาพที่ดี
• ทำาโครงการต่ออย่างจริงจัง
• อาหารเต็มบ้านลูกหลานมีกิน
• แม่มีความรู้ลูกมีความสุข
• คุณภาพชีวิตของเด็กในชุมชนดีขึ้น
• ปรึกษาหารือกัน เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
• จุดหมายเดียวกัน
• ชุมชนสุขภาพดีถ้วนหน้า
• ร่วมมือร่วมใจ เดินไปด้วยกัน
• ทุกคนมีส่วนร่วม
• มีจิตสำานึกที่ดี
• มีความสามัคคี
• ให้กำาลังใจกันและกัน
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 36

ผลสรุปกิจกรรม“ท่านอยากได้อยากเห็นอะไรในโครงการฯ นี้”
กำรดำำเนินกิจกรรม
ให้เขียนเกี่ยวกับ “ท่านอยากเห็นอะไรในโครงการฯนี้”
อุปกรณ์ : แจกกระดาษคนละ 2 แผ่น และสีเมจิกให้ทุกคน

ข้อสรุป “ท่ำนอยำกได้อยำกเห็นอะไรในโครงกำรฯ นี้” :


• ชุมชนเข้มแข็งได้ต้องใช้ความรู้ความสามารถ
• ความเข้าใจ พลังชุมชนใจ
• นำาไปปฏิบัติ ความภูมิใจของชุมชน
• อยู่ดีมีสุข เด็กโตตามเกณฑ์
• ความพอเพียงของคน
• สังคมดี อยากเห็นชุมชนดีขึ้น
• ชุมชนร่วมมือกัน
• ความก้าวหน้า
• ขอให้เป็นตัวขับเคลื่อนในการให้ชุมชนดูแลสุขภาพ
• เด็กมีสุขภาพดี
• ชาวบ้านมีส่วนร่วม
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 37

ผลสรุปกิจกรรม“อะไรทำาให้เกิดความสำาเร็จในการมาร่วมเรียนรู้ในโค
รงการฯ นี้”
กำรดำำเนินกิจกรรม
ให้เขียนเกี่ยวกับ “อะไรทำาให้เกิดความสำาเร็จในการมาร่วมเรียนรู้ครั้งนี้”
อุปกรณ์ : แจกกระดาษคนละ 2 แผ่น และสีเมจิกให้ทุกคน

ข้อสรุป “อะไรทำำให้เกิดควำมสำำเร็จในกำรมำเรียนรู้ครั้งนี้”
• การยอมรับอย่างเข้าใจ
• เปิดใจรับ แลกเปลี่ยนความคิด
• ยอมรับฟัง
• ความเข้าใจ
• อดทน ตัง้ ใจ
• ร่วมมือร่วมใจ
• ช่วยกันคิดช่วยกันทำา
• การรวมความคิด
• ความสามัคคี เป้าหมายเดียวกัน
• พลังใจ ทุกคนมีส่วนร่วม
• การอภัย
• แรงบันดาลใจ
• วิธีการคิดที่จะไปพัฒนาชุมชน
• รู้หน้าที่ตนเอง ไม่เอาเปรียบผู้อื่น
• ศรัทธาความคิด
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 38

ควำมหวัง – ควำมฝัน
อีก 10 ปีข้ำงหน้ำของ แม่ฟ้ำหลวง
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 39

ควำมหวัง – ควำมฝัน
อีก 10 ข้ำงหน้ำของ แม่ฟ้ำหลวง
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 40

สุขภำพ
1. มีสุขภาพที่ดี เป็นไปได้อยากให้มีโรงพยาบาลใกล้บ้าน อุปกรณ์ครบบริการ
2. สุขภาพแม่และลูกสมบูรณ์แข็งแรง มีการวางแผนครอบครัว
3. อยากให้มีการให้คำาปรึกษา เพื่อสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
4. ชุมชนสุขภาพดี
5. สุขภาพแข็งแรงบนวิถีของชุมชนที่ยั่งยืน
6. ชุมชนมีองค์ความรู้สู่หมู่บ้าน จัดการสุขภาพด้วยตนเอง
7. อยากเป็นทุกคนมีสุขภาพกาย จิตแจ่มใส
8. เป็นคนที่มีความรู้วิธีการดูแลสูขภาพ รู้จักป้องกันโรคติดต่อ
9. คนในชุมชนมีสุขภาพที่ดี

