You are on page 1of 45

หัวขอ: ภัตาคารแรงในกัมพูชา

เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2553 ที่ชั้น 2 อาคารโรงพยาบาลสัตว คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน ไดมีการ


บรรยายในเรื่องการอนุรักษแรงในปจจบัน มีผูบรรยายหลายทาน ทานแรกที่ผมจะนําสไลดมาใหดูคือ อาจารย สมิทธ สูติบุตร จากสมาคม
อนุรักษนกและธรมชาติแหงประเทศไทย

ลักษณะพื้นที่เปนปาเต็งรัง ที่มีทุงหญาและแนวปาดังในภาพ
ไกลๆ ฝงซายของรูปที่เปนหอคอยบังไพร ที่ใหผูชมนกขึ้นไปเตรียมกลองเพื่อดูนก

ฝงขวาครับ ดูภาพบังไพรใกลๆ
บังไพรอีกแหงสําหรับชางภาพที่อยูใกลกวาประมาณ 50 เมตรจากจุดที่แรงลง

บังไพรมองในระยะใกล
ตากลองที่รว มกับอาจารยที่เขาไปถายรูปดวยกัน

แสงแรกที่เห็นจะเปนวัวที่เตรียมไวใหอีแรง ผาทองไวเพื่อใหงายตอการเขากินซากของอีแรง
เห็นอีแรงที่เตรียมลงมากินซาก เกาะอยูบนตนไมใกลจากจุดทิ้งซาก

สมาชิกแรงตัวแรกที่ลงคือพญาแรง ยังไมโตเต็มวัย ที่ลงเกาะที่ซากวัวเกา


คอยๆลงมาแตยังไมผลีผลาม มีหนวยกลาตายลงมาสํารวจกอน

ตัวที่ใหญที่สุดคือแรงสีน้ําตาลที่เปนนกประจําถิ่นที่พบไดนอยที่สุดในบรรดาแรงที่อยูในกัมพูชา
คําวา แรงลง หนาตาเปนแบบนี้
พอเริ่มสายๆ จะเห็นวาซากโดนกินทึ้งไปมากพอสมควร

หลังกินจะกลับไปเกาะบนตนไมใกลๆจุดวางซาก
พบแรงนําตาลหิมาลัย ที่ไมใชนกประจําถิ่นกัมพูชาอยูในฝูงนี้ดวย

แรงสีน้ําตาลหิมาลัยที่ศูนยฟนฟูแรงและนกเหยี่ยวของคณะสัตวแพทยศาสตร ม เกษตรศาสตร กําแพงแสน


แรงดําหิมาลัย อนาคินที่เปนจุดกําเนิดศูนยฟนฟูนกแรงและนกเหยี่ยว

อีกรายการหนึ่งบรรยายโดย ดร นริศ ภูมิภาคพันธ คณะวนศาสตร เรื่อง การอนุรักษแรงในประเทศไทย


โดยมีจุดเริ่มตนจากการประชุมการจัดการและการฟนฟูประชากรนกแรงครั้งที่ 1 ที่คณะวนศาสตร ในวาระเพื่อระลึกถึงคณหมอบุญสง

เลขะกุล
สถานะการณนกแรงในเมืองไทยและเอเชียใต ( อินเดีย บังคลาเทศ )
การตายของอีแรงจํานวนมากในอินเดียจากการที่มนุษยและสัตวเลี้ยงเชน วัว มีการใชยาลดการอักเสบไดโคฟแนค ซึ่งทําใหรัฐบาลตองออก
กฏหมายหามการใชยาดังกลาวในประเทศ แตคาดวาจะมีการใชอยู
ชนิดแรงที่อยูประจําถิ่นในประเทศไทยและเขามาเปนครั้งคราว( อพยพ )

ภาพแรงเทาหลังขาว

แรงสีน้ําตาล ที่เปนชนิดที่หายไปจากปาเมืองไทยเราชนิดแรกสุด
แรงสีนําตาลหิมาลัยเปนนกอพยพ ซึ่งเปนชนิดที่มีประชาชนแถบจังหวัดทางภาคใตจับไดเนื่องจากบินหมดแรงตกในเมืองไทย
ภาพวัดสระเกศ ที่มีรูปเกาๆ ที่เปนหลักฐานวาที่วัดนี้มีแรงที่มากินซากศพคนตาย
ปาเต็งรังที่เปนปาที่เปนที่อยูของอีแรง
ภาพพญาแรงตาย เนื่องจากกินซากที่พรานใสยาฟูราดานไว โดยพรานตองการไดหนังเสือที่มีสภาพสมบูรณ
ภาพการจับนกและติดอุปกรณที่ชวยในการติดตามตัวนกของทีมวิจัย ที่ WCS เปนเจาของโครงการ
ชนิดนก จํานวน เครื่องหมายที่ติดและชนิดของเครื่องชวยในการติดตามมี 3 ตัวที่ติดเครื่องมือติดตามแบบดาวเทียม
นกแรงสีน้ําตาล บินจากจังหวัดเขาพระวิหาร ไปยังลาว
หัวขอ: การอนุรักษแรงในประเทสอินเดีย

