บทที่ 3 พฤติกรรมผูผลิต
ความหมายของอุปทาน
ตารางอุปทานและเสนอุปทาน
อุปทานตลาด
ปจจัยกําหนดอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงของเสนอุปทาน
ความยืดหยุนของอุปทาน
การผลิต
ระยะเวลาการผลิต
ความหมายของอุปทาน
ฟงกชั่นการผลิต
ตนทุนการผลิต
รายรับจากการผลิต
ดุลยภาพของผูผลิต
อุปทาน หมายถึง ปริมาณเสนอขาย สินคาชนิดใดชนิดหนึ่ง ในชวง
เวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับตางๆกันของ ราคาสินคา ชนิดนั้นๆ
ปจจัย/ตัวแปรที่เกี่ยวของในการพิจารณา
ตัวแปรนํา : ราคาสินคา (P)
ตัวแปรตาม : ปริมาณเสนอขาย (Q)
ตารางอุปทานและเสนอุปทาน
กฎของอุปทาน
ความสัมพันธระหวางปริมาณเสนอขายสินคากับระดับราคาสินคา
นั้นจะเปนไปใน…………………..เมื่อกําหนดใหปจจัยอื่น ๆ คงที่
นั่นคือ
P
Q
P
Q
ตารางตัวเลขที่แสดงความสัมพันธระหวางปริมาณอุปทานของสินคา
หรือบริการอยางใดอยางหนึ่ง ณ ระดับราคาตางๆ
ราคา (บาท) ปริมาณขาย
(กิโลกรัม)
10
20
12
30
14
40
16
50
18
60
20
70
ตารางอุปทานและเสนอุปทาน อุปทานสวนบุคคลและอุปทานตลาด เสนอุปทาน คือ เสนกราฟที่แสดงความสัมพันธระหวางราคากับปริมาณ อุปทาน และมีความชันเปนบวก ปจจัยกําหนดอุปทาน อุปทานของตลาด ราคา 10 20 P ผูผลิต 1 ผูผลิต 2 ตลาด 40 40 80 80 80 160 P S1 S2 P Sm 20 10 40 80 Q • อุปทานสวนบุคคล (Individual supply) : ปริมาณเสนอขายสินคา ชนิดหนึ่งๆ ของผูขายแตละคน ณ ระดับราคาสินคาตางๆ • อุปทานของตลาด (Market supply) : ปริมาณเสนอขายสินคาชนิด หนึ่งๆ ของผูขายทุกคนในตลาด ณ ระดับราคาสินคาตางๆ 40 80 Q 80 160 Q ราคาสินคาชนิดนั้น ราคาสินคาชนิดอื่นๆที่เกี่ยวของ ราคาปจจัยการผลิต เทคโนโลยีการผลิต จํานวนผูขาย สภาพดินฟาอากาศ .
W ..ฟงกชั่นอุปทาน ปจจัยโดยตรง คือ PX ดังนั้นเมื่อกําหนดใหปจจัยอื่นคงที่ แลว สามารถเขียนเปนฟงกชันไดดังนี้ Qx=f(Px) เขียนเปนสมการอยางงายไดดังนี้ QX = a + bPX เชน QX = -20 + 3PX ฟงกชันของอุปทาน แสดงความสัมพันธระหวางปริมาณเสนอขายสินคาและ บริการชนิดใดชนิดหนึ่ง กับปจจัยชนิดตางๆ ที่เปนตัวกําหนด ปริมาณเสนอขาย สินคาและบริการชนิดนั้น Qs = f ( Px . S . …. Py. T . ) โดยที่ Qs = ปริมาณเสนอขายสินคาและบริการของสินคา Px = ราคาของสินคาที่เสนอขาย Py = ราคาของสินคาชนิดอื่นที่เกี่ยวของ W = ราคาปจจัยการผลิต T = เทคนิคการผลิต S = ฤดูกาล การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน 1) 2) แตสมการที่เปนตัวแทนอุปทานโดยทั่วไปคือ QX = -a + bPX เชน QX = -20 + 3PX การเปลี่ยนแปลงปริมาณเสนอขาย (Changes in Quantity Supplied) การเปลี่ยนแปลงปริมาณเสนอขาย (Change in quantity supplied) การยายเสนอุปทาน (Shift in the supply curve) เกิดจากราคาสินคาเปลี่ยนแปลง ทําใหจํานวนขายเปลี่ยนแปลง เปนการยายจากจุดหนึ่งไปอีกจุด หนึ่ง บนเสน อุปทานเดียวกัน 12 .
