You are on page 1of 11

-25- CPG.

for SLE

Cutaneous lupus erythematosus Systemic


and
lupus erythematosus
Cutaneous Lupus Erythematosus 2.2 ตรวจรางกายมีลักษณะเฉพาะ
ระบบผิวหนังและเยื่อบุ ของผื่น เชน รูปผีเสื้อบริเวณใบหนา, ผื่น
อาการและอาการแสดงทางผิวหนังใน discoid และผื่นหลอดเลือดอักเสบ (vasculitis
ผูปวย SLE สามารถแบงไดเปน 2 แบบ ตาม rash) เปนตน
criteria ของ James N. Gillian (ตาราง 1) คือ 2.3 การตัดชิ้นเนื้อผิวหนัง ทําเมื่อ
1. ผื่นที่พบเฉพาะในโรค LE แบงได ลักษณะของผื่นทางคลินิกไมชัดเจน หรือ
เปน 3 แบบคือ ตองการแยกโรคผิวหนังอื่น ๆ ที่มีลักษณะคลาย
iผื่นชนิดเฉียบพลัน (acute ผื่นของโรค SLE
cutaneous LE) การรักษา
iผื่นชนิดกึ่งเฉียบพลัน (subacute 1. Discoid LE, Mucocutaneous LE
cutaneous LE) 1.1 ยาสเตียรอยดครีมทา
iผื่นชนิดเรือ้ รัง (chronic cutaneous 1.2 ฉีดยาสเตียรอยดเขาทีบ่ ริเวณรอย
or discoid LE) โรคโดยใช 5 – 10 มก ของ triamcinolone
2. ผื่นที่ไมจําเพาะสําหรับ LE ผื่นผิว acetonide (ไมควรเกิน 10 มก/ครั้ง)
หนักอักเสบชนิดนี้พบไดในโรค LE และโรค 1.3 ยาตานมาลาเรีย
อื่น ๆ เชน ผืน่ แพแดด จุดเลือดออก ผมรวง 1.4 ทาครีมกันแดด
ผื่นจากหลอดเลือดอักเสบ ผื่น urticarial 1.5 ในรายที่เปนมากและอาการรุนแรง
vasculitis และแผลในปาก และไมตอบสนองตอการรักษา อาจใหยาส
การวินจิ ฉัยโรค Cutaneous LE วินิจฉัยไดจาก เตียรอยดในขนาดต่ํา, dapsone หรือยากด
2.1 ประวัติสัมพันธกบั แสงแดด, ภูมิคุมกัน เชน methotrexate, azathioprine และ
ผมรวง, ตําแหนง และอาการของผื่น cyclophosphamide หรือ 13-cis retinoic acid
หรือ etretinate เปนตน
  
สถาบันโรคผิวหนัง
-26- CPG. for SLE

2. Cutaneous vasculitis, Oral ulcer 3.2 สเตียรอยดครีมทา เชน 0.02%


2.1 รับประทานยา dapsone (100มก./ triamcinolone acetonide บริเวณผิวหนังที่บาง
วัน) หรือ colchicine (ขนาด 0.6 มก วันละ 2 เชน ใบหนา 0.1% triamcinolone acetonide ทา
ครั้ง) บริเวณผิวหนังทั่วไป
2.2 รับประทานยาสเตียรอยดในขนาด 3.3 ยาตานมาลาเรีย
ปานกลาง (20-30 มก/วัน หรือ 0.5 มก/กก) 3.4 ในรายทีร่ ุนแรง เปนมาก หรือไม
2.3 ในรายที่ไมตอบสนองตอการรักษา ตอบสนองตอการรักษา อาจให corticosteroids
ใหพิจารณาใหยากดภูมิคุมกันรวมดวย ในขนาดต่ํา dapsone (100 มก/วัน) หรือยากด
3. Acute and subacute cutaneous LE ภูมิคุมกัน
3.1 ยากันแดดที่มี sun protecting
factor (SPF) อยางนอย 15 ขึ้นไป
แนวทางการรักษาโรค SLE (Systemic lupus erythematosus)
เกณฑในการวินิจฉัยโรค SLE criteria for the classification of systemic lupus
อาศัยเกณฑในการวินจิ ฉัยตาม 1982 The erythematous รวมกับ 1997 Updating
American College of Rheumatology revised classification criteria ไดแก