ในการสัมนาเรื่องการอนุรักษแรง ที่ คณะสัตวแพทยศาสตร ม.เกษตร ไดเชิญวิทยากรชาวอังกฤษ ซึ่งเปนสัตวแพทยชาวอังกฤษ ตําแหนง


ปจจุบันเปนหัวหนาสัตวแพทยแหงสวนสัตวลอนดอน หัวขอแรกที่ทาน บรรยายคือ การอนุรักษแรงในอินเดียและเนปาล

เนื้อหาการบรรยายประกอบดวย สาเหตุการลดจํานวนลงของอีแรงในอินเดียและเนปาล การดําเนินการเรื่องศูนยเพาะขยายพันธุแรง การ


ชวยเหลือนกที่บาดเจ็บเนื่องจากเทศกาลวาวในอินเดีย

โลโกของหนวยงานที่รวมในการดําเนินงานศูนยเพาะขยายพันธุอีแรง
รูปขณะที่ประชุมในประเทสเนปาล ขางๆเปนชื่อรายชื่อหนวยงานที่รวมในการดําเนินงาน

แรงในอินเดียประกอบดวยพญาแรง แรงเทาหลังขาว แรงสีนําตาล การเริ่มลดเริ่มในป 1999 ประมาณ 2542 โดยแรงเทาหลังขาวลดไป


ถึง 97.4 แรงสีน้ําตาลลดลงไป 94 เปอรเซ็นต จากเดิมที่มีอยูเปนจํานวนมาก
แกไขครับแรงเทาหลังขาวหายไป 99.9 แทบหมดเลยและแรงสีนําตาล 97.4 สาเหตุของการลดจํานวนลง เชน การลดลงของถิ่นที่อยู ที่ทํา
รัง โรคติดตอ การปนเปอนในสิ่งแวดลอม อาหารลดลง ซากที่เปนอาหารมีการปนเปอนสารพิษ เทศกาลเชน เทศกาลวาว การขนสง ยาที่ใช
ในสัตวเชนวัว

ในซากของนกที่ตายมีวิกาลของโรคเกา ในอินเดียพบ 75 % ในปากีสถานพบ 85 % ในงานศึกษาอื่นๆ เชน เชื้อ herpes


virus แบคทีเรีย mycloplasma และในแรงเทาหลังขาว 25 ตัวในปากีสถานพบสารตกคางที่เกิด จากยาลดการอักเสบไดโคฟแนคในชิ้นเนื้อ

ยาไดโคฟแนคเปนยาที่ไดรับรองในการใชในคน แตไมมีการรับรองในการใชในสัตว (ในusa,europในอินเดียมีการใช

อยางแพรหลายโดยเฉพาะกลุมวัว ควาย ถึงจะมีการหามขายในอินเดีย แตสามารถซื้อสารตั้งตนราคาถูกไดจากจีน

มีความเปนไปไดวาระดับของสารไดโคฟแนคจะสมสมในรางกายจนถึงขั้นนกตาย อาจเกิดจาก การกินซากในครั้งเดียว, มีการคํานวนโดย


โปรแกรมคอมพิวเตอรวา ซากจํานวน 1 ซากที่มีสารไดฟแนคปนเปอนใน 250 ซากทั้งหมดจะมีผลทําใหนกมีจํานวนลดลง และจากการ
สํารวจเพียงหนึ่งครั้งพบวา มีซาก 1 ซากที่สารไดโคฟแนคปนเปอน ในจํานวนซากทั้งหมด 90 ซาก ยาไดโคฟแนคจะมีผลทําใหไตเปนพิษ

การแกไขในปจจุบันดวยการยกเลิกการนําเขาไดโคฟแนค หาสาเหตุอื่นๆ ที่เปนสาเหตุการลดลงของอีแรง และการจัดตั้งศูนยเพาะขยายพันธุ