. ความยากงายในการผลิต สินคามีความยากในการผลิต -> ความยืดหยุนของอุปทาน……. ระยะเวลาการผลิตสั้น -> ความยืดหยุนของอุปทาน…….. สินคามีความงายในการผลิต -> ความยืดหยุนของอุปทาน…….การยายเสนอุปทาน ความยืดหยุนของอุปทาน (Elasticity of Supply) (Shift in Supplied Curve) เกิดจากตัวกําหนดโดยออมตัว ใดตัวหนึ่งหรือหลายตัว เปลี่ยนแปลง ทําใหปริมาณ ขายเปลี่ยนแปลง ณ ระดับ ราคาเดิม ความยืดหยุนของอุปทานตอราคา หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงใน จํานวนสินคาที่ผูขายตองการขายตออัตราการเปลี่ยนแปลงในราคาสินคา ชนิดนั้น โดยคิดอัตราการเปลี่ยนแปลงเปนรอยละ โดยที่ อุปทานเพิ่ม เสนอุปทานยาย ไปทางขวาหรือซาย Es = คาความยืดหยุนของอุปทานตอราคา % Q = การเปลี่ยนแปลงของจํานวนขายเปนรอยละ % P = การเปลีย่ นแปลงของราคาเปนรอยละ 13 ตามกฎของอุปทาน จํานวนขายจะเปลี่ยนแปลงทางเดียวกัน กับราคาสินคาชนิดนั้นเสมอ ดังนั้น เครื่องหมายการเปลี่ยนแปลง ของราคาและจํ า นวนขายจะเหมื อ นกั น ค า ความยื ด หยุ น ของ อุปทานจะเปนบวกเสมอ และเปนตัวเลขโดด ๆ ไมมีหนวย ใน กรณีนี้ไมจําเปนตองตัดเครื่องหมายทิ้งอยางเชนที่ทํากับคาความ ยืดหยุนของอุปสงคตอราคา ปจจัยกําหนดความยืดหยุนของอุปทานตอราคา ระยะเวลา ระยะเวลาการผลิตนาน -> ความยืดหยุนของอุปทาน……. ..
000 บาท โนเกียนํามือถือออกขายมากขึ้น เมื่อราคามือถือสูงขึ้น ชาวนาเอาขาวสาร ออกขายมากขึ้น เมื่อราคาขาวสูงขึ้น ความยืดหยุนของอุปทานมือถือตอราคาคือ? ความยืดหยุนของอุปทานขาวสารตอราคาคือ? ความยืดหยุนของอุปทานตอราคา (Es) (ตอ) การผลิต ขาวสารมี Es = ……… มือถือมี Es = …………. โดยมากสินคาอุตสาหกรรมหรือสินคาไฮเทคจะมีความยืดหยุน…… โนเกียนํามือถือออกขาย 5 เครื่อง ถามือถือเครื่องละ 4..000 บาท การดําเนินกิจกรรมตางๆ สินคา ที่ มนุษยตองการ ปจจัยการผลิตทางเศรษฐศาสตร (Factor of Production) ประกอบดวย แรงงาน ทุน ที่ดิน และผูประกอบการ ผลผลิต คือ ผลที่ไดจากการแปลงปจจัยการผลิตใหเปน สินคา และ บริการ .การคํานวณและการอานคา ชาวนาเอาขาวสารออกขาย 100 กระสอบ ถาขาวสารกระสอบละ 150 บาท การคํานวณและการอานคา ชาวนาเอาขาวสารออกขาย 120 กระสอบ ถาขาวสารกระสอบละ 300 บาท โนเกียนํามือถือออกขาย 1 เครื่อง ถามือถือเครื่องละ 2. การผลิต สรุป โดยมากสินคาเกษตรและหัตถกรรมจะมีความยืดหยุน…….
