You are on page 1of 8

ธรรมะกับการลงทุน

...สู่เศรษฐีแสนสุข
จากการเสวนา เรื่อง
“สอนวาณิชให้เป็นเศรษฐี”
โดย
ธรรมะกับการลงทุน...สู่เศรษฐีแสนสุข
พระมหาวุฒชิ ยั วชิรเมธี จากการเสวนา เรื่อง “สอนวาณิชให้เป็นเศรษฐี”
(ว.วชิรเมธี) เนื่องในโอกาสครบรอบ 35 ปี
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ณ อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
วิสัชนาโดย พระมหาวุฒชิ ยั วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี)
ผู้อำ�นวยการสถาบันวิมุตตยาลัย
ปุจฉาโดย คุณภัทรียา เบญจพลชัย
กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
คุณมนตรี ศรไพศาล
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
บริษัทหลักทรัพย์ กิมเอ็ง จำ�กัด (มหาชน)
และท่านผู้มีเกียรติเข้าร่วมการเสวนา
ปุจฉา: ทำ�ไมนักลงทุนจึงจำ�เป็นต้องใช้ธรรมะเป็นหลักนำ�
วิสัชนา: ธรรมะจำ � เป็ น สำ � หรั บ นั ก การเงิ น และนั ก ลงทุ น
เพราะผูท้ อ่ี ยูใ่ นภาคการเงิน การลงทุนอยูก่ บั เงินทัง้ ของตนเอง
และของคนอื่น เขาเรียกว่าเป็นวาณิช ธุรกิจที่เขาทำ�จึงมีชื่อว่า
“วาณิชธุรกิจ” คนไทยหยิบเอาคำ�ว่า “ธุรกิจ” มาใช้แทนคำ�ว่า
“วาณิช” แต่ในบริษัทหลักทรัพย์ทั้งหลายก็ยังคงใช้คำ�ว่า
“วาณิชธนกิจ” อยู่ วาณิช หมายถึง คนที่มีเงินมาก คนที่รำ�รวย
คนที่มั่งคั่ง คนที่ถือครองทรัพยากรเงินเป็นจำ�นวนมาก นี่คือ การแข่งขันที่มีแต่สุข ประการแรกคือ
“วาณิช” แต่ถ้าวาณิชคนไหนรวยแล้วก็ให้ ได้แล้วก็แบ่งปัน ต้องอยู่บนทางสายกลาง คือ
วาณิชคนนั้นจะขยับฐานะขึ้นมาเป็นเศรษฐี แต่ในเมืองไทย
นิยามคำ�ว่า “เศรษฐี” ว่าหมายถึง คนรวย แต่แท้จริง คุณภาพชีวิตและคุณภาพของการแข่งขันนั้น
ในทางพุทธศาสนา ท่านแยกกัน คนรวยธรรมดาๆ ถือครอง บรรจบกันได้
ทรัพยากรการเงินมากกว่าชาวบ้าน ท่านเรียกว่า “วาณิช” ประการที่สอง แรงจูงใจของการแข่งขันนั้น
แต่วาณิชที่รวยแล้วก็ให้ ได้แล้วก็แบ่งปัน ท่านเรียกว่า “เศรษฐี” มีปัญญากำ�กับไปด้วยเสมอไป
เพราะ “เศรษฐี แปลว่า ผู้ประเสริฐ” คนที่เป็นวาณิชก็สามารถ
เป็นเศรษฐีได้ คนที่เป็นเศรษฐีก็สามารถเป็นวาณิชได้ ถ้ารู้จัก ก็เป็นการแข่งขันที่เป็นไปได้
จับหัวใจที่ว่า “รวยแล้วให้ ได้แล้วแบ่งปัน” ในโลกของความเป็นจริง
ในสมัยพุทธกาลมีมหาเศรษฐีซึ่งแต่เดิมเป็นวาณิช
ชือ่ ทีไ่ ด้จากการทำ�คุณงามความดี อย่างคุณบุญชู โรจนเสถียร
มีชอ่ื เสียงมาจนทุกวันนี้ มหาเศรษฐีทา่ นนีช้ อ่ื “สุทตั ตะวาณิช”
ได้ฉายาว่าเป็นซาร์เศรษฐกิจ (Czar) นีค่ อื ตัวอย่างของคนที่
อาตมาเรียกท่านว่า บิลเกตส์แห่งยุคพุทธกาล เพราะใช้เงิน
เปลีย่ นตัวเองจากนักลงทุนธรรมดาเป็นมหาเศรษฐี เพราะรูจ้ กั
