You are on page 1of 25

รู ปแบบการเคลื่อนที่

(Forms of Motion)
ฟิ สิกส์ กลศาสตร์ (Physics Mechanics)
กล่าวถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุ
แบ่งการศึกษาออกเป็ น 2 ส่วน
จลนศาสตร์ (Kinematics) : ศึกษาการเคลื่อนที่โดยไม่สนใจ
สาเหตุ
พลศาสตร์ (Dynamics) : ศึกษาสาเหตุของการเคลื่อนที่
ลักษณะการเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่สามารถแบ่งได้ 2 แบบ
การเลื่อน (Translation)
การหมุน (Rotation)
จลนศาสตร์ (Kinematics)
 การเคลื่อนที่เชิงเส้ น หรื อการเคลื่อนที่แบบเป็ นเส้ นตรง
(Linear Kinematics / Translation)
 การเคลื่อนที่เชิงมุม หรื อการเคลื่อนที่แบบหมุน
(Angular Kinematics / Rotation)
 การเคลื่อนที่แบบผสมผสาน (General Kinematics)
การเคลื่อนที่เชิงเส้ น (Linear Kinematics)
 การเคลื่อนที่เชิงเส้ นตรง (Rectilinear Motion)
 จะเกิดขึ ้นเมื่อทุกส่วนของร่างกายเคลื่อนที่เป็ นเส้ นตรง
ไปในระยะทางเท่ากัน ทิศทางเดียวกันและใช้ ระยะเวลา
เท่ากัน
การเคลื่อนที่เชิงเส้ น (Linear Kinematics)
 การเคลื่อนที่เชิงเส้ นโค้ ง (Curvilinear Motion)
 จะคล้ ายกับการเคลื่อนที่เชิงเส้ นตรง (Rectilinear Motion)
แตกต่างกันตรงที่เส้ นแนวของการเคลื่อนที่เป็ นเส้ นโค้ ง
การเคลื่อนที่เชิงมุม (Angular Kinematics)
เกิดขึ ้นเมื่อทุกส่วนของร่างกายเคลื่อนที่ไปด้ วยมุมที่เท่า
กัน ทิศทางเดียวกันและใช้ ระยะเวลาเท่ากันรอบแกนการ
หมุน (Axis of Rotation) ซึง่ แกนนี ้จะตังฉากกั
้ บระนาบ
(Plane) ของการเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่แบบผสมผสาน (General Kinematics)

เกิดจากการผสมผสานการเคลื่อนที่แบบเป็ นเส้ นตรง


(Linear Motion / Translation) และการเคลื่อนที่เชิงมุม
หรื อการเคลื่อนที่แบบหมุน (Angular Motion / Rotation)
เข้ าด้ วยกัน
การเคลื่อนที่เชิงเส้ น

(Linear Kinematics)
ตำแหน่ ง (Position)
ตำแหน่งที่วตั ถุหรื อ
ร่างกายตังอยู้ ใ่ นอากาศที่
จุดเริ่ มต้ นของการเคลื่อนที่
จุดสิ ้นสุดการเคลื่อนที่
หรื อระหว่างการเคลื่อนที่
ตำแหน่ ง (Position)
ตำแหน่งในระบบแบบ 3 มิติ
ระยะทางและระยะขจัด
ระยะทาง ( distance )
ความยาวของเส้ นทางที่วตั ถุหรื อร่างกายเคลื่อนที่ไปได้ จริ งจากจุด
เริ่มต้ นการเคลื่อนที่ (Starting position) ไปจนถึงจุดสิ ้นสุดการ
เคลื่อนที่ (Ending position) เป็ นปริมาณสเกลาร์
ระยะขจัด ( displacement )
ระยะทางที่วดั เป็ นเส้ นตรงจากจุดเริ่มต้ นการเคลื่อนที่ (Starting
position) ไปจนถึงจุดสิ ้นสุดการเคลื่อนที่ (Ending position) ระยะ
ขจัด (Displacement) เป็ นปริมาณเวกเตอร์
มีหน่ วยวัดเป็ นเมตร กิโลเมตร (เมตริก) ฟุตและไมล์ (อังกฤษ)
ความเร็ว และอัตราเร็ว (Speed and Velocity)
ความเร็ว (Speed)
อัตราการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ เป็ นปริมาณสเกลาร์
หน่วยที่ใช้ เป็ นหน่วยของระยะทาง (Distance) ต่อหน่วย
เวลา ในระบบ SI เป็ นเมตรต่อวินาที (m/s)
เป็ นตัวแปรสำคัญที่ใช้ ในการบอกสมรรถภาพในหลายการ
แข่งขันกีฬา เช่น ว่ายน้ำ วิ่งแข่ง
ความเร็ว และอัตราเร็ว (Speed and Velocity)
ความเร็ว (Speed)
s
v
t
โดยที่ แทนความเร็วเฉลี่ย (Average speed)
v
แทนระยะทางที่วตั ถุหรื อร่างกายเคลื่อนที่ไป
s
ได้ จริ ง (Distance)
แทนเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป (Time)
t
ความเร็ว และอัตราเร็ว (Speed and Velocity)
 อัตราเร็ว (Velocity)
 ระยะขจัด (Displacement) ของวัตถุหรื อร่างกายต่อเวลา
(Time) ที่ใช้ ในการเคลื่อนที่ไป เป็ นปริมาณเวกเตอร์
 หน่วยที่ใช้ เป็ นหน่วยของระยะ ขจัด (Displacement) ต่อ
หน่วยเวลา ในระบบ SI เป็ นเมตรต่อวินาที (m/s)
ความเร็ว และอัตราเร็ว (Speed and Velocity)
 อัตราเร็ว (Velocity)
s
v
t

