You are on page 1of 10

ข้อสอบกฎหมายพาณิ ชย์ 1 (มาจาก blog)

ข้อสอบกฎหมายพาณิชย์ 1

1. นายไก่มีบ้านอย่่ริมแม่น้ า ทางราชการได้ประกาศเตือนประชาชนทีอ ่ ย่่ริมแม่น้ าว่าน้้าเหนื อไหล


บ่ามาจะก่อให้เกิดความเสียหายท่วมบ้านเรือนทีอ ่ ย่่ริมแม่น้ าได้ให้ประชาชนคอยระวังและจัด
เตรียมกระสอบทรายหรือท้าเขื่อนกัน ้ น้้าบริเวณบ้านหรือทีด ่ ินของตน นายไก่จึงได้ตกลงซื้อ
กระสอบทรายและอิฐบล็อกจากนายเป็ดซึง ่ เป็นเจ้าของร้านวัสดุก่อสร้าง เพื่อท้าคันกัน ้ น้้า นายเป็ด
บอกว่าตนได้จัดเตรียมกระสอบทรายไว้จ้าหน่ ายแล้วทีม ่ ีอย่่ในโกดังทัง
้ หมดตอนนี้ มีประมาณ 200
กระสอบ จัดเก็บไว้ตา ่ งหากไม่ได้รวมกับวัสดุก่อสร้างอื่น ถ้านายไก่ต้องการตนจัดส่งให้ได้ทันทีและ
ตกลงขายให้นายไก่ทัง ้ หมด ราคา 1,500 บาท นายไก่จึงได้ตกลงซื้อกระสอบทรายทัง ้ หมดทีน
่ าย
เป็ดมีอย่่ ส่วนอิฐบล็อกนัน ้ นายเป็ดตกลงขายให้ในราคาแผ่นละ 2.00 บาท นายไก่จึงตกลงซื้ออิฐ
บล็อกจากนายเป็ดอีก 100 แผ่น โดยนายเป็ดสัญญาว่าจะจัดส่งกระสอบทรายให้นายไก่ได้ในวัน
พรุ่งนี้ เช้า แต่อิฐบล็อกทีน ่ ายเป็ดมีอย่่ในโกดังไม่พอ นายเป็ดตกลงจะจัดหามาให้ครบและจะส่งให้
นายไก่ได้ภายในหนึ่ งสัปดาห์นับจากวันนี้ นายเป็ดจัดส่งกระสอบทรายทัง ้ หมดทีม ่ ีอย่่ไปให้นายไก่
ทีบ่ ้าน นายไก่รับกระสอบทรายมาทัง ้ หมดแล้ว ได้ช้าระเงินให้นายเป็ดเท่าทีต ่ กลง 1,500 บาท
ภายหลังนายเป็ดทราบว่ากระสอบทรายทัง ้ หมดมีจ้านวน 220 กระสอบ นายเป็ดจึงได้มาเรียกเก็บ
เงินเพิม ่ จากส่วนทีเ่ กินไป 20 กระสอบ แต่นายไก่ไม่ยอมช้าระ เมื่อครบเวลาส่งมอบอิฐบล็อกนาย
เป็ดจึงได้ให้พนักงานในร้านของนายเป็ดถือจดหมายลงชื่อนายเป็ดทวงเงินค่ากระสอบทรายทีเ่ กิน
ไปและพร้อมในจดหมายก็ปฏิเสธทีจ ่ ะจัดหาอิฐบล็อกทีน ่ ายเป็ดได้ตกลงขายให้นายไก่โดยอ้างว่า
น้้าได้ท่วมโกดังเก็บวัสดุก่อสร้างของนายเป็ดเสียหาย นายไก่จะเรียกร้องให้นายเป็ดส่งมอบอิฐ
บล็อกให้ตามสัญญาได้หรือไม่ และนายเป็ดจะเรียกราคาค่ากระสอบทรายทีเ่ กินไป 20 กระสอบได้
หรือไม่ เพราะเหตุใด

ธงคำาตอบ หลักกฎหมาย มาตรา 456 วรรค 2 และวรรค 3 มาตรา 458 และมาตรา 460 วรรค 1

วินิจฉัย นายไก่ตกลงซื้อกระสอบทรายและอิฐบล็อกจากนายเป็ ด นายเป็ ดบอกว่าตนมีกระสอบทรายอย่่ในโกดัง


ทั้งหมดประมาณ 200 กระสอบ และตกลงขายให้นายไก่ในราคา 1,500 บาท นายไก่จึงตกลงซื้อกระสอบทราย
ทั้งหมดที่นายเป็ ดมีอย่่ สัญญาซื้อขายกระสอบทรายเป็ นสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดในสังหาริมทรัพย์ธรรมดาที่
มีราคาตั้งแต่ห้าร้อยบาทขึ้นไป ตามมาตรา 456 วรรค 3 ซึ่งนำาวรรค 2 มาใช้บังคับเป็ นสัญญาซื้อขายเหมา
ร้่ตัวทรัพย์แน่ นอน และร้่ราคาที่แน่ นอนแล้ว จำานวนกระสอบทราย 200 กระสอบเป็ นการประมาณการ
กรรมสิทธิโ์ อนเป็ นของนายไก่ผ้่ซ้ ือตั้งแต่ตกลงทำาสัญญาตามมาตรา 458 ส่วนอิฐบล็อกนายเป็ ดตกลงขายให้ใน
ราคาแผ่นละ 2.00 บาท นายไก่จึงตกลงซื้ออิฐบล็อกจากนายเป็ ดอีก 100 แผ่น นายเป็ ดสัญญาว่าจะจัดส่ง
กระสอบทรายให้นายไก่ได้ในวันพร่่งนี้ เช้า แต่อิฐบล็อกที่นายเป็ ดมีอย่่ในโกดังไม่พอ นายเป็ ดตกลงจะจัดหามา
ให้ครบและจะส่งให้นายไก่ได้ภายในหนึ่ งสัปดาห์นับจากวันนี้ สัญญาซื้อขายอิฐบล็อกเป็ นสัญญาซื้อขาย
ทรัพย์สินซึ่งมิได้กำาหนดลงไว้แน่ นอน กรรมสิทธิย ์ ังไม่โอนจนกว่าจะได้หมายหรือนับ ชั่ง ตวง วัด หรือคัดเลือก
หรือทำาโดยวิธีอ่ น
ื เพื่อให้บ่งตัวทรัพย์สินนั้นออกเป็ นแน่ นอนแล้ว ตามมาตรา 460 วรรคหนึ่ ง นายเป็ ดจัดส่ง
กระสอบทรายทั้งหมดที่มีอย่่ไปให้นายไก่ท่ีบ้าน นายไก่รับกระสอบทรายมาทั้งหมดแล้ว ได้ชำาระเงินให้นายเป็ ด
เท่าที่ตกลง 1500 บาท ภายหลังนายเป็ ดทราบว่ากระสอบทรายทั้งหมดมีจำานวน 220 กระสอบ นายเป็ ดจึงได้
มาเรียกเก็บเงินเพิ่มจากส่วนที่เกินไป 20 เมื่อเป็ นสัญญาซื้อขายเหมา แม้จำานวนทรัพย์สินจะมากหรือน้อยไป
กว่าการประมาณการของผ้่ซ้ ือหรือผ้่ขาย ค่่สัญญาฝ่ ายใดจะเรียกให้ลดหรือเพิ่มราคาหรือทรัพย์สินไม่ได้ ส่วนอิฐ
บล็อกเมื่อครบเวลาส่งมอบอิฐบล็อกแล้ว นายไก่จะเรียกร้องให้นายเป็ ดส่งมอบอิฐบล็อกให้ตามสัญญาได้ เพราะ
เป็ นสัญญาซื้อขายที่กรรมสิทธิย ์ ังเป็ นของนายเป็ ดอย่่ ตามมาตรา 460 วรรคหนึ่ ง และเป็ นสัญญาซื้อขาย
สังหาริมทรัพย์ธรรมดาที่มีราคาไม่ถึง 500 บาท และนายเป็ ดได้มีจดหมายลงชื่อนายเป็ ดทวงเงินค่ากระสอบ
ทรายที่เกินไปและพร้อมในจดหมายก็ปฏิเสธที่จะจัดหาอิฐบล็อกที่นายเป็ ดได้ตกลงขายให้นายไก่โดยอ้างว่า นำ้า
ได้ท่วมโกดังเก็บวัสด่ก่อสร้างของนายเป็ ดเสียหายซึ่งไม่เป็ นเหต่พ้นวิสัย นายเป็ ดยังสามารถปฏิบัติชำาระหนี้ ได้
ส่วนสัญญาซื้อขายกระสอบทราย นายเป็ ดจะเรียกราคาค่ากระสอบทรายที่เกินไป 20 กระสอบไม่ได้ เพราะเป็ น
สัญญาซื้อขายเหมาที่ผ้่ซ้ ือได้ชำาระราคาครบถ้วนตามสัญญาเรียบร้อยแล้ว
2. นายกมลได้ซ้ ือรถยนต์คันหนึ่ งจากการขายทอดตลาดของเจ้าพนักงานบังคับคดีในราคา
300,000 บาท ต่อมานายกมลทราบว่ารถยนต์คันนี้ มิใช่เป็นของจ้าเลย แต่เป็นของนายสมเดชที่
ถ่กคนร้ายลักไป นายกมลได้เสนอขายรถยนต์คันนี้ ให้แก่นายองอาจในราคา 250,000 บาท และมี
ข้อสัญญาว่าถ้ารถยนต์คันนี้ มีความช้ารุดบกพร่องหรือเกิดการรอนสิทธิ ์ นายกมลไม่ต้องรับผิดและ
ไม่ต้องคืนราคา นายองอาจตอบตกลงซื้อรถยนต์คันนี้ พร้อมกับช้าระราคาโดยไม่ทราบว่านายกมล
ได้ปกปิดความจริงไว้ นายองอาจใช้รถยนต์คันนี้ มาได้ 1 เดือน เจ้าพนักงานต้ารวจได้มายึดรถยนต์
ไปจากนายองอาจเพื่อคืนให้แก่นายสมเดช หลังจากเจ้าพนักงานต้ารวจยึดไปแล้ว 6 เดือน นาย
องอาจจึงได้มาเรียกร้องให้นายกมลรับผิดเพื่อการรอนสิทธิ ์ ดังนี้ ให้วินิจฉัยว่านายกมลจะต้องรับ
ผิดเพื่อการรอนสิทธิห
์ รือไม่ เพราะเหตุใด

ธงคำาตอบ หลักกฎหมาย มาตรา 482, 485 และ มาตรา 1330

วินิจฉัย นายกมลซื้อรถยนต์มาจากการขายทอดตลาดตามคำาสั่งศาล ย่อมได้รับการค้่มครองตามบทบัญญัติ