ขอวินิจฉัย คําจํากัดความ
1. Malar rash ผื่นแดง ราบหรือนูนบริเวณโหนกแกม สวนใหญไม involve nasolabial fold
2. Discoid lesion ผื่นนูนแดง ขอบเขตชัดเจน มีสะเก็ด, มี follicular plugging อาจพบลักษณะ
atrophic scar ในรอยโรคเกา
3. Photosensitivity เปนผื่น แพแสงมากผิดปกติ สังเกตโดยผูป วยเองหรือแพทย
4. Oral ulcer เปนแผลในปากหรือ nasopharynx มักเปนแผลที่ไมเจ็บ, สังเกตโดยแพทย
5. Arthritis ขออักเสบมากกวา 2 ขอ โดยมีลักษณะขอบวม ปวด และมีน้ําไขขอ แตไมมี
ลักษณะกระดูกกรอน (erosion) ในภาพรังสี
6. Serositis A เยื่อหุมปอดอักเสบ วินิจฉัยจากประวัติ เจ็บหนาอกเวลาหายใจเขาออก, หรือฟง
ไดเสียงเสียดสีของเยื่อหุมปอด (pleural rub) โดยแพทย, หรือการตรวจพบน้ําใน
ชองเยื่อหุมปอด
หรือ B เยื่อหุมหัวใจอักเสบ วินิจฉัยจากการเปลี่ยนแปลงทางคลื่นไฟฟาหัวใจ, หรือฟง
  
สถาบันโรคผิวหนัง
-27- CPG. for SLE

ไดเสียงเสียดสีของเยื่อหุมหัวใจ (pericardial rub) โดยแพทย, หรือตรวจพบน้ําใน


ชองเยื่อหุมหัวใจ
7. Kidney A ตรวจพบไขขาวในปสสาวะ (Proteinuria) มากกวา 0.5 กรัม/วัน ตลอดเวลาหรือ
พบไขขาวในปสสาวะตั้งแต +3 (ถาไมไดตรวจวัดปริมาณแนนอน)
หรือ B มี cast ซึ่งอาจเปนชนิดเม็ดเลือดแดง, ฮีโมโกลบิน granular, tubular หรือพบรวมกัน

8. Nervous System A ชักโดยไมมีสาเหตุจากยาหรือความผิดปกติทางเมตะบอลิสม เชน uremia


Ketoacidosis หรือการไมสมดุลของเกลือแร เปนตน
หรือ B โรคจิตที่ไมไดเกิดจากยาหรือความผิดปกติทางเมตะบอลิสม เชน uremia,
Ketoacidosis หรือการไมสมดุลของเกลือแร เปนตน
9. Blood A hemolytic anemia รวมกับการเพิ่มขึ้นของ reticulocyte
หรือ B เม็ดเลือดขาวต่ํากวา 4,000 เซลล/มม3 โดยตรวจพบอยางนอย 2 ครั้ง
หรือ C ลิยมโฟซัยต่ํากวา 1,500 เซลล/มม3 โดยตรวจพบอยางนอย 2 ครั้ง
หรือ D เกล็ดเลือดต่ํากวา 100,000 เซลล/มม3 โดยไมใชสาเหตุจากยา
10. Immunologic A ตรวจพบ anti-native DNA (ds-DNA) ในขนาดที่สูงกวาคนปกติ
หรือ B ตรวจพบ anti-Sm antibody
หรือ C ตรวจพบ antiphospholipid antibody โดย
(1) พบระดับ IgG หรือ IgM anticardiolipin antibody ในปริมาณที่สูง
กวาคนปกติ
(2) ตรวจพบ lupus anticoagulant ดวยวิธีมาตรฐาน
(3) ตรวจ serology สําหรับซิฟลิสใหผลบวกลวง เปนเวลาอยางนอย 6 เดือน
ซึ่งทําการยืนยันดวย treponema pallidium immunobilzation หรือ
fluorescent treponemal antibody absorption test
11. Antinuclear พบ antinuclear antibody ดวยวิธี immunofluorescence หรือการตรวจที่เทียบเทาใน
Antibody ชวงเวลาใดเวลาหนึ่งในปริมาณที่สูงกวาปกติและตองไมไดรับยาซึ่งสามารถกอใหเกิด
กลุมอาการ drug-induced lupus

