You are on page 1of 20

1

วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย : รัฐธรรมนูญที่แท้จริงซึ่งไม่
เคยถูกยกเลิก

1
ฌานิ ทธิ ์ สันตะพันธุ์

เหต์ท่ีผู้เขียนตัง้ ชื่อบทความเช่นนี้ก็เพราะในช่วงนี้มีการพ้ดถึง “วงจร”


การเมืองการปกครองของไทยตลอดระยะเวลากว่า 74 ปี ท่ีผ่านมา นั บแต่
“เหต์การณุ” เมื่อวันที่ 24 มิถ์นายน 2475 เป็ นตูนมาซึ่งประกอบดูวย การ
รัฐประหาร รัฐบาลที่มาจากคณะรัฐประหาร รัฐธรรมน้ญชัว่ คราว
รัฐธรรมน้ญถาวร เลือกตัง้ รัฐบาลที่มาจากการเลือกตัง้  การ
รัฐประหาร เป็ นเช่นนี้ตลอดมา (และตลอดไป?) ในช่วงระยะดังกล่าวมีการกบฏ
และการรัฐประหาร 21 ครัง้ มีรัฐธรรมน้ญชัว่ คราว 8 ฉบับ รัฐธรรมน้ญถาวร 9
ฉบับ การเลือกตัง้ ทัว่ ไป 24 ครัง้ (ซึ่งผู้เขียนเองก็ยังไม่แน่ ใจว่าเราจะเรียกว่า
ระบอบการปกครองของประเทศไทยว่าระบอบอะไรกันแน่ )
พรูอมกันนั ้นก็มก ี ารพ้ดถึง “รัฐธรรมน้ญ” ของไทยซึ่ง ณ วันนี้ก็มีจำานวน
ฉบับเพิ่มขึ้น (เรื่อย ๆ ?) จากเดิมที่ท์ก ๆ ท่านรวมทัง้ ผู้เขียนเอง เชื่อว่า
รัฐธรรมน้ญฉบับที่ 16 น่ าจะเป็ นฉบับส์ดทูายที่อย่้ค่้กับประชาธิปไตยของไทย
เป็ นเวลานาน แต่แลูวสถิติจำานวนฉบับของรัฐธรรมน้ญ (ซึ่งไม่ใคร่จะน่ าภาค
ภ้มิใจเท่าใดนั ก) ก็เพิ่มขึ้นเป็ น 17 ฉบับ เร็วกว่าที่ท์กท่านคาดไวู และก็น่าจะมี
ฉบับที่ 18 คือรัฐธรรมน้ญถาวรตามมาใน พ.ศ. 2550 ดังนั ้นผู้เขียนจึง
พยายามวิเคราะหุ “สาเหตุ” ที่ “มีส่วน” ทำาใหูเกิดปรากฏการณ์ดังกล่าวขูางตูน
และก็พบว่าสิ่งหนึ่ งซึ่งฝั งรากลึกอย่้ในสายเลือดของพี่นูองชาวไทยส่วนใหญ่มา
นานแสนนานแลูว คือสิ่งที่นักรัฐศาสตรุเรียกว่า “วัฒนธรรมทางการเมือง”
(Political Culture) ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าควรที่นักกฎหมายมหาชนจะไดูศก ึ ษา
1
นิ ติศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ ง จ์ฬาลงกรณุมหาวิทยาลัย, ศิลปศาสตรบัณฑิต
(รัฐศาสตรุ) เกียรตินิยมอันดับสอง มหาวิทยาลัยรามคำาแหง ศึกษาต่อระดับปริญญาโท
คณะนิ ติศาสตรุ จ์ฬาลงกรณุมหาวิทยาลัย (สาขากฎหมายมหาชน)
2

ทำาความเขูาใจดูวย เพราะจากวงจรการเมืองของไทยตลอด 74 ปี ท่ีผ่านมา สอน


ใหูเห็นว่า “นั กกฎหมายจะพิจารณาเพียงตัวบทกฎหมายอย่างเดียวไม่ไดู”

1. ความหมายของ “วัฒนธรรมทางการเมือง”
ในบรรดานั กวิชาการทางรัฐศาสตรุท่ีศึกษาเรื่องวัฒนธรรมทางการเมือง มี
Gabriel Almond ที่มีผลงานที่ถ้กใชูอูางอิงมากที่ส์ด
Almond ใหูนิยามของ วัฒนธรรมทางการเมืองว่า “Political Culture is
the pattern of individual attitudes and orientations towards politics
among members of a political system”
2