สร้างวัดประมาณพันล้านบาท วาณิชคนนี้ รำ�รวยจากการเป็น
เปลี่ยนเงินเป็นบุญ เปลี่ยนทุนเป็นธรรม ท่านอนาถบิณฑิก
วาณิชด้วยตัวเอง แล้วก็ตั้งโรงทาน 4 มุมเมือง ให้ทานทุกวัน
มหาเศรษฐีคนนี้ได้สละทรัพย์สินของตัวเองจำ�นวนมหาศาล
แจกข้าวปลาอาหาร จนคนยกย่องเป็นสุดยอดของผู้ให้และ
สร้างวัดให้พระพุทธองค์ประทับ วัดนี้คือ วัดเชตวันมหาวิหาร
ตั้งชื่อให้ใหม่ว่า อนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี อนาถะ คือ อนาถา
เป็นวัดที่มีการวาง Landscape ที่ดีมากๆ ทุกวันนี้นักศึกษา
บิณฑ แปลว่า ก้อนข้าว มหาเศรษฐี คือ วาณิชที่รู้จักแบ่งปัน
จำ�นวนมากทีเ่ รียนด้านการออกแบบ ด้านสถาปัตย์โบราณ นิยม
อนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี แปลว่า มหาเศรษฐีที่ให้ก้อนข้าว
ไปศึกษาการวางแผนผังของวัดนี้ และเป็นวัดที่พระพุทธองค์
แก่คนอนาถา จนคนลืมชือ่ เดิม และเรียกสามานยนามซึง่ เป็น
ประทับถึง 19 พรรษา มากกว่าทุกวัดในพุทธกาล เพราะ
คฤหาสน์ของเศรษฐีอยู่ตรงข้ามวัด พระพุทธองค์สนิทสนม หมายความว่า ถ้าเราพอส่วนตน ที่เหลือเราก็เจือจานสังคม
คุน้ เคยกับมหาเศรษฐีผนู้ ม้ี าก เพราะเข้าวัดบ่อยครัง้ เกือบทุกวัน ยิ่งพอเพียงกลายเป็นประเทศยิ่งได้รับสวัสดิผล เพราะ
และมีความสนิทสนมกับพระพุทธองค์เป็นอย่างดี ท่านเลื่อน ทรัพยากรจะถูกกระจายจากคนที่พอแล้วไปยังคนที่ยังไม่มี
ตัวเองมาเป็นมหาเศรษฐีเพราะรวยแล้วก็ให้ ได้แล้วแบ่งปัน หรือมีแต่ยังไม่พออยู่พอกิน ดังนั้น เศรษฐกิจพอเพียงหลักๆ
ทัง้ แก่สาธารณชนและพระศาสนาเช่นนี้ ก็เป็นอีกหนึง่ ประจักษ์ จะทำ�ให้เรามั่งคั่งอย่างยั่งยืน และการกระจายทรัพยากรนั้น
พยานว่า ธรรมะกับเรื่องธุรกิจไปด้วยกันได้เป็นอย่างดี ไม่ได้ เป็นเรื่องที่เป็นไปอย่างยุติธรรมและทั่วถึง นี่ต่างหาก คือสิ่งที่
ขัดแย้งเลย ถูกต้อง แม้แต่หลักพุทธศาสนา พระพุทธองค์ยังทรงตรัสไว้ว่า
“ความงามของกษัตริย์คือการมีรัฐที่มั่งคั่ง” ฉะนั้นพระองค์
ท่านเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงทศพิธราชธรรม ย่อมทรง
ปุจฉา: การเป็นนักลงทุนนั้นถือได้ว่าเป็นวาณิช และวาณิชนั้น เข้าใจปรัชญาการเมืองการปกครองเป็นอย่างดี ปัญหาก็แต่
สามารถเป็นเศรษฐีได้ ขอพระอาจารย์ขยายความในส่วนของ เราทั้งหลายที่มีพ่อที่ลึกซึ้ง แต่เราช่างเป็นลูกที่ตื้นเขิน ถ้าเรา
สมชีวิตตา หรือใช้ชีวิตพอเพียงแก่นักลงทุน และให้แนวทางสู่ จับเอาหัวใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ การลงทุนใน
การเป็นเศรษฐีที่มีความสุข ตลาดทุนก็เป็นเรือ่ งทีไ่ ปกันได้ เพราะเราต้องใช้คณ
ุ ธรรม ซึง่ เป็น
เงือ่ นไขของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างครบถ้วนเลยทีเดียว