มาตรา 1330 เป็ นข้อยกเว้นหลักเรื่องผ้่รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผ้่โอน และทำาให้นายกมลมีกรรมสิทธิใ์ นรถยนต์
คันนี้ และมีสิทธิดีกว่านายสมเดชเจ้าของที่แท้จริง เมื่อนายองอาจซื้อรถยนต์จากนายกมล นายองอาจย่อมได้
กรรมสิทธิต ์ ามหลักเรื่องผ้่รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผ้่โอน แม้ในสัญญาซื้อขายจะมีข้อสัญญาว่าผ้ข
่ ายไม่ต้องรับผิด
เพื่อการรอนสิทธิ ์ และนายกมลร้่ความจริงและปกปิ ดไว้ ซึ่งตามมาตรา 485 นายกมลยังต้องรับผิด แต่
เนื่ องจากตามมาตรา 482(1) เรื่องผ้่ขายไม่ต้องรับผิดในการรอนสิทธิ ์ นายกมลย่อมพิส่จน์ได้ว่าสิทธิของผ้่ซ้ ือได้
ส่ญไปโดยความผิดของผ้่ซ้ ือเอง เพราะนายสมเดชไม่มีสิทธิในรถยนต์คันนี้ ดีกว่านายองอาจ แม้ นายองอาจจำา
ต้องยอมให้เจ้าพนักงานตำารวจยึดรถยนต์ไป นายองอาจก็ชอบที่จะเรียกรถยนต์คืนจาก นายสมเดชได้ เมื่อนาย
องอาจมาเรียกร้องให้นายกมลรับผิดเพื่อการรอนสิทธิ ์ นายกมลย่อมยกมาตรา 482(1) ขึ้นต่อส้่กับนายสมเดช
ได้ นายกมลจึงไม่ต้องรับผิด

3. นายแดงได้ขายฝากแหวนวงหนึ่ งของนายแดงไว้กับนายด้า โดยท้าสัญญาเป็นหนังสือลง


ลายมือชื่อทัง
้ นายแดงและนายด้า ก้าหนดเวลาไถ่คืนภายใน 6 เดือน และในหนังสือสัญญายังมีข้อ
ตกลงห้ามไม่ให้ผ้่ซ้ ือฝากโอนขายแหวนไปให้ใครก่อนครบก้าหนดไถ่คืน ต่อมาเมื่อนายด้ารับซื้อ
ฝากแหวนวงนัน ้ มาได้หนึ่ งเดือน นายด้าได้ขายต่อให้นายเหลืองโดยนายเหลืองไม่ร้่ว่าแหวนวงนัน

ติดสัญญาขายฝากอย่่ ขายฝากไปได้ 3 เดือน นายแดงได้มาขอไถ่แหวนวงนี้ คืนจากนายเหลือง
นายเหลืองจะปฏิเสธไม่ยอมให้นายแดงไถ่คืนได้ หรือไม่ เพราะเหตุใด และถ้านายแดงไถ่แหวนคืน
จากนายเหลืองไม่ได้ นายแดงจะฟ้ องให้นายด้ารับผิดได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

ธงคำาตอบ หลักกฎหมาย มาตรา 493 และมาตรา 498 (2)

วินิจฉัย นายแดงได้ขายฝากแหวนวงหนึ่ งของนายแดงไว้กับนายดำา โดยทำาสัญญาเป็ นหนังสือลงลายมือชื่อทั้ง


นายแดงและนายดำา กำาหนดเวลาไถ่คืนภายใน 6 เดือน และในหนังสือสัญญายังมีขอ ้ ตกลงห้ามไม่ให้ผ้่ซ้ ือฝาก
โอนขายแหวนไปให้ใครก่อนครบกำาหนดไถ่คืนเป็ นสัญญาขายฝากที่ค่สัญญาตกลงห้ามผ้่ซ้ ือจำาหน่ ายทรัพย์สินที่
ขายฝาก ตามมาตรา 493 ต่อมาเมื่อนายดำารับซื้อฝากแหวนวงนั้นมาได้หนึ่ งเดือน นายดำาได้ขายต่อให้นาย
เหลืองโดยนายเหลืองไม่ร้่ว่าแหวนวงนั้นติดสัญญาขายฝากอย่่ ขายฝากไปได้ 3 เดือน นายแดงได้มาขอไถ่
แหวนวงนี้ คืนจากนายเหลือง นายเหลืองปฏิเสธไม่ยอมให้นายแดงไถ่คืนได้ เพราะว่า นายเหลืองเป็ นผ้่รับโอน
ทรัพย์สินหรือรับโอนสิทธิเหนื อทรัพย์สินในสังหาริมทรัพย์ ซึ่งผ้่รับโอนนายเหลืองไม่ร้่ในเวลาโอนว่าทรัพย์สิน
ตกอย่่ในบังคับแห่งสิทธิไถ่คืน นายแดงไถ่แหวนคืนจากนายเหลืองไม่ได้ นายแดงจะฟ้ องให้นายดำารับผิดได้
เพราะสัญญาขายฝากนี้ มีข้อตกลงห้ามมิให้ผ้่ซ้ ือจำาหน่ ายทรัพย์สิน เมื่อผ้่ซ้ ือจำาหน่ ายทรัพย์สินฝ่ าฝื นสัญญาต้อง
รับผิดต่อผ้่ขายในความเสียหายใด ๆ อันเกิดแต่การนั้น ตามมาตรา 493

ข้อ 4. นายไก่และนายไข่เป็นเพื่อนบ้านกันและทัง ้ ค่่มีอาชีพท้าสวนผลไม้ ปีนี้ ฝนตกมากท้าให้สวน


ผลไม้ของนายไก่ถ่กน้้าท่วม นายไข่จึงมาช่วยส่บน้้า วิดน้้า จนสวนของนายไก่พ้นจากความเสียหาย
นายไก่เห็นความมีน้ าใจของนายไข่จึงให้สายสร้อยคอทองค้าพร้อมพระเลีย ่ มทองแก่นายไข่ วัน
หนึ่งนายไก่และ นายไข่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกัน นายไข่ได้ใช้ท่อนไม้ทุบนายไก่บาดเจ็บสาหัสจน
ปางตาย ต้องพักรักษาตัวอย่่ในโรงพยาบาลเกือบเดือน นายไก่แค้นเคืองและถือว่านายไข่เป็นคน
เนรคุณจึงต้องการทีจ ่ ะเรียกสร้อยคอพร้อมพระเลีย ่ มทองทีต ่ นได้ให้นายไข่คืน
ข้ออ้างของนายไก่เป็นข้ออ้างตามกฎหมายทีจ ่ ะท้าให้นายไก่มีสท ิ ธิเรียกสร้อยคอทองค้าพร้อม พระ
เลีย่ มทองคืนจากนายไข่หรือไม่ เพราะเหตุใด
ธงคำาตอบ หลักกฎหมาย มาตรา 531 และมาตรา 535
วินิจฉัย ตามบทบัญญัติมาตรา 531 (1) กรณีท่ีจะถือว่าผ้่รับประพฤติเนรค่ณและผ้่ให้มีสิทธิท่ีจะเรียกถอนคืน
การให้น้ันคือ กรณีท่ีผ้่รับได้ประท่ษร้ายต่อผ้่ให้เป็ นความผิดอาญาอย่างร้ายแรงตามประมวลกฎหมายอาญา
การที่นายไข่ใช้ท่อนไม้ท่บตีนายไก่จนบาดเจ็บสาหัสแทบตายและต้องรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลเกือบเดือน
นั้นถือว่านายไข่ผ้่รับได้ประท่ษร้ายต่อนายไก่ผ้่ให้เป็ นความผิดอาญาอย่างร้ายแรงตามประมวลกฎหมายอาญา
เป็ นกรณีท่ีนายไข่ประพฤติเนรค่ณต่อนายไก่
แต่การที่นายไก่ให้สร้อยคอทองคำาพร้อมพระเลี่ยมทองแก่นายไข่น้ัน เพราะเหต่ท่ีนายไข่มาช่วยมิให้สวนผลไม้
ของนายไก่เสียหายเพราะนำ้าท่วม ถือว่าเป็ นการให้ท่ีเป็ นบำาเหน็จสินจ้างโดยแท้ตามมาตรา 535(1) ซึ่งนายไก่
ไม่สามารถถอนคืนการให้ได้ แม้นายไข่จะประพฤติเนรค่ณตามมาตรา 531 (1)
ดังนั้นแม้นายไข่จะประพฤติเนรค่ณต่อนายไก่ แต่การให้ของนายไก่ต่อนายไข่เป็ นการให้ท่ีเป็ นบำาเหน็จสินจ้าง
โดยแท้ นายไก่จึงไม่มีสิทธิท่ีจะเรียกสร้อยคอทองคำาพร้อมพระเลี่ยมทองคืนจากนายไข่
ข้อสอบกฎหมายพาณิ ชย์ 1
1. เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2543 นายสมพงษ์ขายบ้านของตนหลังหนึ่ งให้แก่นายสุธใี นราคา
300,000 บาท โดยมีข้อตกลงกันว่า ให้นายสมพงษ์ส่งมอบบ้านให้นายสุธใี นวันท้าสัญญา และนาย
สุธีจะช้าระราคาให้ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2543 ส่วนค่าฤชาธรรมเนี ยมนัน ้ ให้นายสมพงษ์เป็นผ้่เสีย
และทัง ้ ค่่มิได้ท้าสัญญากันเป็นหนังสือ นายสุธีอย่่ในบ้านหลังนี้ มาจนถึงวันที่ 25 มกราคม 2543 ก็
เกิดไฟไหม้บ้านข้างเคียงและลุกลามมาไหม้บ้านหลังดังกล่าว ดังนี้ ให้นักศึกษาวินิจฉัยว่า สัญญานี้
เป็นสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดหรือสัญญาจะซื้อจะขายและถึงวันก้าหนดช้าระราคา นายสุธีไม่
ยอมช้าระราคา นายสมพงษ์จะมีสิทธิฟ้องบังคับให้นายสุธีช้าระราคา 300,000 บาทได้หรือไม่
เพราะเหตุใด

ธงคำาตอบ หลักกฎหมาย มาตรา 456 วรรค 2, มาตรา 458

วินิจฉัย การแสดงเจตนาทำาสัญญาระหว่างนายสมพงษ์กับนายส่ธีได้มีข้อตกลงให้นายสมพงษ์เป็ นผ้่เสียค่าฤชา


ธรรมเนี ยม แสดงว่าค่่สัญญายังมีความผ่กพันต่อกันว่าจะไปทำาสัญญากันให้เสร็จอีกครั้งหนึ่ ง และการเสียค่า
ฤชาธรรมเนี ยม นายสมพงษ์จะต้องชำาระในเวลาไปทำานิ ติกรรมซื้อขายต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สัญญานี้ จึงเป็ น
สัญญาจะซื้อจะขายตามมาตรา 456 วรรค 2 หาใช่มาตรา 455 ไม่
และกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สินที่ขายย่อมโอนไปยังผ้่ซ้ ือในขณะทำาสัญญาซื้อขายตามมาตรา 458 นั้น หมายถึง
สัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด เมื่อสัญญานี้ เป็ นสัญญาจะซื้อขาย กรรมสิทธิใ์ นบ้านหลังนี้ จึงยังไม่โอนไปยังนายส่ธี
ในเวลาซื้อขาย และเกิดไฟไหม้บ้านหลังดังกล่าวในขณะที่กรรมสิทธิย ์ ังเป็ นของนายสมพงษ์อย่่และโทษนายส่ธี
ไม่ได้ บาปเคราะห์จึงตกแก่นายสมพงษ์เจ้าของกรรมสิทธิ ์ แม้ตามปัญหาจะมีหลักฐานในการฟ้ องร้องเพราะมี
การชำาระหนี้ (ส่งมอบ) นายสมพงษ์ก็จะฟ้ องขอให้บังคับนายส่ธีชำาระราคาไม่ได้ เพราะนายสมพงษ์ไม่มีบ้านที่
จะโอนให้แก่ นายส่ธี

2. นายไก่และนายไข่ตกลงท้าสัญญาซื้อขายบ้านและทีด ่ ินมีโฉนดของนายไก่ทีบ่ า
้ นของนายด้าซึง