ปจจัยการผลิตกับระยะเวลาในการผลิต ปจจัยคงที่ (Fixed factor) เปนปจจัยการผลิตที่ไมผันแปรตาม ปริมาณผลผลิตไดภายในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เชน อาคาร โรงงาน เครื่องจักร เปนตน ปจจัยผันแปร (Variable factor) เปนปจจัยการผลิตที่ผันแปร ตามปริมาณการผลิต ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ไดแก แรงงาน วัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลือง เปนตน ตัวอยาง เกษตรกรผลิตขาวโดยใชแรงงานและปุยที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆก็ไมสามารถ ขยายผลผลิตไปไดเรื่อยๆเพราะที่นามีอยูจํากัด ดังนั้นปจจัยคงที่ไดแก ที่ นา สวนปจจัยแปรผันไดแก แรงงานและปุย มหาวิทยาลัยแมวาจะเพิ่มอุปกรณที่ทันสมัยเขามาเรื่อยๆในหองเรียนก็ ไมสามารถเพิ่มจํานวนนักเรียนไดเพราะพื้นที่ของหองและผูสอนมีอยู จํากัด ปจจัยคงที่คือ พื้นที่หองเรียน และ จํานวนอาจารย สวนปจจัย แปรผันคือ อุปกรณที่ทันสมัย 21 ระยะเวลาในการผลิต การผลิตระยะสั้น (short-run period) ระยะเวลาในการผลิต (ตอ) ปจจัยคงที่ ปจจัยผันแปร การเปลี่ยนแปลงของขนาดผลผลิต (Q) ทําไดโดยการเปลี่ยนแปลงขนาดของการใชปจจัยผันแปรเทานั้น การผลิตระยะยาว (long-run period) ปจจัยคงที่ ปจจัยผันแปร เนื่องจาก ปจจัยการผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงได ดังนั้นจึงไมมีปจจัย คงที่ และการเปลี่ยนแปลงของขนาดผลผลิต (Q) ในระยะยาว ขึ้นอยูกับการเปลี่ยนแปลงขนาดของการใชปจจัยผันแปรเทานั้น .
รถไถ. ควาย. เทคนิคการผลิต. โรงงาน.000 บาท ตอคน ) หรือถาเขาจางคนงานก็ตองจายครั้งละ 3000 บาท ซึ่ง รายการทั้งหมดนี้เปนมูลคาตอการผลิต 1 รอบการผลิต แลวตนทุนชัดแจง ตนทุนไมชัดแจงตอการผลิต 1 รอบมีคาเทาไร .000 บาท ในการปลูกเขาใช แรงงานซึ่งเปนลูกของเขา มี 3 คน ( ไมคอยเอาถานและเกเร โดยหากลูก ไมชวยทํา ลูกก็จะไปทําหนาที่เปนนักเลงคุมบอน มีรายไดครั้งละ 2.…. ความสมบูรณของที่ดิน.000 บาทนอกจากนี้เขาตองซื้อเมล็ดพันธุและปุย 6. aN) เชน จํานวนรถยนต (คัน) = f( เครื่องจักร. a2. คนงาน) จํานวนขาว(เกวียน) = f(ขนาดที่นา. ปุย) มีเฉพาะปจจัยผันแปรเทานั้น 25 ตนทุนการผลิต (Cost of Production) ความหมายของตนทุนการผลิตตาง ๆ ในทางเศรษฐศาสตร ตนทุนที่ชัดแจง (explicit cost) หมายถึง คาใชจายตางๆ ที่ กิจการไดจายเงินออกไปจริงๆ สําหรับใชในกระบวนการผลิตทั้งหมด ไดแก คาวัตถุดิบ คาแรง คาไฟฟา คาโทรศัพท เปนตน ตนทุนไมชัดแจง (implicit cost) หรือ ตนทุนแฝง หมายถึง คาใชจายที่ไมไดออกเงินไปจริงๆ ซึ่งหมายถึง ตนทุนคาเสียโอกาส เชน นําตึกแถวที่เคยใหเชามาทําเปนรานอาหาร เปนตน ตัวอยาง นายเหลิม เปนเกษตรกรเลี้ยงควายอยู 3 ตัวเพื่อใชไถแปลงปลูกตน ทานตะวันขาย ซึ่งหากเขาไมใชควาย ตองจางรถไถเสียคาใชจาย 5. แสงแดด. ชาวนา.000 บาท สําหรับที่ดินเปน มรดกของเขา ซึ่งชาวบานขางๆตองเชาที่ 1.