  
สถาบันโรคผิวหนัง
-28- CPG. for SLE

การวินจิ ฉัยวาเปนโรค SLE ผูปวยจะตองมีขอ Chest X-ray


วินิจฉัยจํานวน 4 ขอหรือมากกวา จากจํานวน FBS, Cr.
ทั้งหมด 11 ขอ ซึ่งอาจตรวจพบตามลําดับหรือ Liver function และ serum albumin
พรอม ๆ กันในระหวางการดูแลผูปวยก็ได Stool exam (for parasite และ occult blood)
การประเมินความรุนแรง (Severity) ของโรค ANA และ Anti-ds DNA
ประเมินจากอาการและอาการแสดง VDRL (ทําเพื่อชวยในการวินจิ ฉัยในกรณีที่
ของโรค รวมทั้งผลการตรวจทาง เกณฑวินจิ ฉัยยังไมครบ)
หองปฏิบัติการ อาจแบงผูปวย SLE เปน 2 กลุม
คือ การตรวจทางหองปฏิบัติการอื่นเพิ่ม
1. Major organ involvement มีพยาธิสภาพใน จากที่กลาวไปแลวนั้น ขึน้ อยูกับอาการแสดง
อวัยวะที่มีความสําคัญสูง และอาจเปนเหตุให ทางคลินิกวามีความผิดปกติในระบบใด (ควร
เสียชีวิตได เชน อาการทางสมองและระบบ พิจารณาใหเหมาะสมเปนราย ๆ ไป) ไดแก
ประสาท ไต หัวใจ ปอด ระบบทางเดิน Muscle : muscle enzymes, EMG, muscle
อาหารและเลือด เปนตน biopsy
2. Non-major organ involvement มีพยาธิ Joint : synovial fluid analysis, joint film,
สภาพในผิวหนัง กระดูกและขอ กลามเนื้อและ rheumatoid factor
อาการทั่ว ๆ ไป เชน ไข Lung : ตรวจเสมหะ, pulmonary function test
ผูปวยที่มี major organ involvement Heart : EKG, echocardiography
จัดเปนกลุมผูปวยที่เปนรุนแรง ตองการการ Blood :
รักษาที่รวดเร็ว เรงดวนกวากลุมที่มี non-major 1. reticulocyte count direct Coombs’
organ involvement test, serum bilirubin และ LDH ในกรณีสงสัยมี
การตรวจทางหองปฏิบตั ิการ hemolytic anemia
การตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อการ 2. platelet count, anti-HIV ในกรณี
วินิจฉัยและรักษา ไดแก thrombocytopenia
Skin : biopsy เพื่อตรวจ histology และ direct IF 3. bone marrow study ในกรณี
CBC : blood smear examination และ hemolytic anemia แต reticulocyte count ต่ํา ( <
ESR 2%) หรือกรณีตองการวินิจฉัยแยกสาเหตุอื่น
Urinalysis
  
สถาบันโรคผิวหนัง
-29- CPG. for SLE

ของภาวะเกล็ดเลือดต่ํา เชน myelophthisis หรือ ผมรวง ผื่น discoid แผลในปาก อาการปวด