เป็นก้านันท้องที่ ทีท
่ ีด
่ ินแปลงนี้ ตัง้ อย่่ในราคา 1 ล้านบาท โดยมีเงื่อนไขในสัญญาว่า "ให้นายไข่
ช้าระราคาเป็น 4 งวด ๆ ละ 250,000 บาท เมื่อนายไข่ช้าระราคาครบถ้วนจึงจะส่งมอบบ้านและ
ทีด
่ ินให้นายไข่" การท้าสัญญาครัง ้ นี้ มีนายด้าลงชื่อเป็นพยาน เมื่อนายไข่ช้าระราคาครบถ้วนแล้ว
จะย้ายเข้าไปอย่่ในบ้านและทีด ่ ินดังกล่าว นายไก่กลับไม่ยินยอม นายไข่โมโหต้องการบอกเลิก
สัญญาและเรียกเงินทัง ้ หมดคืนท้าได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
อนึ่ง หากเงื่อนไขในสัญญาเปลีย ่ นเป็นว่า "ถ้าหากนายไข่ช้าระราคาครบถ้วนแล้ว นายไก่จะไปจด
ทะเบียนโอนกรรมสิทธิบ ์ ้านและทีด ่ ินให้แก่นายไข่" เมื่อช้าระราคาครบ นายไก่ก็ไม่ยอมไปปฏิบัติ
ตามเงื่อนไขนี้ ค้าตอบของนักศึกษาจะเปลีย ่ นแปลงไปหรือไม่ เพราะเหตุใด

ธงคำาตอบ

หลักกฎหมาย 1. ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรค 1 2. ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรค 2


แนวคำาตอบ การทำาสัญญาซื้อขายบ้านและที่ดินระหว่างนายไก่และนายไข่ เป็ นสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด
อสังหาริมทรัพย์ ตามมาตรา 456 วรรค 1 บัญญัติบังคับไว้ว่าการซื้อขายจะต้องทำาตามแบบคือต้องทำาเป็ น
หนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ถ้าฝ่ าฝื นไม่ทำาตามผลก็เป็ นโมฆะ การที่นายไก่และนายไข่ทำา
สัญญากันเองแม้จะทำาที่บ้านกำานัน ๆ ไม่ใช่เจ้าพนักงานผ้่มีหน้าที่จดทะเบียนสัญญาซื้อขาย นั้นสัญญาซื้อขายที่
ตกลงกันระหว่างนายไก่และนายไข่จึงตกเป็ นโมฆะ เท่ากับว่านายไก่และนายไข่ไม่ได้ทำาสัญญาซื้อขายกันขึ้น
เลย ก็ให้นายไก่และนายไข่กลับคืนส่่ฐานเดิม เงินที่นายไข่ชำาระไปทั้งหมดนายไก่ก็ต้องคืนให้แต่นายไข่ฐานลาภ
มิควรได้ นายไข่ไม่จำาต้องบอกเลิกสัญญาระหว่างตนและนายไก่อีก เพราะสัญญาเป็ นโมฆะมาแต่เริ่มแรกแล้ว
ส่วนถ้าเงื่อนไขเปลี่ยนไปว่าถ้าหากนายไข่ชำาระราคาครบถ้วนแล้วนายไก่จะไปทำาหนังสือและจดทะเบียนโอน
กรรมสิทธิใ์ นบ้านและที่ดินให้แก่นายไข่น้ันสัญญาที่ตกลงทำากันระหว่างนายไก่และนายไข่ จึงเป็ นสัญญาจะซื้อ
จะขายบ้านและที่ดิน เพราะบ้านและที่ดินเป็ นอสังหาริมทรัพย์ กรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สินที่ตกลงซื้อขายกันยังไม่
โอนไปเป็ นของผ้่ซ้ ือ ผ้่ซ้ อ
ื คือนายไข่และนายไก่ตกลงที่จะไปทำาการโอนกรรมสิทธิก ์ ันในภายภาคหน้า เมื่อนาย
ไข่ชำาระราคาครบตามข้อตกลงแล้วนายไก่ไม่ยอมไปจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิใ์ ห้แก่นายไข่ ๆ มีสิทธิฟ้องบังคับ
ให้นายไก่ไปปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ได้ตกลงในสัญญาจะซื้อจะขายได้ เพราะมีหลักฐานตามที่มาตรา 456 วรรค 2
บัญญัติไว้ คือมีการทำาเป็ นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ ายผ้่ต้องรับผิด เพราะนายไก่และนายไข่ทำาสัญญากับไว้และมี
การชำาระหนี้ บางส่วนคือนายไข่ได้ชำาระหนี้ ท้ังหมดของตนคือเงิน 1 ล้านบาทไปแล้ว ดังนั้นคำาตอบก็จะ
เปลี่ยนแปลงไปคือเงื่อนไขนี้ นายไข่ผ้่ซ้ ือสามารถนำาคดีขึ้นส่่ศาลเพื่อฟ้ องบังคับให้นายไก่ปฏิบัติตามสัญญาที่ได้
ตกลงกันไว้ได้
3. นายสามท้าสัญญาเป็นหนังสือและจดทะเบียนขายฝากทีด ่ ินของนายสามแปลงหนึ่ งไว้กับนาย
สอง ในราคา 1 ล้านบาท ก้าหนดค่าสินไถ่ 1 ล้าน 3 แสนบาท แต่นายสามรับเงินค่าขายฝากจาก
นายสองจริงเพียง 9 แสนบาท ก้าหนดเวลาไถ่คืน 5 ปี ขายฝากไปได้หนึ่ งปี นายสามมาขอไถ่ทีด ่ ิน
แปลงนี้ คืน โดยได้น้าเงิน 9 แสนบาท พร้อมดอกเบี้ยอีกร้อยละ 15 คิดดอกเบี้ยให้นายสอง 1 ปีนับ
จากเวลาขายฝากจนถึงเวลาไถ่ทรัพย์สินคืน แต่นายสองไม่ยอมให้ไถ่ทีด ่ ินคืนโดยอ้างว่ายังไม่ครบ
5 ปีตามสัญญาและค่าสินไถ่ทีต ่ กลงไว้ 1 ล้าน 3 แสนบาทรวมดอกเบี้ยตามสัญญาอีก 5 ปี ท่านคิด
ว่าข้ออ้างของนายสองรับฟั งได้หรือไม่ และนายสามได้ใช้สิทธิไถ่โดยชอบแล้วหรือยัง

ธงคำาตอบ
นายสามจดทะเบียนขายฝากที่ดินของนายสามปลงหนึ่ งไว้กับนายสอง ในราคา 1 ล้านบาท กำาหนดค่าสินไถ่ 1
ล้าน 3 แสนบาท แต่นายสามรับเงินค่าขายฝากจากนายสองจริงเพียง 9 แสนบาท กำาหนดเวลาไถ่คืน 5 ปี ขาย
ฝากไปได้หนึ่ งปี นายสามมาขอไถ่ท่ีดินแปลงนี้ คืน โดยได้นำาเงิน 9 แสนบาท พร้อมดอกเบี้ยอีกร้อยละ 15 คิด
ดอกเบี้ยให้นายสอง 1 ปี นับจากเวลาขายฝากจนถึงเวลาไถ่ทรัพย์คืน แต่นายสองไม่ยอมให้ไถ่ท่ีดินคืนโดยอ้าง
ว่ายังไม่ครบ 5 ปี ตามสัญญา และค่าสินไถ่ท่ีตกลงไว้ 1 ล้าน 3 แสนบาทรวม ดอกเบี้ยตามสัญญา 5 ปี ข้ออ้าง
ของนายสองรับฟั งไม่ได้ เพราะผ้่ขายฝากมีสิทธิไถ่ทรัพย์สินได้เสมอภายในกำาหนดเวลาไถ่ตามกฎหมายหรือ
ตามสัญญานับตั้งแต่ทำาสัญญาขายฝาก และนายสามได้ใช้สิทธิไถ่โดยชอบแล้วเพราะได้ไถ่คืนภายในกำาหนด
ระยะเวลาไถ่ตามสัญญาโดยได้นำาเงิน 9 แสนบาทตามราคาขายฝากที่แท้จริง พร้อมดอกเบี้ยอีกร้อยละ 15 คิด
ดอกเบี้ยให้นายสอง 1 ปี นับจากเวลาขายฝากจนถึงเวลาไถ่ทรัพย์คืน ตามมาตรา 499

4. นายฟ้ าเป็นเจ้าของบริษท ั แห่งหนึ่ งเมื่อประมาณต้นปี 2538 กิจการค้าของนายฟ้ าเจริญรุ่งเรือง


นายฟ้ าจึงได้ท้าสัญญาเป็นหนังสือและจดทะเบียนยกทีด ่ ินในจ้านวนหลายแปลงทีน ่ ายฟ้ ามีอย่่ให้
นายดินซึง ่ เป็นบุตรชาย นายฟ้ าพร้อมกับเงินลงทุนอีก 3 ล้านบาท ต่อมากิจการค้าของนายฟ้ า
ขาดทุน นายฟ้ าต้องการเก็บเงินทีน ่ ายฟ้ ามีอย่่ไว้ลงทุนท้าการค้าต่อและไม่ต้องการทีจ่ ะขายทีด
่ ิน
แปลงใดทีน ่ ายฟ้ ามีอย่่ในขณะนี้ ชดใช้หนี้ โดยนายฟ้ าจะให้นายดินช่วยช้าระหนี้ สินของบริษท ั นาย
ฟ้ าทีเ่ ป็นหนี้ อย่่ นายฟ้ าได้มาขอให้นายดินช่วยเหลือแต่นายดินปฏิเสธ นายฟ้ าจึงต้องการถอนคืน
การให้เพราะนายดินประพฤติเนรคุณ นายฟ้ าจะถอนคืนการให้เพราะนายดินประพฤติเนรคุณได้
หรือไม่ เพราะเหตุใด

ธงคำาตอบ
นายฟ้ าเป็ นเจ้าของบริษท ั แห่งหนึ่ งเมื่อประมาณต้นปี 2538 กิจการค้าของนายฟ้ าเจริญร่่งเรืองนายฟ้ าจึงได้จด
ทะเบียนยกที่ดินในจำานวนหลายแปลงที่นายฟ้ ามีอย่่ให้นายดินซึ่งเป็ นบ่ตรชายนายฟ้ าพร้อมกับเงินลงท่น 3
ล้านบาท ต่อมากิจการนายฟ้ าขาดท่น นายฟ้ าต้องการเก็บเงินที่นายฟ้ ามีอย่่ไว้ลงท่นทำาการค้าต่อและไม่
ต้องการที่จะขายที่ดินแปลงใดที่นายฟ้ ามีอย่่ในขณะนี้ ชดใช้หนี้ นายฟ้ าจะให้นายดินช่วยชำาระหนี้ สินของบริษท ั
นายฟ้ าที่เป็ นหนี้ อย่่ นายฟ้ าได้มาขอให้นายดินช่วยเหลือแต่นายดินปฏิเสธ แม้นายฟ้ าผ้่ให้จะมาขอให้นายดิน
ผ้่รับช่วยแต่ไม่ได้มาขอสิ่งจำาเป็ นเลี้ยงชีวิต และผ้่ให้ยังมีเงินที่ดินอื่น ๆ อีก จึงไม่ได้เป็ นผ้่ยากไร้ ตามมาตรา
531(3) นายฟ้ าจะถอนคืนการให้เพราะนายดินประพฤติเนรค่ณไม่ได้