ขาวที่ถูกนําเสนอโดยสํานักขาวbbc โดยขาวลงวาจะตองใชเวลาอีกสักระยะหนึ่งที่ สารปนเปอนจะหายไปจากหวงโซอาหาร (หลังจากที่แบน


ยานี้แลว ) แตงานที่ตองทําตอคือ การสรางศูนยเพาะขยายพันธุและนักกการเมืองอินเดียก็บอกวา หนวยงานราชการตองสงเสริมให
เกษตรกรที่ใชยาเองหันมาใชยาตัวอื่น

การตั้งศูนยเพาะขยายพันธุแรงทั้ง 3 ชนิดในอินเดีย ปากีสถาน เนปาลในพื้นที่ทีแรงอยู มีการถายทอดความรูเรื่องการเลี้ยง การจัดการและ


การจัดการดานสัตวแพทย นกที่นํามาเริ่มโครงการใชนกที่จับไดและนกที่บาดเจ็บที่ถูกนํามารักษา มีความคาดหวังวาจะมีการปลอยนกที่เพาะ
ขยายไดกลับสูพื้นที่
รูปรางหนาตาของกรงเพาะขยายพันธุ คาดวาเลียนแบบหนาผา ตามลักษณะถิ่นที่อยูบานเขา แตบานเรานกเหลานี้อยูในปาเต็งรัง

แตรูปทรงของกรงเปนสี่เหลี่ยมเนนดานยาว

ศูนยเพาะเลี้ยงแหงนีมีนกสามฝูง มีการติดตั้งกลองวงจรปดเพื่อติดตามพฤติกรรม และมีนกแรงเทาหลังขาวเกิด


ศูนยเพาะเลี้ยงที่ west bengal ในพื้นที่มีไขมาเลเรีย มีการใชรั้วไฟฟาพลังแสงอาทิตยเพื่อปองกันฝูงชาง

ศูนยเพาะที่แควนอัสสัม เปนศูนยสําหรับแรงสีน้ําตาล ในแควนนี้มีไขมาเลเรียและชางปา


ศูนยเพาะที่เนปาล นกมากกวา 40 ตัว เปนนกแรงเทาหลังขาวและเปนนกที่ยังไมโตเต็มวัย

ศูนยเนปาล
อาหารหลักเปนแพะและใหทุกสามวัน

เปนเทสกาลเลิมฉลองกับพระอาทิตยในศาสนาฮินดู เนื่องจากผานชวงฤดูหนาวที่มีชวงเวลากลางวันสั้น เปนการเลนที่มีกันทั้งประเทศ มีการ


ใชเศษแกวติดกับเชือกเพื่อตัดสายวาวของคูแขงที่เปนสาเหตุใหนกเกิดการบาดเจ็บ
ภาพที่แสดงนกบาดเจ็บ

ในป 2005 มีนกที่บาดเจ็บประมาณ มากวา 950 ตัวและอัตราการตายสูงมาก ในจํานวนนั้นมีแรง16 ตัว และรอดตาย 9 ตัว
ภาพการรักษานก

มีโครงการรณรงคเพื่อลดอัตราการบาดเจ็บ รวมทั้งแจงวามีหนวยงานที่จะรักษานกบาดเจ็บทางสื่อตางๆ
ภาพสถานที่และหองที่ทําการรักษานก

นกจํานวน 639 ตัวที่ไดรับบาดเจ็บและนํามาที่ศูนยในป 2007


สรุปผลงานที่ทําในอินเดีย เนปาล มีการสรางศูนยเพาะขยายพันธุสามแหงในอินเดีย หนึ่งแหงในเนปาล

อัตราการลดลงยังคงมีอยูตอไปแตมีในระดับที่ลดลง ยังคงมีการใชยาไดโคฟแนคอยู ที่ศูนยเพาะขยายที่ pinjore

มีลูกนกแรงเกิด มีการสรางหองฟกไขและหองสําหรับสัตวแพทยทํางานในศูนยเพาะขยายทั้งสามแหงในอินเดีย
ปจจุบันมีนกแรงที่อยูในศูนยเพาะ 10 ตัวในเนปาลและ 70 ตัวในอินเดีย ซึ่งการคํานวณดวยโปรแกรบอกวา ถาจะตองการคงความหลากหลาย
ทางพันธุกรรมจะตองมีนกในศูนยมากกวานี้ 100, 300 ตัว

กราฟที่แสดงอัตราการลดลงของนกแรงในเอเชียใต

You might also like