เกล็ดเลือดต่ําจากยา เปนตน รอนหรือขออักเสบและกลามเนื้อ การรักษาคือ
4. VDRL, PT, PTT, Lupus anticoagulant และ 1.1 ใหยาตานมาลาเรีย (antimalarial)
anticardiolipin Ab ในกรณี vascular คือ chloroquine ขนาด 250 มก/วัน หรือ
thrombosis hydroxychloroquine ขนาด 200-400 มก/วัน จน
Kidney : 24 hr urine protein, creatinine อาการดีขึ้นจึงคอย ๆ ลดยาลงและใหคงยาไวใน
clearance, renal biopsy ขนาดต่ํา (maintenance dose) เพื่อควบคุมโรค
CNS : CSF analysis, CT scan, MRI ใหอยูใ นระยะสงบ
GI และ hepatobiliary tract: film abdomen, 1.2 ใหยาตานอักเสบที่มิใชสเตียรอยด
serum และ urine amylase, lipase หรือ รวมดวยในกรณีมีอาการปวดขอและกลามเนื้อ
ultrasound หรือขออักเสบ เชน Aspirin grV 6-12 tab/day
Serosa : effusion analysis, Wright stain for LE 1.3 ใหยาสเตียรอยดครีมทารวมดวยใน
cells กรณีมีผื่นผิวหนัง
การใหการดูแลและรักษาผูปว ยโรค SLE 1.4 ในรายที่รกั ษาตามขอ 1 – 3 แลว
ผูปวยโรค SLE มักจะมีอาการและ อาการดีขึ้นไมมากพอ ใหยา prednisolone ขนาด
อาการแสดงในหลาย ๆ อวัยวะพรอม ๆ กัน ต่ํา รับประทาน (≤ 30 มก/วัน) รวมดวยเมื่อ
การรักษาจึงตองวางแผนสําหรับการรักษาทั้งตัว ควบคุมอาการไดแลวควรลดขนาดยาลงชา ๆ
(holistic) มากกวาทีจ่ ะมุงรักษาเพียงอวัยวะใด เชน 2.5 – 5 มก. ทุก 2 – 4 สัปดาห จนหยุดหรือ
อวัยวะหนึ่ง แตในขณะเดียวกันก็ตองพิจารณา เหลือขนาดต่ําสุดที่คุมอาการได
วาอวัยวะใดทีม่ ีอาการแสดงหรือมีพยาธิสภาพ 2. อาการปานกลาง ไดแก ผูป วยที่มีไข serositis
รุนแรงมากที่สดุ เพื่อเลือกการรักษาที่สามารถ มีผื่นผิวหนังแบบ leukocytoclastic vasculitis,
คุมอาการแสดงในอวัยวะนัน้ ไดอยางเหมาะสม bulla หรือ acute cutaneous rash ซึ่งเปนมาก
การรักษาอาจแบงตามความรุนแรงของ ควรเริ่มใหการรักษาดวยยาตานมาลาเรีย รวมกับ
โรคออกไดเปน 3 ระดับ คือ รับประทาน prednisolone ขนาด 30 – 45 มก/วัน
1. อาการนอย ไดแก ผูปวยมีอาการไม (กรณีไมมี vasculitis) และใหรวมกับยากด
รุนแรงและไมเปนอุปสรรคตอการดําเนินชีวิต ภูมิคุมกันหากมีvasculitisรวมดวย เชน
มากนัก เชน มีอาการทางผิวหนัง ผื่นที่หนา methotrexate, azathioprine, cyclophosphamide
เพื่อชวยควบคุมโรคในระยะยาวและชวยใหการ
  
สถาบันโรคผิวหนัง
-30- CPG. for SLE

ลดยาสเตียรอยดทําไดงายขึน้ ผูปวยที่ขออักเสบ และใหความรวมมือในการรักษาและติดตาม


เปนเรื้อรังหรือมีอาการปวดตามเนื้อเยื่อตางๆ การรักษา
ควรแนะนําทํากายภาพบําบัดรวมดวยเสมอ การปฏิบตั ิตัวที่ควรแนะนําตอผูป วย ไดแก สิ่ง
3. อาการรุนแรง ควรสงตออายุรแพทย ตอไปนี้
1. สําหรับผูปวยที่มีอากรแพแสงแดดควร
การติดตามการรักษา หลีกเลี่ยงแสงแดด ตั้งแตชวง 10.00 น. ถึง 16.00
ควรติดตามการรักษาเปนระยะ แม น. ถาจําเปนใหกางรม หรือใสหมวก สวมเสื้อ
อาการดีขึ้นแลว เพราะอาจเกิดการกําเริบได แขนขาวและใชยาทากันแดดที่ปองกันแสงอุลตรา
โดยสังเกตจาก ไวโอเลตไดดี
1. อาการทางคลินิก 2. พักผอนใหเพียงพอ
2. ระดับโปรตีนในปสสาวะ และ 3. หลีกเลี่ยงความตึงเครียด โดยพยายาม
urinary sediment ฝกจิตใจใหปลอยวาง ไมหมกมุน ทําใจยอมรับ
3. BUN, creatinine ในเลือด กับโรคและปญหาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นและคอย ๆ
4. 24 hr. urine protein, และ creatinine แกปญหาตาง ๆ ตามลําดับ
clearance 4. ออกกําลังกายใหสม่ําเสมอ
5. C3 level เมื่อมี exacerbation 5. ไมรับประทานอาหารที่ไมสุก หรือไม
6. Anti-ds DNA titer เมื่อมี สะอาด เพราะจะมีโอกาสติดเชื้อตาง ๆ งาย เชน
exacerbation พยาธิตาง ๆ หรือแบคทีเรีย โดยเฉพาะไทฟอยด
การใหความรูแ ละคําแนะนําแกผูปวย 6. ดื่มนมสด และอาหารอื่น ๆ ที่มีแค
โรค SLE เปนโรคเรื้อรังซึ่งมีอาการ ลเชี่ยมสูง เพื่อปองกันภาวะกระดูกพรุน
กําเริบและสงบสลับกันไป ตลอดการดําเนิน 7. ไมรับประทานยาเองโดยไมจําเปน
โรคซึ่งตอเนื่องระยะยาว การใหความรูแก เพราะยาบางตัวอาจทําใหโรคกําเริบได
ผูปวยและญาติที่เกี่ยวของจึงมีความสําคัญอยาง 8. ปองกันการตั้งครรภขณะโรคยังไมสงบ
ยิ่ง โดยจะชวยใหเขาใจโรค วิธีการรักษา วิธี โดยเฉพาะอยางยิ่งหากกําลังไดยากดภูมิคุมกัน
ปฏิบัติตัวเพื่อลดโอกาสกําเริบ ลดการติดเชื้อ อยู ควรหลีกเลี่ยงการใชยาเม็ด ยาฉีด
ตลอดจนผลขางเคียงอื่น ๆ อันเกิดจากยาทีใ่ ช คุมกําเนิด ซึ่งมีเอสโตรเจน เพราะอาจทําใหโรค
รักษาโรค การใหคําแนะนําอธิบายที่ดีชวยให กําเริบได ถาจําเปนตองใช อาจใชยาเม็ด
ผูปวยมีกําลังใจในการรักษาโรค ไมทอถอย คุมกําเนิดที่มีเอสโตรเจนขนาดต่ํา (minipill)
  