วิสัชนา: ถ้าเราอยากจะรู้ว่า เศรษฐกิจพอเพียงไปกันได้กับ
การลงทุนในหุ้นไหม เราก็ต้องมาดูก่อนว่า อะไรคือปรัชญา สำ�หรับ “สมชีวติ า” คือ การรูจ้ กั ใช้ชวี ติ หมายความว่า
ของเศรษฐกิจพอเพียง พระองค์ท่านบอกว่า ให้มีเหตุผล คุณประมาณตัวเองออก บอกตัวเองได้ ใช้ตัวเองเป็น
ให้รู้จักพอประมาณ และทำ�อะไรต้องไม่ประมาท ใช้ทาง ว่าสถานภาพทางการเงินของคุณมีแค่ไหน ถ้าคุณประมาณ
สายกลาง หยัดยืนบนขาของตนเอง สำ�คัญที่สุด ต้องมีเงื่อนไข ตัวเองออกว่าสถานภาพทางการเงินของคุณยังต้องหาเช้า
คุณธรรมด้วย ถ้าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นอย่างนี้ กินคำ�อยู่ แล้วคุณใช้เงินมือเติบ จ่ายเติบ หน้าใหญ่ใจโต
คือ ยึดหลักความจริง ไม่วูบวาบไปกับฟองสบู่ ท่านทรงรับสั่ง รายได้ตำ�แต่รสนิยมสูง นี่ถือว่า ผิดหลักพอเพียง แต่ถ้าคุณ
เสมอว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชีวติ ถ้าเป็น บอกว่าตนเป็นคนจน ยังหาเช้ากินคำ� คุณก็ต้องรู้จักประมาณ
อย่างนี้ การลงทุนในหุ้นก็เป็นสิ่งที่ไปกันได้ แต่สิ่งที่เรา การค่าใช้จ่ายของคุณให้พอเหมาะกับสถานภาพของคุณที่
เข้าใจผิดก็คือ เวลาที่พูดถึงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พอเพียงแบบคนจน แต่ถ้าคุณเป็นคนรวย มีเงินเป็นหมื่นล้าน
เรามักจะคิดว่าพระองค์ท่านสอนให้เรายากจน นี่คือความ อยู่แล้ว คุณมานุ่งเสื้อม่อฮ่อม สวมหมวกแบบชาวนา มาใช้
เข้าใจผิดอย่างสิ้นเชิง คงไม่มีผู้นำ�ประเทศไหน อยากให้ ชีวิตนุ่งเจียมห่มเจียม ถ้าอย่างนั้นต้องถือว่าไม่รู้จักสถานภาพ
ประชาชนพลเมืองของตัวเองยากจนกันทั้งประเทศ เพราะนั่น ทางการเงินของตนเอง ไม่รู้จักครองชีวิตให้พอเหมาะพอสม
หมายถึงประเทศที่ไม่มีอนาคต แท้ที่จริง ถ้าเราพอเพียง เราก็ กับศักยภาพและสถานภาพทางการเงินของตนเอง ฉะนั้น
จะยิ่งมั่งคั่ง เพราะยิ่งพอก็ยิ่งพัฒนา หรือยิ่งพอก็ยิ่งพัฒน์ เราควรประเมินก่อนว่า หนึ่ง ประเมินสถานภาพทางการเงิน
ของเรา สอง เราจะใช้ชีวิตแค่ไหน ถ้าคุณยังจนก็ให้พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ฉะนั้น “อุ-อา-กะ-สะ” หรือ
อย่างคนจน รู้จักประมาณตน แต่ถ้าคุณเป็นเศรษฐี “หัวใจเศรษฐี” คือ ขยันหา รักษาดี มีกัลยาณมิตร ใช้ชีวิต
ฐานะการเงินมั่นคงแล้ว คุณก็ใช้ชีวิตอย่างเศรษฐีได้ อย่างพอเพียง ใครทำ�ได้คนนั้นก็รวย เห็นมั้ยพระพุทธองค์
แล้วทางสายกลางอยู่ตรงไหน ก็อยู่ตรงที่คุณเป็นเศรษฐีที่ ไม่เชยเลยนะ ขยันหา ก็หมายความว่า ให้เราขยันทำ�มา
ไม่เบียดเบียนตนและไม่เบียดเบียนคนอื่น ตรงนี้ต่างหากที่ หากิน ขี้เกียจอย่างไรก็ไม่รวย เงินทองนั้นเป็นของกลางวาง
เป็นทางสายกลาง เรามักจะเข้าใจผิดว่า พุทธกับธุรกิจ พุทธกับ อยู่ทุกแห่งหน ใครขยันคนนั้นก็ได้ถือครอง ฉะนั้นเราต้อง