วัฒนธรรมทางการเมืองจึงหมายถึง รูปแบบของทัศนคติส่วนบุคคลและ
ความโน้ มเอียงของบุคคลที่มีต่อการเมือง ในฐานะที่บุคคลนั ้นเป็ นสมาชิกของ
ระบบการเมือง
ความโนู มเอียงในที่นี้ Almond อธิบายว่ามี 3 ดูานดูวยกัน ไดูแก่
3

1. ความโน้ มเอียงด้านความรู้หรือการรับรู้ (Cognitive orientations)


คือ ความรู้ความเขูาใจและความเชื่อของประชาชนที่มีต่อระบบการเมือง
2. ความโน้ มเอียงด้านความรู้สึก (Affective orientations) คือ ความ
รู้สึกทางอารมณุท่ีประชาชนมีต่อระบบการเมือง เช่น ชอบ – ไม่ชอบ พอใจ – ไม่
พอใจ
3. ความโน้ มเอียงด้านการประเมินค่า (Evaluative orientations) คือ
การใชูด์ลพินิจตัดสินใจใหูความเห็นต่าง ๆ เกี่ยวกับกิจกรรมและปรากฏการณุ

2
G.A. Almond & Bingham Powell, Comparative Politics : A Developmental
Approach (Boston : Little, Brown and company,1966), p. 50
3
G.A. Almond & S. Verba, The Civic Culture : Political Attitudes and
Democracy in Five Nations (Boston : Little, Brown and company, 1965), p.
15, สมบัติ ธำารงธัญวงศุ, การเมือง : แนวความคิดและการพัฒนา (กร์งเทพฯ : เสมา
ธรรม, 2545), หนู า 304 และ ม.ร.ว. พฤทธิสาณ ช์มพล, ระบบการเมือง : ความรู้เบื้อง
ต้น (กร์งเทพฯ : สำานั กพิมพุแห่งจ์ฬาลงกรณุมหาวิทยาลัย, 2546), หนู า 99
3
ทางการเมือง เช่น ตัดสินว่า ดี – ไม่ดี เป็ นประโยชนุ – ไม่เป็ นประโยชนุ ซึ่งการ
ตัดสินนี้จะใชูขูอม้ล ขูอเท็จจริง อารมณุความรู้สกึ เขูามาประกอบดูวย

ส่วนนั กรัฐศาสตรุอีกท่านหนึ่ งคือ Lucien W. Pye กล่าวถึงวัฒนธรรม


ทางการเมืองใน 4 ความหมาย ไดูแก่
4

1. วัฒนธรรมทางการเมืองเกี่ยวข้องกับความไว้วางใจหรือความไม่ไว้
วางใจของบุคคลต่อบุคคลอื่นหรือต่อสถาบันทางการเมือง เช่น การมีความ
ศรัทธาหรือความเชื่อมัน ่ ต่อสถาบันหรือผูน้ ำ าทางการเมือง
2. วัฒนธรรมทางการเมืองเกี่ยวข้องกับทัศนคติต่ออำานาจทางการเมือง
ซึ่งจะสะทูอนถึงการยอมรับและความสัมพันธุระหว่างผู้ปกครองและผู้ถ้ก
ปกครอง หรือผู้นำากับประชาชนทัว่ ไปซึ่งทัศนคตินี้ส่งผลโดยตรงต่อการที่
ประชาชนใหูความร่วมมือหรือต่อตูานอำานาจทางการเมืองของผู้ปกครอง
3. วัฒนธรรมทางการเมืองเกี่ยวข้องกับเสรีภาพและการควบคุมบังคับ
ทางการเมือง กล่าวคือ วัฒนธรรมทางการเมืองในสังคมนั ้น ใหูการยอมรับหรือ
เคารพต่อเสรีภาพของประชาชนมากนู อยเพียงใด หรือม่์งเนู นการใชูอำานาจ
บังคับเพื่อใหูเกิดความเป็ นระเบียบเรียบรูอยของสังคม
4. วัฒนธรรมทางการเมืองเกี่ยวข้องกับความจงรักภักดีและยึดมั่นใน
สังคมการเมืองของบุคคล กล่าวคือวัฒนธรรมทางการเมืองช่วยสรูาง
เอกลักษณุทางการเมืองใหูแก่บ์คคลในสังคมที่จะยึดมัน ่ ร่วมกันและพรูอมที่จะ
ต่อสู้ ปกปู องรักษาไวูซ่ึงเอกลักษณุนั้นใหูคงอย่้ต่อไป อาจจะโดยการยอมเสีย
สละประโยชนุส่วนตนเพื่อส่วนรวมหรือสละผลประโยชนุระยะสัน ้ เพื่อผล
ประโยชนุระยะยาว เป็ นตูน