ชุมชน-สังคม
1. อยากให้คนไทยรักกันมากขึ้น
2. อยากเห็นสันติ
3. ทุกครอบครัวมีความสุข
4. บุตรหลานไม่ติดยาเสพติด
5. ทำาให้ชุมชนน่าอยู่และเข้มแข็ง
6. อยากให้มีวันนี้ตลอดไป คงสิ่งดี ปรับปรุงแก้ไขสิ่งไม่ดี
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 41
7. อยากเห็นคนทำาดี
8. ความสามัคคีของชุมชนและภาคีต่างๆ
9. สังคมสงบสุข
10. อยากเห็นความร่วมมือใน การทำางานเพื่อชุมชนมีความสุข
11. อยากเห็นรอยยิ้มจากความสำาเร็จ
12. พลังชุมชนไปสู่ความยั่งยืน
13. สิทธิพลเมืองไทย
14. อาชีพในชุมชนจะได้ไม่ไปจากบ้าน/จากลูก
15. อยากเห็นคนในชุมชนทำางานในชุมชนตนเอง

เศรษฐกิจ
1. ทุกคนอยู่อย่างพอเพียง
2. มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
3. สิ่งแวดล้อม
4. "ยืนอยู่บนความหลากหลายอย่างลงตัว"
5. ป่าไม้อุดมสมบูรณ์
6. สิ่งแวดล้อมสดใส

วัฒนธรรม-กำรศึกษำ
1. เป็นแหล่งเรียนรู้
2. เด็กต้องได้รับการศึกษาที่ดี
3. อยากให้ทุกคนอยู่คู่คุณธรรม จริยธรรม
4. วัฒนธรรมดีคู่กับความเจริญของชุมชน
5. รู้จักรักษาวัฒนธรรมชนเผ่าที่ดีงาม เช่น ประเพณี และพิธีกรรม ทางศาสนา ฯลฯ
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 42