ความรวย เข้ากันไม่ได้ เป็นโลกทัศน์ที่ผิดกันอย่างสิ้นเชิง ขยันหา รักษาดี คือ เมื่อได้เงินมาแล้วต้องมีการบริหาร
เพราะถ้าไปกันไม่ได้ อภิมหาเศรษฐีก็เกิดไม่ได้ ที่คุณโยม จัดการเงินให้เป็น การบริหารจัดการเงินให้ทำ�ดังต่อไปนี้
ถามคือ พระพุทธองค์ทรงสอนเรื่อง “หัวใจเศรษฐี” เอาไว้นั้น หนึ่ง เก็บไว้เป็นเงินคงคลังเพื่อความมั่นคงของชีวติ คุณได้เงิน
คุณโยมลองพิจารณาดูว่าไปด้วยกันได้มั้ย มาแล้วต้องแบ่งก้อนเงินเอาไว้ เป็นเงินสำ�รองคงคลังเพื่อ
หัวใจเศรษฐีมี 4 ข้อที่คนโบราณท่องกัน พ่อค้าแม่ ความมั่นคงของชีวิต คนมีเงินจึงสุขภาพจิตดี เพราะรู้ว่าเขา
ขายที่เป็นชาวบ้าน ร้านโชห่วย เป็นผู้ประกอบการรายย่อย มั่นคง พระพุทธองค์ก็เข้าใจดีนะ สอง นำ�มาเลี้ยงชีพเลี้ยงชีวติ
เอส เอ็ม อี เวลาไปหาพระ พระจะเป่ากระหม่อม “พ่วง” ให้ตัวเอง ญาติ พี่น้อง บริษัท บริวาร กินอิ่ม นอนอุ่น คือ
“อุ-อา-กะ-สะ-รวย” ผลคือ พระรวย แต่โยมจน นี่เรียกว่า คุณหามาได้ คุณก็ต้องใช้ให้เป็นด้วย ไม่ใช่เก็บอย่างเดียวเป็น
เราเอาหัวใจเศรษฐีมา แต่เราไม่ได้เอาแก่นมา คำ�ว่า ปู่โสมเฝ้าทรัพย์ แต่ให้ตัวเองและญาติพี่น้องได้กินอิ่ม นอนอุ่น
“อุ-อา-กะ-สะ” นั้น อุ มาจากคำ�ว่า อุฎฐานสัมปทา แปลว่า ข้อสาม คือ เอาเงินไปต่อเงิน คือ ทำ�ธุรกิจด้วย แสดงว่า
ขยัน อา มาจาก อารักขสัมปทา แปลว่าหมั่นรักษา กะ มา พระพุทธองค์เข้าใจเรื่องการลงทุนเป็นอย่างดี ประการที่สี่
จาก กัลยาณมิตตตา คือให้คบคนดี สะ มาจาก สมชีวิตา คือ พระองค์ท่านใช้คำ�ว่า “ราชพลี” แปลว่า เสียภาษีให้รัฐด้วย
มีชีวิตที่พอเพียง พระองค์ท่านก็หยิบเอา สมชีวิตา มาใช้ คือ ทันสมัยมั้ยคุณโยม พระพุทธองค์ให้เสียภาษีแก่รัฐด้วย ข้อห้า
ท่านบอกว่า บำ�รุงศาสนชีพราหมณ์และผู้ทรงศีล ซึ่งเป็น
สดมภ์หลักทางจิตใจและปรัชญาของสังคม ให้ท่านได้กินอิ่ม
นอนอุ่นจะได้มีเรี่ยวแรงในการแสดงพระธรรมคำ�สอน ยึดกุม
จิ ต ใจประชาชนให้ มี บ รรทั ด ฐานทางจริ ย ธรรมจะได้ อ ยู่
ร่วมกันในสังคมที่สันติ ข้อสุดท้าย ท่านบอกว่า ให้ทำ�บุญให้กับ
ญาติวงศาที่ล่วงลับไปแล้ว ใช้เงินเพื่อความกตัญญู คุณโยมจะ
เห็นว่าหลักการใช้เงินของพระพุทธองค์ครอบคลุมทั้งหมด
ดังนั้น ที่ถามมา อาตมาจึงกล้ายืนยันได้เลยว่าเราสามารถใช้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ในการลงทุนและการทำ�ธุรกิจ
คือมีการเอารัดเอาเปรียบกัน ไม่มีคุณธรรม การแข่งขันแบบ
ก็อดฟาเธอร์ เสนอเงื่อนไขแบบปฏิเสธไม่ได้ ถ้าเป็นอย่างนี้
ในทางธรรมะก็ยอมรับไม่ได้
การแข่งขันในทางพุทธศาสนายอมรับ คือการแข่งขัน
ทีเ่ ป็นธรรม ผูแ้ ข่งขันต่างต้องตระหนักรูใ้ นกติการ่วมกัน ไม่กดี กัน้