สถาบันโรคผิวหนัง
-31- CPG. for SLE

และไมควรใชวิธีใสหวงดวย เพราะมีโอกาสติด 16. ควรตรวจสุขภาพสม่ําเสมอ ถามีการ


เชื้อสูงกวาคนปกติ ทําฟน ถอนฟน ใหรับประทานยาปฏิชวี นะ
9. เมื่อโรคอยูในระยะสงบสามารถ กอนและหลังการทําฟนเพื่อปองกันการติดเชื้อ
ตั้งครรภได แตควรปรึกษาแพทยกอน และขณะ ทั้งนี้โดยปรึกษาแพทย
ตั้งครรภควรมารับการตรวจอยางใกลชิดมาก
กวาเดิม เพราะบางครั้งโรคอาจกําเริบขึ้น
ระหวางตั้งครรภ
10. หลีกเลี่ยงจากสถานที่แออัดที่มีคน
หนาแนน ที่ทอี่ ากาศไมบริสุทธิ์ และไมเขาใกล
ผูที่กําลังเปนโรคติดเชื้อ เชน ไขหวัด เพราะจะมี
โอกาสติดเชื้อระบบทางเดินหายใจไดงา ย
11. ถามีลักษณะทีบ่ งชี้วามีการติดเชื้อ เชน
ไขสูง หนาวสั่น มีฝตุมหนองตามผิวหนัง ไอ
โดย เสมหะเหลืองเขียว ปสสาวะแสบขัด ให
รีบปรึกษาแพทยทันที
12. หามหยุดยาที่รกั ษากระทันหัน
โดยเฉพาะยาสเตียรอยด

13. หากรับประทานยากดภูมิคุมกันอยู เชน


azathiopine, cyclophosphamide ใหหยุดยานี้
ชั่วคราวในระหวางที่มกี ารติดเชื้อ
14. มาตรวจตามแพทยนัดอยางสม่ําเสมอ
เพื่อประเมินภาวะของโรค และเพื่อปรับเปลี่ยน
การรักษาใหเหมาะสม
15. ถามีอาการผิดปกติที่เปนอาการของโรค
กําเริบ ใหมาพบแพทยกอนนัด เชน มีอาการไข
เปน ๆ หาย ๆ ออนเพลีย น้ําหนักลด บวม ผม
รวง ผื่นใหม ๆ ปวดขอ เปนตน
  
สถาบันโรคผิวหนัง
-32- CPG. for SLE

Lupus Erythematosus

Cutaneous LE Systemic LE

Discoid Vasculitis, ACE, SCLE


Mucocutaneous oral ulcer

- Topical steroid - Dapsone - Sunscreen


- Interlesional steroid - Colchicin - Topical steroid
- antimalarial - systemic steroid - antimalrial drug
- suncreeen

not response not response

- Systemic steroid - immunosuppressive


- Dapsone
- Immunosuppressive

Mild Moderate Severe

- antimalarial without vasculitis with vasculitis refer to


internist
- NSAIDS
- Topical steroid antimalarial antimalarial
+ +
not improve prednisolone prednisolone
+
low dose prednisolone immunosuppressive
( ≤ 30 mg/day)