ข้อสอบกฎหมายพาณิ ชย์ 1
1. พฤหัส ได้ให้อาทิตย์อาศัยอย่่ในทีด ่ ินของพฤหัส ต่อมาพฤหัสต้องการขายทีด ่ ินแปลงนี้ จึงมาบ
อกอาทิตย์วา ่ ตนต้องการจะขายทีด ่ ินแปลงนี้ และคิดว่าเมื่อตนขายคนทีซ ่ ้ ือทีด
่ ินคงไม่ต้องการให้
อาทิตย์อย่ใ่ นทีด
่ ินแปลงนี้ ต่อไปอาทิตย์จะเดือดร้อน ตนจึงมาบอกขายทีด ่ ินแปลงนี้ กับอาทิตย์ก่อน
ถ้าอาทิตย์ต้องการซื้อตนก็จะขายให้ในราคาหนึ่ งล้านบาท ถ้าตกลงอย่างไรแล้วให้บอกมาด้วย
พฤหัสรออย่่นานถึง 3 เดือน อาทิตย์ก็ไม่ตอบกลับมาว่าตกลงจะซื้อทีด ่ ินแปลงนี้ ของพฤหัสหรือไม่
พฤหัสจึงได้ลงหนังสือพิมพ์ประกาศขายทีด ่ ินแปลงนี้ อังคารได้มาติดต่อขอซื้อในราคา 1 ล้าน 5
แสนบาท พฤหัสจึงจดทะเบียนโอนขายทีด ่ ินแปลงนี้ ให้อังคารไป แต่ก่อนจะตกลงขายให้อังคาร
ก็ได้บอกกับอังคารว่าทีด่ ินแปลงนี้ ความจริงตนได้ตกลงขายให้อาทิตย์และบอกอาทิตย์ไปแล้วแต่
ผ่านมา 3 เดือน อาทิตย์ก็ไม่ตอบมาตนจึงได้น้ามาประกาศขาย ดังนี้ ถ้าอาทิตย์ต้องการจะซื้อทีด ่ ิน
แปลงนี้ อาทิตย์จะฟ้ องร้องบังคับคดีให้พฤหัสปฏิบัติตามค้ามัน ่ ทีใ่ ห้ไว้กับตนและเรียกค่าสินไหม
ทดแทนได้หรือไม่ เพราะเหตุใด และจะฟ้ องขอเพิกถอนนิ ติกรรมระหว่างพฤหัสกับอังคารได้หรือไม่
เพราะเหตุใด

ธงคำาตอบ มาตรา 456 วรรค 2, มาตรา 237

วินิจฉัย พฤหัส ได้ให้อาทิตย์อาศัยอย่่ในที่ดินของพฤหัส ต่อมาพฤหัสต้องการขายที่ดินแปลงนี้ จึงมาบอกขาย


ที่ดินแปลงนี้ กับอาทิตย์ ถ้าอาทิตย์ต้องการซื้อตนก็จะขายให้ในราคาหนึ่ งล้านบาท ถ้าตกลงอย่างไรแล้วให้บอก
มาด้วย เป็ นคำามั่นจะซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ด้วยวาจาที่ไม่มีกำาหนดเวลา และไม่มีหลักฐานเป็ นหนังสืออย่าง
หนึ่ งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ ายผ้่ต้องรับผิดเป็ นสำาคัญ หรือได้วางประจำาไว้ หรือได้ชำาระหนี้ บางส่วน คำามั่นจะซื้อ
จะขายที่นายพฤหัสให้ไว้กับนายอาทิตย์จึงฟ้ องร้องบังคับคดีไม่ได้ ถ้าอาทิตย์ต้องการจะซื้อที่ดินแปลงนั้นอาทิตย์
ไม่มีสิทธิท่ีจะเรียกร้องให้นายพฤหัสปฏิบัติตามคำามั่นที่ให้ไว้ ตามมาตรา 456 วรรค 2 (10 คะแนน) เมื่อฟ้ อง
ร้องตามคำามั่นไม่ได้ก็จะเรียกค่าสินไหมทดแทนไม่ได้ (5 คะแนน) ต่อมาอังคารได้มาติดต่อขอซื้อในราคา 1
ล้าน 5 แสนบาท พฤหัสจึงจดทะเบียนโอนขายที่ดินแปลงนี้ ให้อังคารไป แม้อังคารจะร้่ว่าพฤหัสได้บอกขายที่ดิน
แปลงนี้ ให้อาทิตย์ไปแล้วและอย่่ในระหว่างการตัดสินใจของอาทิตย์ว่าจะซื้อหรือไม่ อังคารไม่ส่จริตก็จริงแต่เมื่อ
อาทิตย์เรียกร้องให้พฤหัสปฏิบัติตามคำามั่นจะซื้อจะขายไม่ได้ก็ไม่มีสิทธิเพิกถอนนิ ติกรรมสัญญาซื้อขายที่ดิน
แปลงนี้ ระหว่างพฤหัสกับอังคารโดยใช้การเพิกถอนการฉ้อฉลตามมาตรา 237

2. นายจันทร์ได้ซ้ ือรถยนต์ 1 คัน จากการขายทอดตลาดตามค้าสัง่ ศาลในราคา 200,000 บาท


โดยไม่ทราบว่ารถยนต์คันนี้ เป็นรถยนต์ของนายพุธทีถ ่ ่กคนร้ายลักไป และนายจันทร์ได้ขาย
รถยนต์คันนี้ ให้นายอังคารในราคา 250,000 บาท ต่อมานายอังคารถ่กนายพุธฟ้ องเรียกรถยนต์คืน
และนายอังคารได้ขอให้ศาลหมายเรียกนายจันทร์เข้าเป็นจ้าเลยร่วม ศาลได้มีหมายเรียกให้นาย
จันทร์เข้าเป็นจ้าเลยร่วม แต่นายจันทร์ไม่ยอมเข้าร่วมเป็นจ้าเลยกับนายอังคาร ปรากฏว่าศาลได้
พิพากษาให้ นายอังคารเป็นฝ่ายแพ้คดีและให้คืนรถยนต์ให้แก่นายพุธ และคดีถึงทีส ่ ุดในวันที่ 1
ตุลาคม 2542 นายอังคารจึงมาเรียกร้องให้นายจันทร์รับผิดเพื่อการรอนสิทธิ ์ แต่นายจันทร์ไม่
ยอมรับผิด
ในวันที่ 12 มีนาคม 2543 นายอังคารได้น้าข้อพิพาทนี้ มาฟ้ องขอให้ศาลบังคับนายจันทร์ให้ รับผิด
เพื่อการรอนสิทธิต ์ ามมาตรา 482 นายจันทร์ให้การต่อส้่คดีว่า ได้ซ้ ือรถยนต์คันนี้ มาจากการขาย
ทอดตลาดโดยค้าสัง่ ศาลจึงไม่ต้องรับผิดเพื่อการรอนสิทธิต ์ ามมาตรา 1330 และคดีน้ี ขาดอายุ
ความตาม มาตรา 481 ขอให้ศาลพิพากษายกฟ้ องนายอังคาร ดังนี้ ถ้าท่านเป็นศาลฟั งข้อเท็จจริง
ได้ความดังกล่าวนี้ ท่านจะวินิจฉัยประเด็นต่อไปนี้ อย่างไรเพราะเหตุใด และจะพิพากษาให้ใครเป็น
ฝ่ายชนะคดี
ประเด็นแรก นายจันทร์จะต้องรับผิดเพื่อการรอนสิทธิห ์ รือไม่
ประเด็นทีส ่ อง คดีน้ี ขาดอายุความหรือไม่
ธงคำาตอบ หลักกฎหมาย มาตรา 482, มาตรา 193/30
วินิจฉัย มาตรา 482 เป็ นบทบัญญัติถึงเรื่องที่ว่าผ้่ขายจะไม่ต้องรับผิดในการรอนสิทธิของผ้่ซ้ ือ ต่างกับมาตรา
481 ซึ่งเป็ นเรื่องที่ผ้่ขายจะต้องรับผิดในการรอนสิทธิ แม้ข้อความในมาตรา 482 วรรคท้ายจะบัญญัติถึงความ
รับผิดของผ้่ขายอย่่ดี แต่ก็เป็ นเรื่องที่บัญญัติไว้ในมาตรา 482 มาตราเดียว และมาตรา 482 หาได้บัญญัติอาย่
ความฟ้ องร้องไว้ไม่ จึงเห็นได้ว่าการที่นายจันทร์ถ่กศาลหมายเรียกให้เข้ามาในคดีแล้วไม่ยอมเข้ามา เป็ นกรณี
นายจันทร์จงใจหลบหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบร้ายแรงตามกฎหมายจึงไม่บัญญัติหรือท้าวความให้มีอาย่ความ
3 เดือนเท่ามาตรา 481 จึงต้องถือว่าอาย่ความสำาหรับมาตรา 482 นี้ ยกเว้นหรือแยกต่างหากไปจากอาย่ความ
ในมาตรา 481 จึงต้องใช้อาย่ความธรรมดาเสมือนดังไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็ นอย่างอื่นคือ 10 ปี (มาตรา
193/30) ฎีกาที่ 489/2507
ประเด็นแรก แม้นายจันทร์จะซื้อรถยนต์มาจากการขายทอดตลาดตามคำาสั่งศาลและมีสิทธิในรถยนต์คันนี้ ดี
กว่าเจ้าของที่แท้จริงก็ตาม (มาตรา 1330) แต่เมื่อนายจันทร์ไม่ยอมเข้าว่าคดีร่วมเป็ นจำาเลยกับนายอังคาร
นายจันทร์ยังคงต้องรับผิดในการรอนสิทธิตามมาตรา 482 วรรคท้าย
ประเด็นที่ 2 อาย่ความตามมาตรา 482 วรรคท้ายนี้ ถือว่าแยกต่างหากจากอาย่ความตามมาตรา 481 จึงต้อง
ใช้อาย่ความธรรมดาเสมือนดังไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้คือ 10 ปี ตามมาตรา 193/30 คดีน้ี จึงยังไม่ขาดอาย่
ความ
ข้าพเจ้าเป็ นศาลจะพิพากษาให้นายอังคารเป็ นฝ่ ายชนะคดี