ตั้งแต่ต้น ถ้าเป็นอย่างนี้ก็เป็นการแข่งขันที่เป็นไปได้
หลักง่ายๆ ที่สำ�คัญถ้าจะแข่งขันให้เป็นสุข คือ การแข่งขันที่
ปุจฉา : ตลาดหลักทรัพย์เองก็ใช้หัวใจเศรษฐี โดย “เปลี่ยนเงิน ไม่เบียดเบียนตน และไม่เบียดเบียนคนอื่น ไม่เบียดเบียนตน
ให้เป็นบุญ และเปลี่ยนทุนให้เป็นธรรม” ด้วยการแบ่งปันเชิง หมายความว่า ไม่ได้มุ่งจะแข่งขันให้มีเงินมีทองมากมาย
ปัญญาด้านการศึกษา ทำ�หนังสือให้เยาวชนและประชาชนทั่วไป มหาศาล แต่เมื่อกลับเข้าบ้าน คุณไม่มีเวลากินข้าวกับลูก
ได้รู้จักหา รู้จักเก็บ รู้จักใช้ รู้จักลงทุนขยายผล สร้างภูมิคุ้มกัน และภรรยาเลย หรือทะเลาะกันเป็นปีๆ แต่คุณทำ�ดีได้กับ
ด้านการบริหารจัดการเงินให้แก่สังคมไทย โดยตลาดหุ้นอยู่ใกล้ ลูกน้องทุกคน อย่างนี้ไม่ถูกต้อง ขอให้ถือหลักทางสายกลาง
กับธรรมะ สามารถให้คนทั่วไปเป็นเศรษฐีได้ด้วยธรรมะและด้วย ของการแข่งขันว่า การทำ�งานหรือการแข่งขันประสานกับ
ทุนทางปัญญา พร้อมกันนี้ ขอถามแทนคนทำ�งานว่า ที่การแข่งขัน คุณภาพของชีวิต นั่นก็คือผลสัมฤทธิ์ของการแข่งขันบนทาง
เกิดขึ้นในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ ระหว่างธุรกิจ องค์กรธุรกิจ สายกลาง คุณภาพชีวิตก็ยังดีอยู่ และเราก็ประสบความสำ�เร็จ
และคนในองค์กรด้วยกันเอง ในทางหนึ่งการแข่งขันก็เป็นพลังที่ ด้วยพุทธศาสนาก็ยอมรับได้ แต่ถ้าเราแข่งขันแล้วตัวเอง
ทำ�ให้คนเราอยากทำ�ให้ตัวเองเจริญก้าวหน้าและเติบโต ซึ่งส่ง ก็ป่วย และเราก็หาวิธีทำ�ร้ายคู่แข่งทั้งด้านเปิดเผยและด้านมืด
ผลดีกับองค์กรธุรกิจ แต่การแข่งขันก็เป็นทุกข์ในบางครั้ง ถ้าชนะ ถ้าเป็นอย่างนีพ้ ทุ ธศาสนาก็ยอมรับไม่ได้ สอง ในการแข่งขันนัน้
ก็มีความสุข ถ้าไม่ชนะก็มีความทุกข์ ทำ�อย่างไรให้การทำ�งาน จะดูว่าเป็นธรรมหรือไม่เป็นธรรม พุทธศาสนายอมรับได้หรือ
มีการแข่งขัน มีพลัง ในขณะเดียวกันก็มคี วามสุขด้วย ไม่เบียดเบียน ไม่ได้ ให้ไปดูที่แรงจูงใจในการแข่งขัน ถ้าแรงจูงใจนั้นมาจาก
ซึ่งกันและกัน ความโลภล้วนๆ ไม่มีสติเลย ไม่คำ�นึงถึงสังคมเลย มุ่งกำ�ไร
สูงสุดอย่างเดียว ไม่สนใจว่าขณะที่ฉัน กำ�ไรประเทศชาติต้อง
วิสัชนา: เรื่องการแข่งขันก็เป็นอีกประเด็นหนึ่งที่บางครั้ง ขาดทุนเท่าไหร่ เป็นทุนนิยมที่ไม่มีหัวใจล้วนๆ โดยโลภะ คือ
คนที่สนใจธรรมะไม่อยากเข้ามายุ่งด้วย เพราะมองว่าเป็น ใช้ความโลภนำ�ทาง นีเ่ ป็นการแข่งขันทีพ่ ทุ ธศาสนาไม่เห็นด้วย
กิจกรรมทางโลก เป็นกิจกรรมของคนที่มีกิเลส แต่แท้จริงแล้ว เพราะเป็นการแข่งกันไปเพื่อหายนะ แต่ถ้าเป็นการแข่งขัน
การแข่งขันมีสองรูปแบบ หนึ่ง การแข่งขันที่เป็นธรรม สอง คือ บนแรงจูงใจอีกอย่างคือ ปัญญา ปัญญารู้คิด รู้พิจารณาใน
การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม การแข่งขันที่เป็นธรรมนั้นเป็นทาง การแข่งขัน ทำ�อย่างปัญญาชน คนมีอารยธรรมเขาทำ�กัน
สายกลางที่ธรรมะยอมรับได้ แต่การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม เมื่อเราแข่งขันได้เงิน ได้ทอง ได้กำ�ไรมา เราก็ไม่ทิ้งสังคม
เรายังเผื่อแผ่แบ่งปันเจือจานสังคมด้วย นี่ก็เป็นการแข่งขัน ทำ�ให้รวย นี่เป็นสิ่งที่สะท้อนชัดเจนว่า ลึกๆ แล้วมนุษย์
บนรากฐานของปัญญา ไม่เบียดเบียนตน ไม่เบียดเบียน ถวิลหาเงินมาโดยตลอด ดังนั้น เวลาเราให้พรจึงแสดงออกมา
สังคม ขณะเดียวกันแรงจูงใจก็เกิดจากปัญญา ไม่ใช่เพราะ อาตมาไปเวียดนาม เทพที่คนเวียดนามส่วนใหญ่บูชาจะเป็น
หน้ามืดตามัว จองล้างจองผลาญให้จบให้สิ้นไป ถ้าไม่ใช่ เทพแห่งปัญญา แต่เมืองไทยเทพทุกองค์ที่บูชา มักเป็นเทพ
อย่างนั้นก็แข่งขันได้ แห่งความมั่งคั่ง เช่น จาตุคามรามเทพก็เป็นเทพแห่งความ
มั่งคั่ง พระพิฆเณศ เราก็ขอความมั่งคั่ง พระพรหมเราก็ขอ
กล่าวอย่างสัน้ ทีส่ ดุ การแข่งขันทีม่ แี ต่สขุ ประการแรก
ความมั่งคั่ง พระเกจิอาจารย์ที่เราไปหาท่านก็เป็นที่ขึ้นชื่อถึง
คือ ต้องอยู่บนทางสายกลาง คือ คุณภาพชีวิตและคุณภาพ
ความมั่งคั่งทั้งนั้น แนวคิดที่ว่ารำ�รวยมั่งคั่งคือจุดหมายสูงสุด
ของการแข่งขันนั้นบรรจบกันได้ ประการที่สอง แรงจูงใจของ
ของชีวติ ก็กนิ พืน้ ทีล่ กึ เข้าไปแม้กระทัง่ พืน้ ทีใ่ นจิตวิญญาณด้วย
การแข่งขันนั้นมีปัญญากำ�กับด้วยเสมอไป ก็เป็นการแข่งขัน
เรื่องนี้เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ว่า พื้นฐานของมนุษย์ต้องการความ
ที่เป็นไปได้ในโลกของความเป็นจริง
มั่นคงในชีวิต และเงินเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่า ถ้าเรามีเงิน
เราจะมีความมั่นคงในชีวิต ไม่ผิดนะ ถ้าคนอยากจะมีเงิน
แต่มันจะผิดถ้าคุณมีเงินแล้วคุณคิดว่า นั่นคือเป้าหมายสูงสุด
ปุจฉา: ในสังคมไทยเราอาจถูกปลูกฝังมาตัง้ แต่เด็กว่า เรือ่ งเงิน ของชีวิต เราต้องปรับนิดหนึ่งว่า มีเงินได้ แต่โปรดอย่า
นั้นสำ�คัญที่สุด แม้แต่การให้พรหรือการขอพร หลายคนบอกว่า เข้าใจผิดว่า เงินคือเป้าหมายสูงสุดของชีวิต เงินนั้นสถานภาพ
ขอให้รวย ขอให้รวย ไม่ทราบว่าพระคุณเจ้ามีคำ�แนะนำ�ในเรื่อง ที่แท้จริงคือปัจจัย คือเครื่องอำ�นวยความสะดวกในการดำ�รง
การให้พร “ขอให้รวย” อย่างไร ชีวติ พูดอีกอย่างหนึง่ ว่าเรามีเงินเพือ่ ต่อจากเงินไปหาคุณภาพ
วิสัชนา: อาตมามีประสบการณ์ตรง คุณโยมเอาปัจจัยมา ชีวิต ถ้ามีเงินแล้วต้องถามตัวเองว่า แล้วคุณมีคุณภาพชีวิตมั้ย
ถวาย อาตมาก็ให้พรว่า ขอให้ใช้ชีวิตท่ามกลางนักปราชญ์
ราชบัณฑิต คุณโยมก็นิ่ง อาตมาก็บอกใหม่ว่า ขอให้มี
ดวงตาเห็นธรรม คุณโยมก็ยังนิ่งอีก ทีนี้ อาตมาบอกใหม่