จากที่กล่าวมานี้อาจพอช่วยใหูเห็นภาพความหมายของวัฒนธรรมทางการ
เมืองไดูพอสมควร จะเห็นว่าวัฒนธรรมทางการเมืองเป็ นเรื่องของความรู้สึก
นึ กคิดที่อยู่ในจิตใจของบุคคล และความรู้สึกนึ กคิดนี้เป็ นแนวทางหรือร้ปแบบ
หรือมาตรฐานของแต่ละบ์คคลที่จะใชูในการประเมินเหต์การณุหรือการรับรู้

4
Lucien W. Pye, Aspects of Political Development (Boston : Little, Brown
and company, 1966), กนก วงศุตระหง่าน, “วัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบ
ประชาธิปไตย,” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาวิวัฒนาการการเมืองไทย หน่ วยที่ 8 – 15
(นนทบ์รี : สำานั กพิมพุมหาวิทยาลัยส์โขทัยธรรมาธิราช, 2532) : 593
4
ทางการเมืองของบ์คคลนั ้น ผลของการประเมินการเมืองนี้จะแสดงออกมาใน
ร้ปแบบต่าง ๆ เช่น การแสดงความคิดเห็น การออกเสียงเลือกตัง้ การประทูวง
5
การยอมรับ หรือการปฏิบัติตาม เป็ นตูน

2. ประเภทหรือลักษณะของวัฒนธรรมทางการเมือง ตาม
แนวคิดของ Almond และ Verba 6

2.1 วัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบ (The parochial political


culture) เป็ นวัฒนธรรมทางการเมืองของบ์คคลที่ไม่มีความรู้ความเขูาใจเกี่ยว
กับระบบการเมืองเลย ไม่มก ี ารรับรู้ ไม่มค
ี วามเห็น และไม่ใส่ใจต่อระบบ
การเมือง ไม่คด ิ ว่าตนเองมีความจำาเป็ นตูองมีส่วนร่วมทางการเมือง เพราะไม่คิด
ว่าการเมืองระดับชาติจะกระทบเขาไดู และไม่หวังว่าระบบการเมืองระดับชาติจะ
ตอบสนองความตูองการของตนไดู
สังคมที่อาจพบวัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบ ก็คือบรรดาสังคม
เผ่าทัง้ หลายในทวีปแอฟริกาหรือชาวไทยภ้เขาเผ่าต่าง ๆ ซึ่งในแต่ละเผ่าขาด
ความเชื่อมโยงกับการเมืองระดับชาติ ขาดโอกาสในการรับรู้และเขูาใจบทบาท
ของตนต่อระบบการเมือง แต่มีการรับรู้ท่ี “แคบ” อย่้เฉพาะแต่กิจการในเผ่าของ
ตน หรือในประเทศดูอยพัฒนาที่ประชาชนส่วนใหญ่ยากจนและไรูการศึกษาจึง
ถ้กปล้กฝั งดูวยความเชื่อดัง้ เดิมมาแต่โบราณว่าเรื่องการปกครองเป็ นเรื่องของผู้
ปกครอง ทำาใหูผู้ปกครองใชูอำานาจไดูโดยไม่ถ้กตรวจสอบจากประชาชน
2.2 วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า (The subject political
culture) เป็ นวัฒนธรรมทางการเมืองของบ์คคลที่มีความรู้ความเขูาใจต่อระบบ
การเมืองโดยทัว่ ๆ ไปแต่ไม่สนใจที่จะเขูามีส่วนร่วมทางการเมืองในตลอดท์ก
กระบวนการ และไม่มีความรู้สก ึ ว่าตนเองมีความหมายหรืออิทธิพลต่อระบบ
การเมือง บ์คคลเหล่านี้มักมีพฤติกรรมยอมรับอำานาจรัฐ เชื่อฟั ง และปฏิบัติตาม
กฎหมายของรัฐโดยด์ษณี