3. นายไก่น้าแหวนเพชรของตนไปขายฝากไว้กับนายไข่ในราคา 1 ล้านบาท มีก้าหนดไถ่คืน


ภายใน 3 ปี และมีข้อตกลงกันว่าห้ามมิให้นายไข่น้าไปจ้าหน่ ายต่อ เมื่อนายไข่รับซื้อฝากมาได้
เพียงเดือนเดียวก็น้าแหวนเพชรวงนี้ ไปขายให้นายแดงในราคา 2 ล้านบาท เมื่อนายไก่ขายฝากไป
ได้ 1 ปี จึงมาขอใช้สิทธิในการไถ่จากนายแดง นายแดงจึงทราบว่าแหวนทีต ่ นซื้อมาจากนายไข่
เป็นแหวนทีน ่ ายไก่น้ามาขายฝากไว้ จึงตัง ้ ข้อแม้ว่าถ้านายไก่อยากไถ่คืนก็ได้จะให้ไถ่คืนแต่ต้องไถ่
ในราคา 2 ล้านบาท นายไก่ไม่ยอมจะไถ่ในราคา 1 ล้านบาท นายแดงไม่ยอมจึงปฏิเสธไม่ให้ไถ่คืน
ข้ออ้างของนายแดงรับฟั งได้หรือไม่ และนายไก่มีสท ิ ธิจะไถ่แหวนคืนหรือไม่ เพราะเหตุใด ถ้านาย
ไก่เสียหายจากการไถ่แหวนเพชรคืนไม่ได้จะฟ้ องให้นายไข่รับผิดได้หรือไม่
ธงคำาตอบ
หลักกฎหมาย มาตรา 493 "ในการขายฝาก ค่่สัญญาจะตกลงกันไม่ให้ผ้่ซ้ ือจำาหน่ ายทรัพย์สินซึ่งขายฝากก็ได้
ถ้าและผ้่ซ้ ือจำาหน่ ายทรัพย์สินนั้นฝ่ าฝื นสัญญาไซร้ก็ต้องรับผิดต่อผ้่ขายในความเสียหายใด ๆ อันเกิดแต่การ
นั้น"
มาตรา 494 ท่านห้ามมิให้ใช้สิทธิไถ่ทรัพย์สินซึ่งขายฝากเมื่อพ้นเวลาดั่งจะกล่าวต่อไปนี้ … (2) ถ้าเป็ น
สังหาริมทรัพย์ กำาหนด 3 ปี นับแต่เวลาซื้อขาย
มาตรา 498 "สิทธิในการไถ่ทรัพย์สินนั้น จะนำาใช้ได้เฉพาะต่อบ่คคลเหล่านี้ คือ….(2) ผ้่รับโอนทรัพย์สินหรือรับ
โอนสิทธิเหนือทรัพย์สินนั้น แต่ในข้อนี้ ถ้าเป็ นสังหาริมทรัพย์จะใช้สิทธิได้ต่อเมื่อผ้่รับโอนได้ร้่ในเวลาโอนว่า
ทรัพย์สินตกอย่่ในอาศัยแห่งสิทธิไถ่คืน"
มาตรา 499 ว. 1 "สินไถ่น้ัน ถ้าไม่ได้กำาหนดกันไว้ว่าเท่าใดไซร้ ท่านให้ไถ่ตามราคาที่ขายฝาก"
ในการทำาสัญญาขายฝากแหวนเพชรระหว่างนายไก่และนายไข่มีข้อตกลงกันไม่ให้นายไข่ผ้่รับซื้อฝากจำาหน่ าย
แหวนเพชรที่นำามาขายฝากไว้ต่อไปซึ่งค่่สัญญาสามารถตกลงกันได้ตามมาตรา 493 แต่ถ้าหากว่าเมื่อนายไข่
ฝ่ าฝื นสัญญาโดยนำาแหวนเพชรไปจำาหน่ ายต่อให้นายแดง เมื่อนายไก่เกิดความเสียหายใด ๆ นายไก่ก็สามารถ
ฟ้ องให้นายไข่รับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ ตามมาตรา 493
เมื่อนายแดงซื้อแหวนวงดังกล่าวต่อจากนายไข่โดยไม่ทราบว่าติดสัญญาขายฝากอย่่ เพิ่งจะมา ทราบเมื่อนาย
ไก่มาขอใช้สิทธิในการไถ่ แม้นายไก่พร้อมที่จะชำาระสินไถ่คือจำานวน 1 ล้านบาท ตามมาตรา 499 ว.1 และ
กำาหนดระยะเวลาขายฝากยังไม่ได้สิ้นส่ดลงตามมาตรา 494 (2) นายแดงก็มีสิทธิปฏิเสธไม่ให้ นายไก่ไถ่แหวน
เพชรคืนไปได้ เพราะในขณะรับโอนมานายแดงไม่ทราบว่าแหวนเพชรที่ตนซื้อมาจากนายไข่น้ันติดสัญญาขาย
ฝากอย่่ (มาตรา 498 (2))
ดังนั้นข้ออ้างของนายแดงที่จะปฏิเสธไม่ให้นายไก่ไถ่แหวนเพชรคืนไปนั้นรับฟั งได้ นายไก่ไม่มีสิทธิไถ่แหวนคืน
จากนายแดง ถ้าอยากจะได้คืนก็ต้องซื้อคืนในราคาที่นายแดงเสนอขาย ถ้าหากนายไก่เสียหายอย่างใดในการ
ไถ่คืนแหวนเพชรจากนายแดง นายไก่ก็มีสิทธิฟ้องให้นายไข่รับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นได้

4. นายชมเป็นพีช ่ ายนายเชย นายชมได้จดทะเบียนยกทีด ่ ินแปลงหนึ่ งและให้สายสร้อยเส้นหนึ่งกับ


นายเชยโดยตกลงไว้ในทะเบียนด้วยว่านายเชยต้องแบ่งทีด ่ ินแปลงทีย ่ กให้น้ี ครึง
่ หนึ่ งถวายวัด แต่
เมื่อรับโอนทีด
่ ินแปลงนี้ มาแล้วนายเชยก็ไม่ยอมแบ่งทีด
่ ินครึง ่ หนึ่ งให้วัด นายชมจะฟ้ องร้องบังคับ
ให้นายเชยปฏิบัติตามข้อตกลงทีจ ่ ดไว้ในทะเบียนได้หรือไม่ อย่างไร และถ้าสายสร้อยเส้นนัน ้ ไม่ใช่
สายสร้อยทีท่ ้าด้วยทองค้าแท้ ๆ นายเชยจะฟ้ องให้นายชมรับผิดเพื่อความช้ารุดบกพร่องได้หรือไม่
เพราะเหตุใด
ธงค้าตอบ มาตรา 528, มาตรา 529

นายชมเป็ นพี่ชายนายเชย นายชมได้จดทะเบียนยกที่ดินแปลงหนึ่ งและให้สายสร้อยเส้นหนึ่ งกับนายเชยโดย


ตกลงไว้ในทะเบียนด้วยว่านายเชยต้องแบ่งที่ดินแปลงที่ยกให้น้ี ครึ่งหนึ่ งถวายวัด เป็ นการให้ท่ีมีค่าภารติดพัน
เพราะเป็ นภาระเกี่ยวกับตัวทรัพย์ ที่ผ้่รับต้องมีหน้าที่ท่ีจะปลดเปลื้องภารติดพัน ซึ่งถ้าผ้่รับละเลยไม่ชำาระค่า
ภารติดพัน โดยเงื่อนไขอันระบ่ไว้ในกรณีสิทธิเลิกสัญญาต่างตอบแทนกันนั้น ผ้ใ่ ห้จะเรียกให้ส่งทรัพย์สินที่ให้น้ัน
คืน ตามบทบัญญัติว่าด้วยลาภมิควรได้น้ันก็ได้ เพียงเท่าที่ควรจะเอาทรัพย์น้ันไปชำาระค่าภารติดพัน แต่กรณีน้ี
นายเชยต้องแบ่งที่ดินแปลงที่ยกให้น้ี ครึ่งหนึ่ งถวายวัดเป็ นกรณีท่ีบ่คคล ภายนอกมีสิทธิเรียกร้องให้ชำาระค่าภาร
ติดพัน ซึ่งทำาให้สิทธิเรียกคืนทรัพย์สินในส่วนที่ผ้่ให้จะนำาไปชำาระค่าภาระติดพันย่อมเป็ นอันขาดไป ตามมาตรา
528 (10 คะแนน) แต่สัญญาให้ท่ีมีค่าภารติดพันถือเป็ นการให้โดยมีเงื่อนไขอย่างหนึ่ ง ดังนั้นแม้บ่คคล
ภายนอกจะเป็ นผ้่มีสิทธิเรียกร้องให้ชำาระค่าภารติดพัน และผ้่รับไม่ชำาระค่าภาคติดพัน จึงเป็ นการที่ผ้่รับไม่
ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาให้ ผ้่ให้จึงมีสิทธิฟ้องร้องบังคับให้ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาได้ตามหลักนิ ติกรรม
สัญญา หรือบอกเลิกสัญญาให้ก็ได้ เมื่อนายเชยไม่ยอมแบ่งครึ่งหนึ่ งให้วัด นายชมจึงฟ้ องร้องบังคับให้นายเชย
ปฏิบัติตามข้อตกลงที่จดไว้ในทะเบียนได้ (5 คะแนน) อนึ่ งสัญญาให้เป็ นการที่ผ้่ให้ให้ทรัพย์สินแก่ผ้่รับโดย
เสน่ หา ผ้่รับไม่ต้องตอบแทนอย่างใดกับผ้่ให้ ดังนั้นถ้าทรัพย์สินเป็ นอย่างไรหรือมีสภาพอย่างไรผ้่รับก็ต้องรับไป
อย่างนั้น ถ้าไม่ต้องการก็มีสิทธิปฏิเสธไม่เข้าทำาสัญญายอมรับการให้ได้ต้ังแต่แรกได้ ส่วนสายสร้อยที่นายชมให้
นายเชยนั้นไม่ใช่สายสร้อยที่ทำาด้วยทองคำาแท้ ๆ ก็ไม่ใช่เรื่องความชำาร่ดบกพร่องและการให้สายสร้อยก็ไม่ใช่
เป็ นการให้โดยมีภารติดพันแต่อย่างใด มีแต่ภารติดพันในที่ดินเท่านั้น นายเชยจะนำามาตรา 529 มาฟ้ องให้นาย
ชมรับผิดเพื่อความชำาร่ดบกพร่องไม่ได้
ข้อสอบกฎหมายพาณิ ชย์ 1(ต่อฉบับ 2)

ข้อสอบกฎหมายพาณิชย์ 1
1. นายสองทำาสัญญาเช่าเป็ นหนังสือเช่าที่ดินจากนายหนึ่ งเพื่อปล่กบ้านมีกำาหนดเวลา 3 ปี เมื่ออย่่ในบ้านได้
เพียง 1 ปี บ้านถ่กไฟไหม้หมด นายหนึ่ งทราบว่าบ้านหลังนี้ ไฟไหม้ถึงกับเป็ นลมและเสียชีวิตในทันที นายสาม
ซึ่งเป็ นทายาทของนายหนึ่ งได้รับทรัพย์มรดกของนายหนึ่ งแต่เพียงผ้่เดียว นายสามจึงทำาสัญญาให้นายสี่เช่า
ที่ดินแปลงที่มีบ้านไฟไหม้น้ันมีกำาหนดเวลา 10 ปี โดยทำาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ใน
ขณะเดียวกันนายสองได้ก่อสร้างบ้านใหม่ แต่เมื่อนายสามทราบเรื่อง นายสามจึงคัดค้านโดยอ้างว่าสัญญาเช่า
ระงับไปแล้วและอ้างว่านายสี่มีสิทธิในสัญญาเช่า ท่านจงวินิจฉัยว่าข้ออ้างของนายสามชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
เพียงใด

ธงคำาตอบ นายสองทำาสัญญาเช่าที่ดินจากนายหนึ่ งเพื่อปล่กบ้านมีกำาหนดเวลา 3 ปี ต่อมาบ้านถ่ก ไฟไหม้หมด


ก็หาทำาให้สัญญาเช่าระงับไปตามมาตรา 567 แต่อย่างใด เพราะเป็ นการทำาสัญญาเช่าที่ดิน เมื่อนายสองทำา
เป็ นสัญญาจึงเป็ นหลักฐานตามมาตรา 538 ที่สามารถฟ้ องร้องบังคับคดีกันได้ตามกำาหนดเวลา 3 ปี นายสอง
จึงสามารถก่อสร้างบ้านและอย่่ต่อได้อีก 2 ปี
สำาหรับสัญญาที่นายสามทำาให้กับนายสี่ แม้ว่าจะทำาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ก็ไม่ทำาให้
นายสี่มีสิทธิดีกว่านายสองผ้่เช่าเดิม ซึ่งสัญญายังไม่สิ้นส่ดลง และแม้นายหนึ่ งจะเสียชีวิตลง สัญญาเช่าที่ดินไม่
ระงับจนกว่าจะครบกำาหนด 3 ปี เพราะสัญญาเช่ามิใช่สิทธิเฉพาะตัวของผ้ใ่ ห้เช่า แต่สัญญาเช่าตกทอดมายัง
ทายาทของผ้่ให้เช่าด้วย