ว่าขอให้มีสุขภาพดี คุณโยมก็เริ่มหน้าชื่น แต่พอบอกว่า
“ขอให้รวย” เท่านั้นแหละ คุณโยมรีบสาธุเลย อาตมาก็ลอง
ด้วยนะ ครั้งหนึ่งมีโยมไปถวายกฐินที่วัด โยมเอาอัญชลีวันทา
อภิวาทกราบหนึ่งพันล้าน สาธุ กราบสองพันล้าน กราบสาม
พันล้าน ติดอกติดใจกราบกันนะ อยากจะกราบอีก คือลอง
ดูว่าปฏิกิริยาจะเป็นอย่างไร อันนี้ชัดเจนที่สุด คนจะเลือก
ไปหาพระหรือหลวงพ่อที่เชื่อกันว่าเป็นขุนขลังขมังเวทย์ที่จะ
ถ้ามีเงินแล้วบอกว่าชีวิตฉันถึงจุดสูงสุดแล้ว ประสบความ ทั้งประชาชนทั่วไปว่า เราต้องหันมาทำ�ความเข้าใจเรือ่ งเงิน
สำ�เร็จแล้ว อันนี้ถือว่าเป็นทัศนคติที่ถือว่าผิดพลาดอย่างยิ่ง ใหม่วา่ เงินคือปัจจัย ไม่ใช่เป้าหมายสูงสุดของชีวิต เมื่อไหร่
เพราะศักยภาพของมนุษย์ไม่ได้ถูกออกแบบเพื่อหาเงินแต่ ก็ตามเมื่อเงินถูกใช้เป็นปัจจัยโดยการเปลี่ยนเงินเป็นบุญ
เพียงอย่างเดียว อาตมาภาพได้อา่ นชีวประวัตขิ องเลโอนาร์โด เปลี่ยนทุนเป็นธรรมได้เมื่อไหร่ เมื่อนั้นเมืองไทยจะมีความ
ดา วินชี มนุษย์แห่งยุคเรอเนสซองค์ เป็นจิตรกรเอกของโลก รำ�รวยทางเศรษฐกิจ มีความมั่งคั่งมั่นคง และมีสันติสุขใน
เป็นนักคิด นักปรัชญา นักชลประทาน นักยุทธศาสตร์ สังคมร่วมกัน แค่เราเปลี่ยนท่าทีหรือวิธีปฏิสัมพันธ์ต่อเงิน
นักประดิษฐ์ นักปราชญ์ มนุษย์นั้นโดยศักยภาพพืน้ ฐาน เท่านั้น ก็เป็นประตูเปิดไปสู่ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจก็ได้
มีศกั ยภาพมากมายหลายด้าน แต่ดว้ ยระบบการศึกษาของ มั่นคงทางสังคมก็ได้ อบอุ่นในทางจิตใจก็ได้ เงินนั้นจึงเป็น
เราพยายามลดทอนศักยภาพของมนุษย์ให้เป็นนักใดนักหนึ่ง ทั้งต้นทางไปสู่ความสุข อาตมาเองก็แสวงหาทางสายกลางใน
เช่น นักการเงิน นักลงทุน นักการตลาด นักการเมือง การให้พรว่า “ขอให้คุณโยมมีชีวิตที่มีความร่มเย็นเป็นสุข ให้
นักแสดง นักพูด นักเขียน เราลืมไปว่า แท้ที่จริงมนุษย์หนึ่งคน มีเงินมีทองรำ�รวยมั่งคั่งเป็นหมื่นล้านแสนล้าน แต่รวยแล้ว
สามารถเป็นได้ทุกนักนั่นแหล่ะ แล้วการที่เราคิดว่า เงินคือ ก็แบ่งปันด้วยเทอญ...”
เป้าหมายสูงสุดของการมีชีวิตก็เป็นอีกวิธีคิดหนึ่งที่สะท้อน
ว่าเราคิดแบบแยกส่วนและตัดตอน นี่แหล่ะสะท้อนวิธีคิดของ
มนุษย์ในเวลานี้ว่ามีปัญหาสุดโต่ง มันแยกส่วน ไม่ได้มอง ปุจฉา: ขอพระคุ ณ เจ้ า กรุ ณ าชี้ แ นะการเจริ ญ สติ สำ � หรั บ
อะไรแบบองค์รวม ก็เลยคิดว่าพอมีเงิน เงินก็สูงสุด แต่พอ นักลงทุนที่ลงทุนแล้วขาดทุน แล้วก็ที่มีความทุกข์ จะคิดอย่างไร
ไม่มีความรู้เรื่องการบริหารจัดการเงิน คือไม่รู้จักต่อเงินให้ ถึงจะเปลี่ยนความทุกข์นั้นให้เป็นความสุขได้
เป็นบุญ ไม่รู้จักต่อทุนให้เป็นธรรม เงินก็เป็นต้นทางของ
วิกฤติ ตั้งแต่ที่อเมริกา ยุโรป อาเจนตินา แม้กระทั่ง