ข้อสรุปสิ่งที่ประทับใจและสิ่งฝังใจ ในโครงกำรแม่เรียนรู้สู่โภชนำกำรที่ดีของลูก
สิ่งที่ประทับใจ
1. ในการทำางานร่วมกับ CCF และสาธารณสุข ในการช่วยเหลือแม่และเด็กในชุมชน
2. การทำางานเป็นทีมเพื่ออนาคตของเด็กในชุมชนแม่ฟ้าหลวง
3. การติดต่อประสานงานหลายๆ ฝ่ายในพื้นที่
4. ได้ชว่ ยทำาขนมให้น้องกิน
5. ประทับใจในความตั้งใจของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
6. อยากให้กิจกรรมต่อเนื่องและขยายพื้นที่ครอบคลุมมากขึ้น เพื่อให้ความรู้ด้านโภชนาการแก่แม่และผู้
ปกครอง เพื่อดูแลเด็กได้อย่างถูกต้อง
7. ประทับใจกับการแก้ไขปัญหาเร่งด่วนโดยการแจกนม ให้เด็กทีต่ ำ่ากว่าเกณฑ์
8. รู้สึกดีใจที่ได้ทำางานกับโครงการนี้
9. ชื่นชมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ได้ทำางานเพื่อเด็ก
10. การทำางานร่วมกันของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
11. เกิดเวทีการพูดคุย/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
12. ในภาพการชั่งนำ้าหนักและวัดส่วนสูงของเด็กในชุมชน
13. ทุกคนที่เสียสละช่วยเหลือเด็กที่มีนำ้าหนักตำ่ากว่าเกณฑ์
14. เป็นโครงการมีประโยชน์สำาหรับแม่และเด็ก และอยากให้จัดอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 43
15. การสาธิตการทำาอาหาร ของดีๆในชุมชน
16. โครงการทีด่ ีมากช่วยให้ชุมชนในชนบท ได้เรียนรู้เกี่ยวกับดูแลเลี้ยงดูเด็กอย่างถูกวิธี ช่วยให้ปัญหา
ต่างๆลดลงและพ่อแม่ภาคภูมิใจ
17. ความตื่นตัวของประชาชนที่สนใจอยากรู้เกี่ยวกับ การดูแลสุขภาพลูกหลานของตนเอง
18. ความร่วมมือของหลายหน่วยงานที่ยอมรับความคิดซึ่งกันและกัน
19. ในการเปิดโอกาสให้หน่วยงานสาธารณสุขได้ปรับเปลี่ยน การดูและสุขภาพแม่และเด็กตาม
สถานการณ์
20. ประทับใจทีท่ ุกฝ่ายเริ่มต้นทำางานด้วยเจตนาที่ดี
สิ่งฝังใจ
1. ความเข้าใจของคณะกรรมการ CCF /เจ้าหน้าที่ CCF ในความคาดหวังรอการแก้ไขปัญหาจาก เจ้า
หน้าที่สาธารณสุข ทัง้ ที่ความเป็นจริงการแก้ไขปัญหา ต้องมาจากชุมชนเอง ต้องรู้คิด วิเคราะห์
วางแผนเสนอแนะ และร่วมดำาเนินการ เหมือนกับแม่ของเด็กที่ให้ความร่วมมือ
2. ภาพที่แจกนมผงให้กับชาวบ้าน
3. ต้องเตรียมการทำางานอย่างละเอียดก่อนเริ่มดำาเนินการ
4. การทำางานอย่างมีส่วนร่วม
รำยชื่อผู้เข้ำร่วมอบรม
กำรประเมินผลอย่ำงมีส่วนร่วมของพหุภำคีโครงกำรเรียนรู้สู่โภชนำกำรที่ดีของลูก
ระหว่ำงวันที่ 5 – 6 กุมภำพันธ์ 2551
ณ ห้องประชุมองค์กำรบริหำรส่วนตำำบลแม่สลองนอก
ตำำบลแม่สลองนอก จังหวัดเชียงรำย
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. นายณรงค์ ลือชา ผู้ช่วยสาธารณสุขอำาเภอแม่ฟ้าหลวง
2. นายเดชาวุฒิ เขื่อนรอบ นักวิชาการสาธารณสุขอำาเภอแม่ฟ้าหลวง
3. นายสมจ้อย ศรีเจริญตา เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยเทอดไทย
4. นายธนกฤษณ ทองศิริพงศ์ เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยสามแยก
5. นายผ่านโผน อุ่นหน้อย เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยอาโย๊ะ
6. น.ส.จุฑามาศ ใจกุย เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยสันติคีรี
7. นายสุรชาติ ขจรทวีไพศาล รองประธาน กกบ.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
8. นางมะลิ วิบูลย์วิโรจน์กุล กกข.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
9. นางศิริพร ศิระรัตนกุล กกข.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
10. นางยี่เล้า แซ่เว่ย กกบ.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
11. นางเซี่ยวเจิน แซ่หวู่ กกข.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 44
12. นางอาและ เพอเมีย กกบ.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
13. นายลามือ ลาบือ กกข.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
14. นายชาญชัย แซ่หมื่อ กกบ.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
15. น.ส.วรกนก เยลึ กกข.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
16. นายมิตรจิตร วีระวัฒน์พงศธร กกบ.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
17. น.ส.กชกร เชอหมื่อ กกข.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
18. นายพิทักษ์พงษ์ อยู่ลือ ผู้ปกครองโครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
19. นายอาแป มาเยอะ กกข.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
20. นายสุรวัธ สุชานันกุล กกข.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
21. นางจิดาภา สุชานันกุล กกข.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
22. นายจะสอ แซ่ลือ กกบ.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
23. นายกอเลาะ มาเยอะ กกข.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
24. นางอาอยู่ มาเยอะ ผู้ปกครองโครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
25. น.ส.มาลีวัลย์ พิสัยเลิศ ผดด.
26. น.ส.จั่นเจียม แซ่พ่าน ผดด.