2. ก) นายดำาทำาสัญญาเช่ารถสามล้อใช้พลังงานแสงอาทิตย์กับนายขาว มีกำาหนดเวลา 1 ปี ตกลงเก็บค่าเช่า


เป็ นรายสัปดาห์ ๆ ละ 2,000 บาท โดยเก็บค่าเช่าท่ก ๆ วันเสาร์ เมื่อเช่ามาได้ 6 เดือน นายดำาไม่ชำาระค่าเช่า
ของวันเสาร์ท่ี 23 ต่ลาคม และ 30 ต่ลาคม นายขาวจึงทำาหนังสือบอกเลิกการเช่าในวันที่ 3 พฤศจิกายน นาย
ดำาต่อส้่ว่านายขาวบอกเลิกการเช่าไม่ถ่กต้อง เช่นนี้ นายดำาจะสามารถต่อส้่ได้หรือไม่ เพราะเหต่ใด จงอธิบาย
ข) ถ้าข้อเท็จจริงตามข้อ ก) เป็ นสัญญาเช่าซื้อ คำาตอบจะแตกต่างไปหรือไม่ เพราะเหต่ใด จงอธิบาย

ธงคำาตอบ
ก) นายดำาทำาสัญญาเช่ารถสามล้อกับนายขาว มีกำาหนดเวลา 1 ปี ตกลงเก็บค่าเช่าเป็ นรายสัปดาห์ ๆ ละ
2,000 บาท โดยเก็บค่าเช่าท่ก ๆ วันเสาร์ เมื่อนายดำาไม่ชำาระค่าเช่าวันที่ 23 ต่ลาคม และวันที่ 30 ต่ลาคม จึง
เป็ นการไม่ชำาระค่าเช่าที่ไม่ได้กำาหนดเป็ นรายเดือน จึงสามารถบอกเลิกสัญญาได้ตามมาตรา 560 วรรคแรก
นายขาวจึงสามารถบอกเลิกสัญญาเช่าได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวแก่ผ้่เช่าตามมาตรา 560 วรรคสอง นายดำาต่อส้่
ไม่ได้
ข) ถ้าข้อเท็จจริงตามข้อ ก. เป็ นสัญญาเช่าซื้อ นายขาวสามารถบอกเลิกสัญญาได้ เพราะเป็ นการ ผิดนัดไม่ใช้
เงินสองคราวติด ๆ กัน ตามมาตรา 574 วรรคแรก นายดำาจะต่อส้่ว่านายขาวบอกเลิกการเช่าไม่ถ่กต้องไม่ได้

3. ก) นางสมรทำาสัญญาจ้างนายใหญ่เป็ นล่กจ้าง นางสมรไม่ชอบนายใหญ่เท่าใดนักเพราะไม่ค่อยมีน้ ำาใจใน


การทำางานกับล่กจ้างคนอื่น ๆ ต่อมานายหน่ ม ่ เพื่อนของนางสมรต้องการคนงาน นางสมรจึงสั่งให้นายใหญ่ไป
ทำางานกับนายหน่ ่มแทนแต่นายใหญ่ไม่ยอม นางสมรจึงบอกกับนายใหญ่ว่าถ้าไม่ไปจะถือว่าเป็ นการขัดคำาสั่ง
เช่นนี้ นายใหญ่จะปฏิเสธได้หรือไม่ เพราะเหต่ใด จงอธิบาย
ข) สัญญาจ้างทำาของ ถ้าผ้่ว่าจ้างเป็ นผ้่จัดหาสัมภาระ จะมีหน้าที่และความรับผิดอย่างไรบ้าง จงอธิบาย
ธงคำาตอบ ก) นายใหญ่เป็ นล่กจ้างของนางสมร ตามสัญญาจ้างแรงงาน การที่นางสมรให้นายใหญ่ไปทำางานกับ
นายหน่ ่มถือว่าเป็ นการโอนสิทธิของตนให้แก่บ่คคลภายนอกซึ่งต้องได้รับความยินยอมจาก ล่กจ้างก่อน ตาม
มาตรา 577 วรรคแรก เมื่อนายใหญ่ไม่ยินยอมจึงมีสิทธิปฏิเสธได้ และกรณีดังกล่าวไม่ถือว่าเป็ นการขัดคำาสั่ง
ของนายจ้างแต่อย่างใด
ข) ตอบตามมาตรา 590 มาตรา 591 และมาตรา 604 โดยอธิบายตามสมควร (ด่หนังสือหน้า 133-134)

ข้อสอบกฎหมายพาณิชย์ 1 สอบซ่อม ภาค 1/2542

1. แดงได้ทำาสัญญาเป็ นหนังสือให้จำาเลยเช่าบ้านโดยไม่มีกำาหนดเวลา มีขอ ้ สัญญาข้อหนึ่ งระบ่ว่าถ้าผ้่เช่าหรือผ้่


ให้เช่าต้องการบอกเลิกการเช่าให้บอกให้ค่สัญญาทราบก่อนอย่างน้อย 45 วัน สัญญาเช่านี้ ตกลงชำาระค่าเช่า
ท่ก ๆ วันสิน
้ เดือน ปรากฏว่าจำาเลยเช่าบ้านมาเพียง 1 ปี แดงได้ขายบ้านหลังนี้ ให้โจทก์โดยชอบด้วยกฎหมาย
เมื่อโจทก์ได้รับโอนกรรมสิทธิใ์ นบ้านหลังนี้ แล้วโจทก์จึงฟ้ องขับไล่ให้จำาเลยออกจากบ้านทันทีโดยมิได้แจ้งให้
จำาเลยทราบเลย โดยโจทก์อ้างว่าโจทก์ไม่ต้องปฏิบัติตามสัญญาที่จะต้องแจ้งให้ค่สัญญาทราบก่อน 45 วัน
เพราะข้อตกลงนี้ เป็ นข้อตกลงที่นอกเหนื อจากสัญญาเช่า ถ้าจำาเลยมาปรึกษาท่านท่านจะ ให้คำาปรึกษาจำาเลย
ว่าอย่างไร จงอธิบาย.

ธงคำาตอบ ตอบโดยยกหลักกฎหมาย มาตรา 569 (ป.พ.พ.) คือ


"อันสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ไม่ระงับสิ้นไป เมื่อมีการโอนกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สินที่ให้เช่า
ผ้่รับโอนย่อมรับไปซึ่งสิทธิและหน้าที่ของผ้่โอนซึ่งมีต่อผ้่เช่า"
แม้สัญญาเช่าระหว่างผ้่ให้เช่ากับจำาเลยจะเป็ นสัญญาเช่าที่ไม่มีกำาหนดเวลา แต่มีขอ ้ ตกลงให้บอกเลิกสัญญา
โดยการบอกกล่าวให้ค่สัญญาอีกฝ่ ายหนึ่ งทราบก่อน 45 วัน ข้อนกลงเช่นนี้ สามารถบังคับกันได้ตามที่ผ้่ให้เช่า
ตกลงกับผ้่เช่า ไม่จำาต้องปฏิบัติตามมาตรา 566 ในเรื่องการบอกเลิกสัญญาเช่าที่ไม่มีกำาหนดเวลา
เมื่อโจทก์รับโอนกรรมสิทธิใ์ นบ้านเช่ามาจากผ้่ให้เช่าโดยที่ผ้่ให้เช่าขายบ้านให้โจทก์ สัญญาเช่าบ้านระหว่าง
จำาเลยกับผ้่ให้เช่าเดิมยังไม่ระงับสิ้นไป แต่โจทก์ต้องกลับมาเป็ นผ้่ให้เช่าใหม่ และโจทก์จะต้องรับมาซึ่งสิทธิและ
หน้าที่ตามสัญญาเช่าเดิม ข้อตกลงที่เกี่ยวกับสัญญาเช่าเดิมย่อมผ่กพันโจทก์ด้วย โดยเฉพาะข้อตกลงตาม
ปัญหานี้ คือจะต้องมีการบอกกล่าวให้ทราบก่อน 45 วัน ถ้าหากผ้่ให้เช่าต้องการบอกเลิกสัญญาย่อมจะต้อง
ผ่กพันด้วยและเป็ นข้อตกลงที่เกี่ยวกับสัญญาเช่าโดยตรง มิใช่ข้อตกลงอื่นนอกเหนื อจากสัญญาเช่า โจทก์จึง
บอกเลิกสัญญาเช่าบ้านหลังนี้ ทันทีไม่ได้ แต่ถ้าโจทก์ประสงค์จะบอกเลิกสัญญาโจทก์ต้องแจ้งให้จำาเลยทราบ
ก่อน 45 วันตามข้อสัญญาเดิมท่ก

2. (ก) ขาวทำาสัญญาเป็ นหนังสือเช่าซื้อบ้านจากดำาหลังหนึ่ งมีกำาหนดเวลา 5 ปี โดยตกลงชำาระค่าเช่าซื้อท่ก ๆ


เดือน เดือนละ 20,000 บาท ขาวอย่ใ่ นบ้านหลังนี้ ได้เพียงเดือนเดียวเท่านั้น ขาวก็บอกเลิกสัญญาเช่าซื้อบ้าน
และมอบบ้านคืนให้ดำา โดยขาวอ้างว่าไม่ประสงค์จะเช่าซื้อบ้านหลังนี้ แล้วเพราะขาวนอนฝันร้ายท่กคืน ดำาไม่
ยอมให้ขาวบอกเลิกสัญญาได้หรือไม่ จงอธิบาย
(ข) ถ้าหากเป็ นสัญญาเช่าทรัพย์ คำาตอบของท่านจะแตกต่างไปหรือไม่เพียงใด จงอธิบาย

ธงคำาตอบ
(ก) ตอบโดยยกหลักกฎหมาย มาตรา 573 ผ้่เช่าซื้อจึงสามารถบอกเลิกสัญญาได้ เพียงแต่ผ้่เช่าซื้อจะต้องส่ง
มอบทรัพย์สินกลับคืนให้กับผ้่เป็ นเจ้าของทรัพย์สินด้วยก็เป็ นการบอกเลิกสัญญาที่ชอบแล้ว
(ข) ตอบตามหลักกฎหมายมาตรา 564 สัญญาเช่ามีกำาหนดเวลายังไม่ระงับสิ้นไปเมื่อยังไม่ครบกำาหนดเวลา
ตามข้อตกลง และในระหว่างสัญญาดำาเนิ นอย่่ผ้่เช่าจะบอกเลิกสัญญาอย่างเช่นสัญญาเช่าซื้อตามมาตรา 573
ไม่ได้

3. (ก) สัญญาจ้างแรงงาน นายจ้างจะไล่ล่กจ้างออกโดยมิพักต้องบอกกล่าวล่วงหน้าหรือให้ สินไหมทดแทนได้