ระยะเวลาในการผลิต การผลิตระยะสั้น (short-run period) หมายถึง ระยะเวลาที่ ปจจัยการผลิตบางตัวไมสามารถเปลี่ยนแปลงได จึงถือวาเปนปจจัย คงที่ การเปลี่ยนแปลงของขนาดผลผลิตทําไดโดยการเปลี่ยนแปลง ขนาดของการใชปจจัยผันแปรเทานั้น ปจจัยการผลิตบางชนิดเปลี่ยนแปลงได เราเรียกวา ปจจัยผันแปร ปจจัยการผลิตบางชนิดเปลี่ยนแปลงไมได เราเรียกวา ปจจัยคงที่ การผลิตระยะยาว (long-run period) หมายถึง ระยะเวลาที่ ปจจัยการผลิตทุกตัวสามารถเปลี่ยนแปลงได เมื่อหนวยผลิตตองการ เปลี่ยนแปลงขนาดของการผลิต ฟงกชันการผลิต แสดงความสัมพันธระหวางปจจัยการผลิตกับปริมาณผลผลิตที่ไดรับ จากการผลิต Q = f(a1.
000 บาท.000 บาท นอกจากนี้บัวสวรรคคาด วาจะมีผลกําไรจากงานของวริศ 35. TR) คือ รายรับทั้งหมดที่ ผูผลิตไดรับ จากการขายสินคาและบริการของตนตามราคาตลาด คือ ราคาสินคาตอ หนวย คูณดวยปริมาณผลผลิตที่ขายได TR = P x Q เมื่อ P = ราคาตอหนวย Q = ปริมาณผลผลิตที่ขาย .000 บาท คาใชจายจิปาฐะ 40.ตนทุนการผลิต (Cost of Production) ตนทุนทางบัญชี หมายถึง คาใชจายตางๆ ที่กิจการไดจายออกไป และบันทึกรายการไวในบัญชีของกิจการ ซึ่งก็คือสิ่งเดียวกับตนทุน แจงชัด ตนทุนทางเศรษฐศาสตร หมายถึง คาใชจายทุกชนิดที่จําเปนตอการ ผลิต ไมวาจะมีการจายเงินออกไปหรือไม ตนทุนทางเศรษฐศาสตร จะรวมตนทุนแจงชัดและตนทุนไมแจงชัดไวดวย ดังนั้น ตนทุนทาง เศรษฐศาสตรจะสูงกวาตนทุนทางบัญชี ตนทุนการผลิต (Cost of Production) ตนทุนเอกชน (Private cost) หมายถึง คาใชจายทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับ ผู ผ ลิ ต จากการใช ป จ จั ย การผลิ ต ต า งๆในการผลิ ต หรื อ ต น ทุ น ทาง เศรษฐศาสตรนั่นเอง ประกอบดวย ตนทุนภายใน (internal cost) : เกิดขึ้นภายในกิจกรรมหนึ่งๆ โดยสวนใหญตนทุนเอกชน จะไมรวมตนทุน ภายนอก ดังนั้นตนทุนสวนใหญของเอกชนจะเปนตนทุนภายใน ตนทุนสังคม (Social Cost) หมายถึง คาใชจายทุกชนิดที่เกิดขึ้นกับสังคม จากการผลิตสินคานั้นๆ ซึ่งมีคาเทากับตนทุนเอกชนบวกกับตนทุนภายนอก ตนทุนภายนอก (external cost) : เกิดจากการกระทําของโรงงาน แตผลไปตกอยูกับบุคคลภายนอกที่ไมไดเกี่ยวของกับการผลิต เชน การปลอยน้ํา เสีย การปลอยควันพิษ ตัวอยาง น.ส.000 บาท และไดความนาเชื่อถือซึ่งอาจ ประเมินเปนตัวเงินได 40. รายรับรวม (Total Revenue.000 บาท จงคํานวณหาตนทุนทางบัญชี และ ตนทุนทางเศรษฐศาสตร รายรับจากการผลิต (Revenue) คือ รายไดที่ผูผลิตไดรับจากการขายผลผลิตของตนตามราคาตลาด ซึ่ง แบงออกได 2 ชนิด คือ 1. คาเชาสถานที่ ( office ของ บัวสวรรค ) 100.บัวสวรรค รับจัดงานวิวาหโดยมีการลงรายการบัญชีตลอด ดังนี้ คาแรงงาน 50.