5
กนก วงศุตระหง่าน, “วัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย,” หนู า 593
6
G.A. Almond & S. Verba, The Civic Culture : Political Attitudes and
Democracy in Five Nations, pp. 17 – 20, สมบัติ ธำารงธัญวงศุ, การเมือง : แนว
ความคิดและการพัฒนา, หนู า 306 – 308, ม.ร.ว. พฤทธิสาณ ช์มพล, ระบบการเมือง :
ความรู้เบื้องต้น, หนู า 102 – 103
5
ลักษณะของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟูาจะพบไดูในกล่์มคนชัน ้
กลางในประเทศกำาลังพัฒนา เป็ นกล่์มคนที่มีความรู้เขูาใจเกี่ยวกับระบบ
การเมืองโดยทัว่ ไป แต่ยังคงมีความเชื่อที่ฝังรากลึกมาแต่เดิมอันเป็ นอิทธิพล
ของสังคมเกษตรกรรมว่าอำานาจรัฐเป็ นของผู้ปกครอง ประชาชนทัว่ ไปควร
มีหนู าที่เชื่อฟั งและปฏิบัติตามกฎหมายเท่านั ้น
2.3 วัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วม (The participant
political culture) เป็ นวัฒนธรรมทางการเมืองของบ์คคลที่มีความรู้ความเขูาใจ
เกี่ยวกับระบบการเมืองเป็ นอย่างดี เห็นค์ณค่าและความสำาคัญในการเขูามีส่วน
ร่วมทางการเมือง ทัง้ นี้เพื่อควบค์ม กำากับ และตรวจสอบใหูผู้ปกครองใชูอำานาจ
ปกครองเพื่อตอบสนองความตูองการของประชาชน
ลักษณะวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วมจะพบเห็นไดูในชนชัน ้
กลางส่วนใหญ่ของประเทศอ์ตสาหกรรมหรือประเทศที่พัฒนาแลูว
(Developed Country)

อย่างไรก็ตาม Almond และ Verba อธิบายต่อไปว่า เป็ นการยากที่จะชีใ้ หู


เห็นว่าในสังคมต่าง ๆ ประชาชนทัง้ ประเทศมีวัฒนธรรมทางการเมืองเป็ นแบบ
ใดแบบหนึ่ งโดยเฉพาะ ทัง้ นี้เพราะประชาชนในสังคมต่าง ๆ ยังคงมีความแตก
ต่างดูานฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งจะมีผลต่อความรู้ความเขูาใจทางการ
เมืองของบ์คคลเหล่านั ้นดูวย Almond และ Verba จึงสร์ปว่า ในสังคมต่าง ๆ
ประชาชนจะมีลักษณะวัฒนธรรมทางการเมืองแบบผสม (Mixed political
culture) ไดูแก่
7

1) วัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบผสมไพร่ฟ้า (The parochial