27. นางจริยาวดี รอดสุวรรณ อาจารย์โรงเรียนบ้านแม่เต๋อ


28. นายหล่อโจ ยีบรา แกนนำาเด็ก
29. นายสมชาย แลเฉอะ แกนนำาเด็ก
25. น.ส.อมรรัตน์ นาฮะเอ๋อ กกบ.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
26. นายอภินันท์ จะแด กกข.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
27. นายอาเจอะ ยาแล กกข.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
33. นายเยรามิ เจริญจันทมณี แกนนำาเด็ก
34. น.ส.มาลีรตั น์ ลาหู่ แกนนำาเด็ก
35. น.ส.สิมะ ลาหู่นะ แกนนำาเด็ก
36. นายวุฒิชัย บุญรัตนโชค กกบ.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
37. น.ส.อายุ้ม แซ่มือ กกข.โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
38. นายพิโย ลามือ กกบ.โครงการซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
39. นายพีรพัฒน์ ลาเช กกข.โครงการซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
40. นายสมนึก เบญจวิทยาธรรม ผู้ประสานงานอาวุโสภาคใต้
41. นางสวรส สุขชูช่วย เจ้าหน้าที่โครงการซี.ซี.เอฟ.ภาคใต้
42. นางบุญเกิด แสวงสุข เจ้าหน้าที่โครงการ ซี.ซี.เอฟ.ภาคใต้
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 45
43. นายทรงกรดหลีเจริญ กกบ.โครงการซี.ซี.เอฟ.ภาคใต้
44. นางเตือนใจ ชูแก้ว เจ้าหน้าที่โครงการ ซี.ซี.เอฟ.ภาคใต้
45. นางฮาหวา สินเจริญ กกบ.โครงการซี.ซี.เอฟ.ภาคใต้
46. นายสานิตย์ ยอดรุ่ง กกบ.โครงการซี.ซี.เอฟ.ภาคใต้
47. นายมานพ ซ้อนฝั้น หัวหน้าโครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
48. น.ส.ประนอม เถาวัลยา เจ้าหน้าที่โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
49. น.ส.เพชร ธุระวร เจ้าหน้าที่โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
50. น.ส.สาธิยา คำาดา เจ้าหน้าที่โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
51. น.ส.ศุภาพิชญ์ สงคำา เจ้าหน้าที่โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
52. นายรัฐพงษ์ ศรีปุริ เจ้าหน้าที่โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
53. นายธนากร วิมลรัตน์ เจ้าหน้าที่โครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย
54. นางสุธาสินี ไชยสวัสดิ์ เจ้าหน้าที่บัญชีโครงการ ซี.ซี.เอฟ.เชียงราย

ภาพกิจกรรม
การศึกษาวิถีชีวิตและวัฒนธรรมชนเผ่าในโครงการฯ

ผู้หญิงกับการเก็บใบชาในไร่ชาบนดอยแม่สะลอง
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 46

เด็กๆ กำาลังรุมล้อมดูภาพกิจกรรมในเวทีสนทนา

บรรยากาศในเวทีสุนทรียสนทนากลางหมู่บ้านชนเผ่าลาหู่
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 47
บรรยากาศการแสดงกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและวัฒนธรรมชนเผ่าลาหู่

การทำาอาหารเสริมในชุมชน

“ข้าวฟุก” ข้าวเหนียวตำาผสมงา อาหารพิเศษในวันพิเศษ


การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่โครงการ และกรรมการในเขตบริการ เพื่อการเตรียมการจัดทำาแผนยยุทธศาสตร์
------------------------------------------------------------------------------------------ 48

สรุปสุดท้ายก่อนปิดการประชุมฯ

You might also like