วิสัชนา: อาตมาก็พอจะตอบได้นะว่า นักลงทุนที่ลงทุนแล้ว
ขาดทุน เพราะมีความรู้ด้านเดียว คือมีความรู้เรื่องการลงทุน
ไทยเรา ฉะนั้นวิธีที่เราจะอยู่ร่วมกับเงินได้คือ ต้องเข้าใจว่า
เขาควรจะหาความรู้ อี ก ด้ า นหนึ่ ง มาประกอบการลงทุ น
เงินคือปัจจัยใช้นำ�ไปสู่คุณภาพชีวิต ถ้าเราคิดว่าเงินสูงสุด
คือ ความรู้ทางธรรมะ มนุษย์เรามักมีปัญหา คือมีความรู้
เรากำ�ลังปฏิบตั ผิ ดิ ต่อเงิน พระพุทธองค์เรียกอีกชือ่ ว่า อสรพิษ
เฉพาะทางมากไป เหมือนไมเคิล แจ๊คสัน ที่มีความรู้ทาง
ย�ชัดๆ ว่า เงินมีสองสถานภาพ หนึ่ง เงินคือปัจจัย มีเงินแล้ว
ดนตรีระดับปริญญาเอก มีชื่อเสียงเป็นอัจฉริยะทางดนตรี
ให้รู้จักเปลี่ยนเงินเป็นคุณภาพชีวิตของตนเอง ของสังคม
แต่ความรู้ด้านบริหารจัดการชีวิตแค่ปริญญาตรี วันหนึ่งเขา
ของมนุษยชาติ สอง เงินจะกลายเป็นอสรพิษ ถ้าคุณไม่รู้จัก
เปิดห้องอัดเองเขาก็ขาดทุนเป็นพันล้าน เพราะเขามีความรู้
เปลีย่ นเงินเป็นคุณภาพชีวติ คิดว่าเงินเป็นสิง่ สูงสุด จนกระทัง่
เพียงด้านเดียว ฉะนั้นเราทุกคนจะต้องเป็นคนที่พระพุทธองค์
ถือเอาเงินเป็นศาสดา เงินก็เป็นงูเห่าแว้งมากัดเจ้าของเงินทันที
ทรงใช้คำ�ว่า “ต้องมีตา 2 ข้าง” หนึ่ง คือ ตาข้างนอก สอง
ดังนั้น ขอให้เราช่วยกันเปลี่ยนทัศนคติ ทั้งนักลงทุน ทั้งเศรษฐี
คือ ตาข้างใน ตาข้างนอกนี้ก็คือสำ�หรับทำ�มาหากิน สำ�หรับ
นักลงทุน แต่ตาข้างในคือ ตาธรรมะ คำ�แนะนำ�คือ นักลงทุน
ต้องเรียนธรรมะควบคู่กันไปด้วย คุณจะต้องรู้ว่าโลกนี้จะ
ไม่มีใครได้ทุกอย่างดังใจหวัง และจะไม่มีใครพลาดหวังทุก
อย่างไป นี่เป็นสัจธรรมพื้นฐานที่เราต้องเข้าใจ ถ้าเราเข้าใจ
แบบนี้ พอเรามาลงทุน การลงทุนก็มีกำ�ไร และมีขาดทุน
วันหนึ่งถ้าเรามีกำ�ไร เราก็รู้จากคำ�พระที่ว่า กำ�ไรมันจะมา
วันหนึ่งถ้าขาดทุน เราก็รู้ว่านี่ไงที่พระท่านพูด ฉันกำ�ลัง
มีประสบการณ์ตรง พอเรามีความเข้าใจพื้นฐานร่วมกัน
อย่างนี้แล้ว พอเราขาดทุนเราก็ไม่ตีโพยตีพาย เพราะชีวิตก็
เป็นอย่างนี้ มีได้มีเสีย มีขึ้นมีลง มีสูงมีตำ� ภาษาพระเรียก
หลักธรรมชุดนี้ว่า “โลกธรรม” แปลว่าธรรมประจำ�โลก
ถ้าเราเข้าใจโลกธรรม คือธรรมประจำ�โลกแบบนี้นะ ว่าโลกนี้
มีสูงมีตำ� มีได้มีเสีย มีสุขมีทุกข์ เป็นธรรมดาประจำ�โลก
โลกธรรมนี้จะทำ�อะไรเราไม่ได้เลย ถ้ามันเกิดขึ้น เราก็รู้ว่า
พระท่านบอกไว้แล้ว แต่ถ้าเราไม่เข้าใจโลกธรรมชุดนี้ พอเกิด
เหตุการณ์ทล่ี งทุนแล้วขาดทุนเป็นทุกข์ เราจะถูก “โลกกระทำ�”
ถ้าโลกกระทำ�ไปแล้ว ยังไม่ยอมทำ�ความเข้าใจอีก ยังทุกข์ซ�
ทุกข์ซากอีก ก็จะถูกโลกกระทืบ เพราะฉะนั้นขอแนะนำ�ให้
หาความรู้ทั้งทางการลงทุนและทางธรรมะคู่กันจะได้เอาไว้
ปลอบใจตัวเอง

You might also like