โดยที่ v แทนความเร็วเฉลี่ย (Average speed)


s แทนระยะทางที่สนที ั ้ ่สดุ วัตถุหรื อร่างกาย
เคลื่อนที่ไปได้ (Displacement)
t แทนเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป (Time)
ระยะขจัด (Displacement) –เวลา (Time) (Enoka, 2002)
การเปลีย
่ นแปลงความเร็ว (Velocity) ทงขนาด
ั้ (Magnitude)
และทิศทาง (Direction) (Enoka, 2002)
ความเร็ว และอัตราเร็ว (Speed and Velocity)
• ความเร็ว และอัตราเร็ว ณ ขณะเวลาใดๆ
– ความเร็ ว และอัตราเร็วของวัตถุ ณ ขณะเวลาใดๆที่เรากำลัง
สังเกต
• ความเร็ว และอัตราเร็วเฉลี่ย
– ความเร็ ว และอัตราเร็วของวัตถุตลอดระยะทางทังหมดต่
้ อ
เวลาที่ใช้ ไป
ความเร่ ง (Acceleration)
• อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว (Velocity) ต่อเวลา
(Time) เป็ นปริมาณเวกเตอร์
– ขนาด (Magnitude) เปลี่ยน
– ทิศทาง (Direction) เปลี่ยน
– ทังขนาด
้ (Magnitude) และทิศทาง (Direction) เปลี่ยน
ความเร่ ง (Acceleration)
 v  v
 v f i
a 
t t
โดยที่ a แทนความเร่งเฉลี่ย (Average acceleration)
v
แทนการเปลี ่ยนแปลงความเร็ ว
vf
แทนความเร็ ว ณ ขณะใดขณะหนึง่ (Instantaneous Velocity)
ที่จดุ สิ ้นสุดการเคลื่อนที่ หรื อความเร็ วปลาย (Final Velocity)
vi
แทนความเร็ ว ณ ขณะใดขณะหนึง่ (Instantaneous Velocity)
ที่จดุ เริ่ มต้ นการเคลื่อนที่ หรื อความเร็ วต้ น (Initial Velocity)
t
แทนเวลาที ่เปลี่ยนแปลงไป (Time)
การเคลื่อนที่เมื่อความเร่ งคงที่
วัตถุหยุดนิ่ง ความเร็วเป็ นศูนย์
วัตถุไม่มีการเคลื่อนที่
การขจัดมีคา่ เท่าเดิม หรื อเท่ากับตอนเริ่ มต้ นเสมอ
การเคลื่อนที่เมื่อความเร่ งคงที่
เคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ ความเร็วเป็ นศูนย์
ในทุกๆวินาทีจะมีการขจัดเพิ่มขึ ้นอย่างสม่ำเสมอ
กราฟระหว่างระยะทางกับเวลาจะเป็ นเส้ นตรง
การเคลื่อนที่เมื่อความเร่ งคงที่
• เคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่
– ในทุกๆวินาทีวตั ถุจะมีความเร็วเพิ่มขึ ้นอย่างสม่ำเสมอ
– กราฟระหว่างระยะทางกับเวลาเป็ นรูปพาราโบลา

You might also like