ในกรณีใดบ้าง จงอธิบาย
(ข) นายดำาทำาสัญญาจ้างนายแดงให้ทาสีและเดินสายไฟฟ้ าในบ้านใหม่ท้ังหมด โดยนายดำาจะเป็ นผ้่จัดหาสีและ
สายไฟฟ้ ามาให้ท้ังหมด นายแดงทำางานไปได้ครึ่งหนึ่ งปรากฏว่าสายไฟฟ้ าไม่มีค่ณภาพจึงต้องรื้อทิ้งและทำาใหม่
ทำาให้เสียเวลาไปหนึ่ งเดือน นายแดงทำางานเสร็จล่าช้าไปหนึ่ งเดือนทำาให้นายดำาเสียโอกาสขายบ้านให้แก่ล่กค้า
ที่เปลี่ยนใจไปซื้อบ้านอื่นแทน นายดำาจึงฟ้ องให้นายแดงรับผิดชอบที่ส่งบ้านล่าช้ากว่ากำาหนดเวลาตามสัญญา
เช่นนี้ นายแดงจะสามารถต่อส้่ได้หรือไม่ เพราะเหต่ใด จงอธิบาย

ธงคำาตอบ (ก) ตอบตามมาตรา 583


(ข) ตามกฎหมาย ผ้่รับจ้างจะต้องส่งมอบการงานตามที่กำาหนดเวลาไว้ในสัญญา แต่ถ้าความชักช้าในการที่ทำา
นั้นเกิดขึ้นเพราะสภาพแห่งสัมภาระที่ผ้่ว่าจ้างส่งให้ ผ้่รับจ้างไม่ต้องรับผิดตามมาตรา 591 ดังนั้น เมื่อนายแดง
ต้องรื้อสายไฟฟ้ าที่ไม่มีค่ณภาพทิ้ง ซึ่งนายดำาเป็ นผ้่จัดหามาทำาให้เสียเวลาไปหนึ่ งเดือน จึงเป็ นสาเหต่ทำาให้นาย
แดงส่งมอบงานล่าช้าไปหนึ่ งเดือน เช่นนี้ นายแดงสามารถต่อส้่ได้ เพราะความล่าช้าเกิดจากสภาพแห่งสัมภาระ
ซึ่งผ้่ว่าจ้างส่งให้ตามมาตรา 591

ข้อสอบกฎหมายพาณิชย์ 1 ภาค 2/ 2542

1. แดง มีร้านขายอาหารอย่่ริมแม่น้ ำาเจ้าพระยา แดงได้เช่าเรือลำาหนึ่ งจากขาวโดยแดงได้ตกลงกับขาวว่าจะใช้


เรือทำาเป็ นร้านอาหารซึ่งเรือลำานี้ จะจอดอย่่ติดกับร้านขายอาหารของแดงที่อย่่ริมแม่น้ ำาเจ้าพระยาเท่านั้น
สัญญาเช่าระหว่างแดงและขาวเพียงแต่ตกลงด้วยวาจาและมิได้กำาหนดเวลากันไว้ว่าเช่านานกี่ปีโดยตกลงจ่าย
ค่าเช่าท่ก ๆ วันสิ้นเดือนเป็ นเงินเดือนละ 10,000 บาท ปรากฏว่าแดงเช่าเรือมาได้เพียงหนึ่ งปี เกิดภาวะ
เศรษฐกิจซบเซา แดงได้นำาเรือลำานี้ ไปรับจ้างบรรท่กทรายโดยไม่ใช้เรือเป็ นร้านอาหารต่อไป ขาวทราบเรื่องจึง
บอกเลิกสัญญาทันทีและให้ส่งมอบเรือคืนใน 7 วัน แดงไม่ยอมปฏิบัติตามและต่อส้่ว่าขาวจะต้องบอกกล่าวตาม
ป.พ.พ. มาตรา 566 ก่อน ท่านจะวินิจฉัยเรื่องนี้ ว่าอย่างไร จงอธิบาย

ธงคำาตอบ หลักกฎหมาย ป.พ.พ.มาตรา 552 และมาตรา 554


วินิจฉัย สัญญาเช่าเรือระหว่างแดงและขาวเป็ นการเช่าสังหาริมทรัพย์ ค่่สัญญาสามารถตกลงกันด้วยวาจาได้
แดงผ้่เช่าได้ตกลงให้ขาวเช่าเรือโดยใช้เรือทำาเป็ นร้านอาหาร ผ้่เช่าจึงต้องใช้เรือทำาเป็ นร้านอาหารได้เท่านั้น ซึ่ง
เป็ นการใช้ทรัพย์ตามที่กำาหนดไว้ในสัญญาเช่าตาม ป.พ.พ.มาตรา 552 การที่แดงได้นำาเรือลำานี้ ไปรับจ้าง
บรรท่กทรายโดยไม่ใช้เรือเป็ นร้านอาหารต่อไปนั้น เป็ นการฝ่ าฝื นบทบัญญัติของ ป.พ.พ.มาตรา 552 ขาวจึง
ต้องบอกกล่าวให้แดงปฏิบัติให้ถ่กต้องตามมาตรา 552 เสียก่อน คือจะต้องบอกกล่าวให้แดงนำาเรือกลับมาทำา
เป็ นร้านอาหาร ไม่ใช้เรือลำานี้ ไปบรรท่กทราย ถ้าแดงผ้่เช่าไม่ปฏิบัติตาม ผ้ใ่ ห้เช่าคือขาวจึงจะบอกเลิกสัญญาได้
ตาม ป.พ.พ.มาตรา 554
การที่ขาวบอกเลิกสัญญาทันที เพราะเหต่ท่ีแดงใช้เรือไม่ชอบ ตาม ป.พ.พ.มาตรา 552 นั้น ขาวบอกเลิกไม่ชอบ
ด้วยกฎหมาย แม้จะให้แดงส่งมอบเรือคืนใน 7 วันก็ตาม แม้สัญญาเช่าเรือลำานี้ จะเป็ นการเช่าที่ไม่มีกำาหนด
เวลา ขาวผ้่ให้เช่าก็มิจำาเป็ นต้องบอกกล่าวตาม ป.พ.พ.มาตรา 566 เสมอไป เพราะการบอกเลิกสัญญาของขาว
เป็ นเรื่องของการบอกเลิกที่ผ้่เช่าใช้เรือโดยไม่ชอบ จึงต้องนำาหลักของ ป.พ.พ.มาตรา 554 มาใช้บังคับ

2. (ก) มืดได้ตกลงด้วยวาจาเช่าซื้อรถจักรยานยนต์จากเหลืองมีกำาหนดเวลา 3 ปี โดยตกลงชำาระค่าเช่าซื้อท่ก


ๆ วันสิ้นเดือน ๆ ละ 1,500 บาท มืดชำาระค่าเช่าซื้อมาท่ก ๆ เดือนจนถึงวันที่ 29 ก่มภาพันธ์ 2543 ซึ่งเป็ นวัน
ครบกำาหนดชำาระค่าเช่าซื้อในเดือนที่ 7 พอดี ปรากฏว่ามืดมิได้ชำาระค่าเช่าซื้อโดยอ้างว่าสัญญาเช่าซื้อนี้ ไม่
ผ่กพันมืดเพราะไม่ได้ทำาเป็ นหนังสือ แต่อย่างไรก็ตามเหลืองได้ออกใบเสร็จรับเงินให้มืดท่ก ๆ ครั้งที่มืดได้ชำาระ
ค่าเช่าซื้อ ให้ท่านวินิจฉัยว่ามืดจะต้องผ่กพันตามสัญญาเช่าซื้อรถจักรยานยนต์คันนี้ หรือไม่ เพราะเหต่ใด
(ข) ถ้าข้อเท็จจริงตามข้อ (ก) เป็ นสัญญาเช่าทรัพย์ เมื่อมืดไม่ชำาระค่าเช่าในวันที่ 29 ก่มภาพันธ์ 2543 เหลือง
จึงบอกเลิกสัญญาทันทีในวันที่ 8 มีนาคม 2543 ได้หรือไม่ เพราะเหต่ใด

ธงคำาตอบ ก. หลักกฎหมาย ป.พ.พ.มาตรา 572 วรรคท้าย


วินิจฉัย มืดมิต้องผ่กพันตามสัญญาเช่าซื้อรถจักรยานยนต์คันนี้ เพราะสัญญาเช่าซื้อระหว่างมืดกับเหลืองตกลง
ด้วยวาขามิได้ทำาเป็ นหนังสือ สัญญาเช่าซื้อจึงตกเป็ นโมฆะ ค่่สัญญาจึงไม่มีความผ่กพันกันตามกฎหมายเช่าซื้อ
แม้เหลืองได้ออกใบเสร็จรับเงินให้แก่มือท่ก ๆ ครั้ง ใบเสร็จรับเงินก็มิใช่สัญญาเช่าซื้อที่ทำาเป็ นหนังสือตาม
ป.พ.พ.มาตรา 572 วรรค 2
ข. หลักกฎหมาย ป.พ.พ.มาตรา 560
วินิจฉัย สัญญาระหว่างมือกับเหลืองบังคับกันได้โดยชอบด้วยกฎหมาย เมื่อมือไม่ชำาระค่าเช่าในวันที่ 29
ก่มภาพันธ์ 2543 เหลืองบอกเลิกสัญญาทันที ในวันที่ 8 มีนาคม 2543 มิได้ เหลืองต้องบอกกล่าวให้มือนำาค่า
เช่ามาชำาระเสียก่อนเพราะเป็ นการตกลงชำาระค่าเช่าเป็ นรายเดือน ซึ่งจะต้องให้เวลากับมืดในการนำาค่าเช่ามา
ชำาระอย่างน้อย 15 วัน ถ้ามืดไม่นำาค่าเช่ามาชำาระตามคำาบอกกล่าว เหลืองจึงจะบอกเลิกสัญญาได้ ตาม
ป.พ.พ.มาตรา 560

3. (ก) นายอ้วนทำาสัญญาจ้างนายหม่จากจังหวัดเชียงใหม่มาทำางานเป็ นพ่อครัวที่กร่งเทพฯ โดยนายอ้วนออก


เงินค่าเดินทางให้ มีกำาหนดเวลา 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2542 ถึงวันที่ 29 ก่มภาพันธ์ 2543 เมื่อทำางานได้
6 เดือน นายอ้วนให้นายหม่ไปทำางานเป็ นพ่อครัวให้นายผอมซึ่งเป็ นญาติกันโดยนายผอมเป็ นผ้่จ่ายค่าจ้างให้
นายหม่ทำางานจนถึงวันที่ 29 ก่มภาพันธ์ 2543 และต้องการเดินทางกลับบ้านที่จังหวัดเชียงใหม่จึงขอค่าเดิน
ทางขากลับจาก นายผอม เช่นนี้ นายผอมจะต้องจ่ายให้หรือไม่ เพราะเหต่ใด จงอธิบาย
(ข) สัญญาจ้างทำาของเป็ นสัญญาเฉพาะตัวของผ้่รับจ้างหรือไม่ เพราะเหต่ใด จงอธิบายโดยยกหลักกฎหมาย
ประกอบ