AR) คือ รายรับตอหนวย (P) ที่ผูผลิตไดรับจากการขายสินคาและบริการของตน โดยคํานวณ ได โดยการหารรายรับทั้งหมดดวยปริมาณขาย ดังนี้ ดุลยภาพของผูผลิต ดุลยภาพของผูผลิตจะเกิดขึ้นเมื่อผูผลิตไดรับกําไรสูงสุดจากการขาย สินคาและบริการที่ผลิต (Maximize Profit) โดยที่กําไร (Profit. π) = TR − TC ตัวอยางการคํานวณรายรับ ราคา 11 10 9 8 7 6 5 4 ปริมาณซื้อ 0 10 20 30 40 50 60 70 รายรับรวม รายรับเฉลี่ย กําไรทางบัญชี ( Accounting Profit ) คือ ผลตางระหวาง รายรับรวมกับตนทุนทางบัญชี กําไรทางเศรษฐศาสตร ( Economic Profit ) คือ ผลตาง ระหวางรายรับรวมกับตนทุนทางเศรษฐศาสตร .รายรับจากการผลิต (Revenue)(ตอ) 2. รายรับเฉลี่ย (Average Revenue. π) หาไดจากผลตางระหวางรายรับรวม (TR) กับตนทุน ทั้งหมด (TC) กําไร (Profit.
000 บาท และ50.000 100.000 บาท ตามลําดับ นางสาวแดง ไดรับกําไรประเภทใดในทางเศรษฐศาสตร .000 200.000 บาทมาเปนรานอาหาร ในปนี้ แดงไดราย ไดทั้งหมด 500.000 0 กําไรปกติ ป 2553 350. ทั้งนี้กําไรทางเศรษฐศาสตร สามารถแบงไดเปน 3 กรณี คือ กําไรทางเศรษฐศาสตร เทากับศูนย แสดงวาการผลิตนั้นมีเพียง กําไรปกติเปนคาตอบแทนที่ผูประกอบการไดรับเทานั้น ไมได ดึงดูดใจใหผูประกอบการรายใหมๆเขามา กําไรทางเศรษฐศาสตรมีคามากกวาศูนย แสดงวามีกําไรเกินปกติ ( Abnormal Profit.000 บาท แตตองเสียคาจางพนักงานเสิรฟและวัสดุตางๆ เปนจํานวน 350.000 100.000 บาท ตอมาแดงลาออกมาเปดรานอาหาร โดยเอาตึกแถวที่ตนเอง เคยใหคนอื่นเชาปละ 20.200 สถานะ ตัวอยางการหาดุลยภาพของผูผลิต รายการ รายได หัก ตนทุนชัดแจง กําไรทางบัญชี หัก คาเสียโอกาส กําไรทางเศรษฐศาสตร สถานะ ป 2552 300.000 150.000 100.000 กําไรทางเศรษฐศาสตร นางสาวแดงเปนพนักงานของบริษัทแหงหนึ่ง ซึ่งไดรับเงินเดือนคิดไดปละ 50.000 400 1. Excess Profit ) ซึ่งถือวากําไรสวนนี้ เปนกําไรทางเศรษฐศาสตร ( Economic Profit ) ซึ่งจะดึงดูด ใหผูผลิตรายใหมเขามา กําไรทางเศรษฐศาสตรมีคาติดลบ แสดงวาหนวยผลิตนั้นขาดทุน ตัวอยางการหาดุลยภาพของผูผลิต ปริมาณ (Q) 0 1 2 3 4 5 ราคา (P) รายรับ ตนทุนรวม กําไร รวม (TR) (TC) 400 500 400 700 400 800 400 900 400 1.000 50.000 200.