  
สถาบันโรคผิวหนัง
-33- CPG. for SLE

ตาราง I: Classification of skin lesions associated with lupus erythematosus


(by James N. Gillian)
I. LE-specific skin disease [cutaneous LE (CLE)]
A. Acute cutaneous LE (ACLE)
1. Localized ACLE (malar rash; butterfly rash)
2. Generalized ACLE (lupus maculopapular lupus rash, SLE rash,
photosensitive lupus dermatitis)
B. Subacute cutaneous LE (SCLE)
1. Annular SCLE (lupus marginatus, symmetric erythema centrifugum,
autoimmue annular erythema, lupus erythematosus gyratus repens)
2. Papulosquamous SCLE (disseminated DLE, subacute disseminated LE,
superficial disseminated LE, psoriasiform LE, pityriasiform LE and
maculopapular photosensitive LE)
C. Chronic cutaneous LE (CCLE)
1. Classic discoid LE (DLE)
a. localized DLE
b. Generalized DLE
2. Hypertrophic/ verrucous DLE
3. Lupus profundus/ Lupus panniculitis
4. Mucosal DLE
a. Oral DLE
b. Conjunctival DLE
5. Lupus tumidus (urticarial plague of LE)
6. Chilblain LE (chilblain lupus)
7. Lichenoid DLE (LE/ lichen planus overlap, lupus planus)
II. LE-nonspecific skin disease
  
สถาบันโรคผิวหนัง
-34- CPG. for SLE

A. Cutaneous vascular disease


1. Vasculitis
a. leukocytoclastic (palpable purpura, urticarial vasculitis)
b. Periarteritis nodosa-like cutaneous lesions
2. Vasculopathy
a. Degos’ disease-like lesion
b. Secondary atrophie blanche (livedoid vasculitis, livedo vasculitis)
3. Periungual telangiectasia
4. Livido reticularis
5. Thrombophlebitis
6. Raynaud’s phenomenon
7. Erythromelalgia (erythemalgia)
B. Nonscarring alopecia
1. “lupus hair”
2. Telogen effluvium
3. Alopecia areata
C. Scerodactyly
D. Rheumatoid nodules
E. Calcinosis cutis
F. Le-non specific bullous lesion
G. Urticaria
H. Papulonodular mucinosis
I. Cutis laxa/ anetoderma
J. Acanthosis nigricans (typeB insulin resistance)
K. Erythema multiforma
L. Leg ulcer
M. Lichen planus
  
สถาบันโรคผิวหนัง
-35- CPG. for SLE

Appendix ขนาดยาทีใ่ ช
4.1 Oral mini-pulse therapy = 7.5 –
1. NSAIDs and aspirin 15 มก/สัปดาห
- Aspirin 60-80 มก/กก/วัน 4.2 Intramuscular = 25 – 50 มก/
- Ibuprofen 20-40 มก/กก/วัน สัปดาห
- Indomethacin 75-200 มก/วัน 5. Cyclophosphamide
- Naproxen 500-1,000 มก/วัน 5.1 Oral = 1 – 2 มก/กก/วัน
- Diclofenac 75-100 มก/วัน 5.2 Intravenous pulse = 500 – 1,000
- Ketoprofen 100-200 มก/วัน มก/ตร.ม. ทุกเดือนเปนเวลา 6 เดือน
- piroxicam 10-20 มก/วัน ตอไปทุก 3 เดือน เปนเวลา 1 – 2 ป
- Sulindac 150-300 มก/วัน 6. Azathioprine รับประทาน 1 – 2 มก/กก/วัน
2. ยาตานมาลาเรีย 7. Chlorambucil รับประทาน 2 – 6 มก/วัน
- Chloroquine 4 มก/วัน หรือ 0.1 – 0.2 มก/กก/วัน
อายุ > 60 ป ควรตรวจสายตาทุก ๆ 6
เดือน < 60 ป ควรตรวจสายตาทุก ๆ 12 เดือน
- Hydroxychloroquine 7 มก/กก/วัน
3. Corticosteroids
3.1 Low dose = prednisolone < 15 –
30 มก/วัน)
3.2 Moderate dose = prednisolone 30-
40 มก/วัน หรือ 0.5 มก/กก/วัน
3.3 High dose = prednisolone > 60
มก/วัน หรือ prednisolone 1 มก/กก/วัน
3.4 Megadose or pulse therapy
= ,ethyl prednisolone 500-1,000 มก
Intravenously 3.5 วัน
4. Methotrexate
  
สถาบันโรคผิวหนัง

You might also like