ธงคำาตอบ
(ก) สัญญาจ้างแรงงานจะเกิดขึ้นต่อเมื่อค่่สัญญาตกลงกัน ตามมาตรา 575 การที่นายผอมจ่ายค่าจ้างให้ นาย
หม่ท่ีทำางานเป็ นพ่อครัวให้ จะถือว่าเป็ นนายจ้างของนายหม่ไม่ได้ ทั้งนี้ เพราะสัญญาจ้างแรงงานเกิดขึ้นโดยการ
แสดงเจตนาทำาสัญญาระหว่างนายอ้วนกับนายหม่ เพียงแต่นายอ้วนได้ให้นายหม่ไปช่วยงานของนายผอม
เท่านั้น เพราะฉะนั้นนายผอมจึงไม่ใช่นายจ้างตามมาตรา 575 ที่จะต้องจ่ายเงินค่าเดินทางขากลับให้ตาม
มาตรา 586 (อธิบายหลักกฎหมายมาตรา 575)
(ข) วัตถ่ประสงค์ของสัญญาจ้างทำาของอย่่ท่ีผ้่รับจ้างตกลงจะทำาการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่ งจนสำาเร็จตามมาตรา 587
ผ้่รับจ้างจึงต้องทำาการงานนั้นให้แก่ผ้่ว่าจ้างโดยจะเอาการงานที่รับจ้างทั้งหมดหรือแบ่งการแต่บางส่วนไปให้
ผ้่รับจ้างช่วงทำาอีกทอดหนึ่ งก็ได้ ตามมาตรา 607
สัญญาจ้างทำาของจึงไม่เป็ นสัญญาเฉพาะตัวของผ้่รับจ้าง แต่ถ้าสาระสำาคัญแห่งสัญญาอย่่ท่ีความร้่ความ
สามารถของตัวผ้่รับจ้าง ผ้่รับจ้างจะเอาไปให้รับจ้างช่วงทำาอีกทอดหนึ่ งไม่ได้ (อธิบายหลักกฎหมายมาตรา
607)

ข้อสอบพาณิชย์ 1 ภาค 2/2542

1. นายหน่ทำาสัญญาเป็ นหนังสือกันเองเช่าที่ดินจากนายนกเพื่อปล่กบ้านอย่่อาศัยมีกำาหนด 15 ปี มีขอ ้ สัญญา


ข้อหนึ่ งว่า "ถ้าสัญญาเช่าที่ดินสิ้นส่ดลงไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม ผ้ใ่ ห้เช่าจะต้องรับซื้อบ้านที่ปล่กบนที่ดินที่เช่าใน
ราคาท้องตลาด" เมื่อนายหน่เช่าที่ดินมาครบ 3 ปี พอดี นายนกได้ขายที่ดินที่นายหน่เช่าอย่่น้ี ให้กับนายมด นาย
มดจึงบอกเลิกสัญญาเช่าที่ดินแปลงนี้ กับนายหน่ และให้นายหน่ร้ ือถอนบ้านออกไปด้วย เช่นนี้ นายมดจะบอก
เลิกสัญญาเช่าได้หรือไม่ และนายหน่จะต่อส้ว ่ ่าผ้่ให้เช่าต้องรับซื้อบ้านที่ปล่กบนที่ดินที่เช่าในราคาท้องตลาดได้
หรือไม่ เพราะเหต่ใด

ธงคำาตอบ นายหน่ทำาสัญญาเช่าทรัพย์กับนายนกมีกำาหนดเวลา 15 ปี แต่ไม่ได้จดทะเบียนต่อพนักงาน เจ้า


หน้าที่ จึงสามารถฟ้ องร้องบังคับคดีได้แต่เพียง 3 ปี เท่านั้นตามมาตรา 538 ถ้ามีการโอนกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สิน
ที่เช่าไปในระหว่างสัญญาเช่าจะไม่ทำาให้สัญญาเช่าจะไม่ทำาให้สัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ระงับไป ผ้่รับโอนย่อม
รับไปทั้งสิทธิและหน้าที่ของผ้่โอนซึ่งมีต่อผ้่เช่าด้วยตามมาตรา 569
เมื่อนายมดได้ซ้ ือบ้านและที่ดินมา นายหน่ได้เช่าบ้านและที่ดินมาแล้ว 3 ปี นายมดจึงสามารถบอกเลิกสัญญา
เช่าได้
ส่วนข้อสัญญาที่กำาหนดให้ผใ้่ ห้เช่าต้องรับซื้อเรือนไม้ตามราคาในท้องตลาดที่ซ้ ือขายกันนั้น แม้ว่าจะเป็ นเงื่อนไข
ในสัญญาแต่ก็เป็ นเงื่อนไขหรือข้อสัญญาต่างหากจากสิทธิและหน้าที่ในการเช่า จึงไม่ ผ่กพันนายมดผ้่รับโอน
นายหน่จึงต่อส้่ไม่ได้

2. (ก) นายดำาทำาสัญญาเช่าซื้อรถยนต์ 1 คันจากนายแดง ตกลงชำาระค่าเช่างวดละ 1 เดือน เป็ นจำานวน 24


งวด และมีข้อตกลงว่าการชำาระค่าเช่าซื้อตามกำาหนดเวลาที่ตกลงกันไว้ ให้ถือว่าเป็ นสาระสำาคัญของสัญญา ถ้า
มีการผิดนัดชำาระงวดใดงวดหนึ่ ง นายแดงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ทันที นายดำาชำาระค่าเช่าตลอดมาเป็ นเวลา
12 เดือน แต่นายดำาไม่ได้ชำาระค่าเช่าของเดือนที่ 13 เพราะมีความจำาเป็ นต้องนำาเงินไปรักษาบิดาที่ป่วย และ
ขอนำาเงินมาชำาระให้ในภายหลัง นายแดงไม่ยอมรับและบอกเลิกสัญญาทันที นายดำาต่อส้่ว่านายแดงยังไม่
สามารถบอกเลิกสัญญาได้ตามกฎหมาย เช่นนี้ ถ่กต้องหรือไม่ เพราะเหต่ใด จงอธิบาย
(ข) ถ้าข้อเท็จจริงตามข้อ (ก) เป็ นสัญญาเช่าทรัพย์ คำาตอบจะแตกต่างไปหรือไม่ เพราะเหต่ใด จงอธิบาย

ธงคำาตอบ (ก) ตามกฎหมายมาตรา 574 ผ้ใ่ ห้เช่าจะบอกเลิกสัญญาได้ในกรณีผ้่เช่าผิดนัดไม่ใช้เงินสองคราว


ติดๆ กันหรือกระทำาผิดสัญญาในข้อที่เป็ นส่วนสำาคัญ เมื่อนายดำากับนายแดงได้ทำาสัญญาโดยมีข้อตกลงว่าการ
ชำาระค่าเช่าซื้อตามกำาหนดเวลาที่ตกลงกันไว้ถือว่าเป็ นสาระสำาคัญของสัญญา ถ้ามีการผิดนัดชำาระงวดใดงวด
หนึ่ งนายแดงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ทันที ดังนั้นนายดำาได้ทำาผิดสัญญาที่ไม่ได้ชำาระค่าเช่าของเดือนที่ 13 จึง
ถือว่าเป็ นการกระทำาผิดสัญญาในข้อที่เป็ นส่วนสำาคัญนายแดงจึงบอกเลิกสัญญาได้ นายดำาต่อส้่ไม่ได้
(ข) ถ้าเป็ นสัญญาเช่าทรัพย์ การผิดนัดไม่ชำาระค่าเช่าที่พึงส่งเป็ นรายเดือนจะต้องมีการบอกกล่าวก่อนอย่าให้
น้อยกว่า 15 วัน ตามมาตรา 560 วรรคสอง แต่มาตรานี้ ไม่ใช่กฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยและศีล
ธรรมอันดีของประชาชนจึงสามารถตกลงกันเป็ นประการอื่นได้ ดังนั้นเมื่อค่่สัญญาตกลงกันให้บอกเลิกสัญญา
ไว้ทันทีถ้ามีการผิดนัดชำาระงวดใดงวดหนึ่ ง นายดำาได้ผิดนัดชำาระงวดที่ 13 นายแดงจึงสามารถบอกเลิกสัญญา
ได้ทันที นายดำาต่อส้่ไม่ได้

3. (ก) นายอ้วนทำาสัญญาจ้างนายผอมเป็ นพ่อครัวมีกำาหนดเวลาหนึ่ งปี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2542 ตกลงค่า


จ้างเดือนละ 10,000 บาท โดยจ่ายท่ก ๆ วันที่ 25 ของเดือน ต่อมานายผอมทำางานไม่ดีจึงต้องการเลิกจ้างนาย
อ้วน จึงบอกเลิกจ้างนายผอมในวันที่ 31 มีนาคม 2543 เช่นนี้ นายผอมจะต่อส้่ได้อย่างไรบ้าง จงอธิบาย
(ข) ถ้าผ้่ว่าจ้างมีหน้าที่จัดหาสัมภาระ จะมีหน้าที่และความรับผิดอย่างไร จงอธิบาย

ธงคำาตอบ (ก) สัญญาระหว่างนายอ้วนกับนายผอมเป็ นสัญญาจ้างแรงงานมีกำาหนดเวลา 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 1


มกราคม 2542 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2542 เมื่อนายผอมทำางานเรื่อยมาจนถึงเดือนมีนาคม 2543 จึงกลาย
เป็ นสัญญาไม่มีกำาหนดเวลาตามมาตรา 581 ซึ่งฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ งจะเลิกสัญญาได้ตามมาตรา 582 โดยมีการ
บอกกล่าวล่วงหน้าก่อน ในเมื่อถึงหรือก่อนจะถึงกำาหนดจ่ายสินค้าจ้างคราวใดคราวหนึ่ ง เพื่อให้เป็ นผลเลิก
สัญญากันเมื่อถึงกำาหนดจ่ายสินจ้างคราวถัดไปข้างหน้า
ดังนั้นเมื่อมีการตกลงจ่ายค่าจ้างท่ก ๆ วันที่ 25 ของเดือนนายอ้วนบอกเลิกจ้างวันที่ 31 มีนาคม ถึงกำาหนดจ่าย
สินจ้างคือวันที่ 25 เมษายนก็จะมีผลเลิกสัญญาวันที่ 25 พฤษภาคม นายผอมจึงต่อส้่ได้
(ข) ตอบตามมาตรา 590, 591 และ 604 โดยอธิบายประกอบ

ข้อสอบกฎหมายพาณิชย์ 1

นายเสาร์เอารถยนต์ของนายอาทิตย์มาให้นายจันทร์เช่า โดยที่นายอาทิตย์มิได้ร้่เห็นยินยอมด้วย ต่อมานาย


อาทิตย์มาเรียกร้องให้นายจันทร์ผ้่เช่า ซึ่งครอบครองรถอย่่ในขณะนั้นส่งรถคืนให้ตน ดังนี้ นายเสาร์จะต้องรับ
ผิดต่อนายจันทร์ผ้่เช่าหรือไม่

เฉลย ตาม ปพพ. มาตรา 549 ความรับผิดของผ้่ให้เช่าในกรณีรอนสิทธิ ให้บังคับด้วยบทบัญญัติว่าด้วยการซื้อ


ขายอน่โลมตามสมควร
ส่วนตามมาตรา 475 ถ้าหากมีบ่คคลใดมาก่อการรบกวนขัดสิทธิของผ้่ซ้ อ ื ในอันที่จะครองทรัพย์สินโดยปกติส่ข
เพราะบ่คคลผ้่น้ันมีสิทธิเหนื อทรัพย์สินที่ได้ซ้ ือขายกันนั้นอย่ใ่ นเวลาซื้อขายก็ดี เพราะความผิดของผ้่ขายก็ดี ผ้่
ขายจะต้องรับผิด
โดยอน่โลมลักษณะสัญญาซื้อขาย การที่นายอาทิตย์เจ้าของมาเรียกร้องรถที่เช่าคืนจากนายจันทร์น้ัน เป็ นการ
ก่อการรบกวนขัดสิทธิของนายจันทร์ผ้่เช่าในอันที่จะครองรถที่เช่าโดยปกติส่ข นายอาทิตย์มีสิทธิเหนื อรถ
เพราะเป็ นเจ้าของ จึงเป็ นการรอนสิทธิของนายจันทร์ผ้่เช่า นายเสาร์ผ้่ให้เช่าจึงต้องรับผิดต่อนายจันทร์ผ้่เช่า
ตามมาตรา 549, 475

You might also like