– subject culture) เป็ นแบบที่ประชาชนส่วนใหญ่ยังคงยอมรับอำานาจของ
ผู้นำาเผ่า หัวหนู าหม่้บูานหรือเจูาของที่ดิน แต่ประชาชนกำาลังมีความผ้กพันกับ
วัฒนธรรมการเมืองแบบคับแคบของทูองถิ่นนู อยลง และเริ่มมีความจงรักภักดี
ต่อระบบและสถาบันการเมืองส่วนกลางมากขึ้น แต่ความสำานึ กว่าตนเองเป็ น
พลังทางการเมืองอย่างหนึ่ งยังคงมีนูอย จึงยังไม่สนใจเรียกรูองสิทธิทางการ
7
G.A. Almond & S. Verba, The Civic Culture : Political Attitudes and
Democracy in Five Nations, pp. 13 – 29, สมบัติ ธำารงธัญวงศุ, การเมือง : แนว
ความคิดและการพัฒนา, หนู า 309 – 310 และ ม.ร.ว. พฤทธิสาณ ช์มพล, ระบบ
การเมือง : ความรู้เบื้องต้น, หนู า 104 – 105
6
เมือง ยังมีความเป็ นอย่้แบบดัง้ เดิมแต่ไม่ยอมรับอำานาจเด็ดขาดของหัวหนู าเผ่า
อย่างเคร่งครัด แต่หันมายอมรับกฎ ระเบียบของส่วนกลาง วัฒนธรรมทางการ
เมืองแบบนี้คือ แบบที่ปรากฏมากในช่วงแรก ๆ ของการรวมทูองถิ่นต่าง ๆ เป็ น
อาณาจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยโบราณ
2) วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้าผสมมีส่วนร่วม (The subject
– participant culture) ในวัฒนธรรมการเมืองแบบนี้ ประชาชนพลเมืองจะ
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ พวกที่มีความเขูาใจถึงบทบาททางดูานการนำ าเขูา
(inputs) มาก คิดว่าตนมีบทบาทและมีอิทธิพลที่จะทำาใหูเกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางการเมืองไดูมีความรู้สก ึ ไวต่อวัตถ์ทางการเมืองท์กชนิ ด และมีความ
กระตือรือรูนที่จะเขูาร่วมทางการเมือง กับพวกที่ยังคงยอมรับในอำานาจของ
อภิสิทธิช์ นทางการเมือง และมีความเฉื่ อยชาทางการเมือง วัฒนธรรมทางการ
เมืองแบบนี้ปรากฏในย์โรปตะวันตก เช่น ฝรัง่ เศส เยอรมนี และอิตาลี ใน
ศตวรรษที่ 19 และตูนศตวรรษที่ 20 และประเทศกำาลังพัฒนาหลายประเทศ
ในปั จจ์บันลักษณะสำาคัญที่เป็ นผลของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบนี้คือ การ
สลับสับเปลี่ยนระหว่างรัฐบาลอำานาจนิ ยมกับรัฐบาลประชาธิปไตย ทัง้ นี้เพราะ
คนในสังคมเพียงส่วนหนึ่ งเท่านั ้นที่มีวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วม แมูเขาจะ
ตูองการการปกครองระบอบประชาธิปไตยแต่ในเมื่อคนส่วนใหญ่ยังคงมี
วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟูา ยังคงนิ ยมการปกครองแบบอำานาจนิ ยมอย่้
บรรดาผู้มีวฒั นธรรมแบบมีส่วนร่วมจึงขาดความมัน ่ ใจในความสำาเร็จของการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตย วัฒนธรรมแบบนี้มีผลทำาใหูเกิดความไม่มัน ่ คงใน
โครงสรูางทางการเมือง
3) วัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบผสมมีส่วนร่วม (The
parochial – participant culture) เป็ นร้ปแบบที่เกิดอย่้ในประเทศเกิดใหม่
และเป็ นปั ญหาในการพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมือง กล่าวคือ ประชาชนใน
ประเทศเหล่านี้ส่วนมากจะมีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบ แต่จะถ้กปล์ก
เรูาในเรื่องผลประโยชนุทางเชื้อชาติ ศาสนา ทำาใหูเกิดความสนใจที่จะเขูามีส่วน
ร่วมทางการเมือง เพื่อคู์มครองประโยชนุเฉพาะกล่์มของตน การพยายามเขูามี
ส่วนร่วมทางการเมืองเพื่อรักษาผลประโยชนุของกล่์มตนอาจนำ าไปส่้ความขัด
แยูงทางการเมือง โดยกล่์มชนหนึ่ งอาจมีแนวคิดเอนเอียงไปทางอำานาจนิ ยม ใน
ขณะที่อีกกล่์มหนึ่ งอาจเอนเอียงไปทางประชาธิปไตย ลักษณะความขัดแยูงนี้
ทำาใหูโครงสรูางทางการเมืองไม่อิงอย่้กับร้ปแบบใดร้ปแบบหนึ่ ง
7

3. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย
วัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย คือ ทัศนคติและความเชื่อแบบ
ประชาธิปไตย ซึ่งมีผลต่อ “ความมัน ่ คง” ของระบอบประชาธิปไตยในแต่ละ
ประเทศ นั กทฤษฎีการเมืองเลื่องชื่อชาวอังกฤษผู้หนึ่ งคือ John Stuart Mill
ไดูเขียนไวูวา่ ก่อนที่ประชาธิปไตยจะมีขึน
้ ได้ พลเมืองในประเทศจะต้องมีความ
ปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะปกครองตนเองเสียก่อน ความปรารถนาสะทูอน
ทัศนคติท่ีว่า ประชาธิปไตยเป็ นของดีและสมควรจะทำาใหูเกิดมีขึ้น ความหมายก็
คือ การเป็ นประชาธิปไตยขึ้นอย่้กับ ศรัทธาของคนในชาติท่ีประสงคุจะมีการ
8
ปกครองและมีชีวิตแบบประชาธิปไตย
นั กรัฐศาสตรุคนอื่น ๆ เช่น ลาสเวลลุ (Lasswell) และแคปลัน (Kaplan)
กล่าวว่าประชาธิปไตยจะงอกงามต่อเมื่อราษฎรมีลักษณะที่ภาษาเทคนิ คเรียกว่า
การเข้าสู่สภาพการเมือง (Politicized)
การเขูาส่้สภาพการเมืองดังกล่าว หมายถึง ลักษณะดังต่อไปนี้
1. การเอาใจใส่วิถีหรือเหต์การณุทางการเมือง
2. การมีทัศนคติท่ีว่า อย่างนู อยที่ส์ด ราษฎรจะตูองเกี่ยวขูองกับการเมือง
ไม่โดยตรงก็โดยอูอมบูาง เพราะถึงอย่างไรก็ตามการเมืองจะมาเกี่ยวขูองกับเขา
จนไดู
3. การมีความเชื่อว่าการเมืองเป็ นเรื่องสำาคัญที่สมควรจะอ์ทิศเวลาใหูตาม
9
สมควร

ลักษณะสำาคัญของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ประกอบ
ดูวย
3.1 แนวคิดปั จเจกชนนิ ยม (Individualism)

8
จิรโชค วีระสัย, สังคมวิทยาการเมือง (กร์งเทพฯ : สำานั กพิมพุมหาวิทยาลัยรามคำาแหง,
2543), หนู า 107 และด้รายละเอียดเกี่ยวกับหลักการของระบอบประชาธิปไตย ใน จิรโชค
วีระสัย และคนอื่น ๆ, รัฐศาสตร์ทั่วไป (กร์งเทพฯ : สำานั กพิมพุมหาวิทยาลัยรามคำาแหง,
2542), หนู า 255 – 309
9
จิรโชค วีระสัย, สังคมวิทยาการเมือง, หนู า 107
8
ปั จเจกชนนิ ยม หมายถึง ความรู้สึกว่าคนแต่ละคนมีค์ณค่าในตัวเอง
สามารถแยกอธิบายไดูเป็ น 2 แนว
1) ปั จเจกชนนิ ยม หรือบางท่านเรียกว่า เอกชนนิ ยม เพื่อใหูมีความหมาย
ในทางตรงกันขูามกับ แนวคิดรัฐนิ ยม (statism) ซึ่งหมายถึง การบ้ชารัฐ ถือว่า
รัฐ (ผู้มีอำานาจ) ทำาสิ่งใดก็ไม่ผิดหรือแมูจะเป็ นสิ่งที่ผิด ประชาชนผู้อย่้ใตูการ
ปกครองก็ตูองปฏิบัติตาม หรือ แนวคิดส่วนรวมนิ ยม (collectivism) ซึ่งหมาย
10
ถึง การใหูความสำาคัญแก่องคุกรหรือหน่ วยงานที่ใหญ่กว่าตนเอง
แนวคิดรัฐนิ ยมปรากฏชัดเจนที่สด์ ในประเทศไทยสมัยจอมพล แปลก
พิบ้ลสงคราม เป็ นนายกรัฐมนตรีช่วงก่อนสงครามโลกครัง้ ที่ 2 สิน
้ ส์ด จอมพล
ป. มี “นโยบายรัฐนิ ยม” กำาหนดใหูคนไทยสวมหมวก สวมรองเทูา เลิกกิน
หมาก เลิกน่ ์งโจงกระเบน ซึ่งการกำาหนดขูอบัญญัติเหล่านี้ย่อมขัดต่อหลักการ
ปั จเจกชนนิ ยม เพราะไม่คำานึ งถึงความรู้สึกหรือความตูองการของคนแต่ละคน
2) ลัทธิปัจเจกชนนิ ยมอีกทัศนะหนึ่ ง มีลกั ษณะ 2 ประการ คือ
ประการแรก รัฐบาลไม่ควรเขูาควบค์มกระบวนการทางเศรษฐกิจและ
ทางสังคม ลัทธิปัจเจกชนนิ ยมทางเศรษฐกิจ คือ รัฐบาลไม่ควรเขูาควบค์มการ
ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประชาชน ลัทธิปัจเจกชนนิ ยมทางสังคม คือ
รัฐบาลไม่ควรมีบทบาทในการกำาหนดชัน ้ วรรณะหรือฐานั นดรของประชาชน
การแบ่งช่วงชัน้ ของบ์คคลในสังคมควรเป็ นสิ่งที่เกิดจากความรู้สก
ึ นึ กคิดของ
ประชาชนเอง
ประการที่สอง เอกชนหรือปั จเจกชนจะตูองมีสิทธิในการตัดสินใจของ
11
ตนเองโดยเสรี แนวคิดปั จเจกชนนิ ยม เนู นหลักเสรีภาพในการเลือก
(Freedom of Choice) กล่าวคือ แนวคิดปั จเจกชนนิ ยมเชื่อว่า ปั จเจกบ์คคล
ควรจะมีเสรีภาพของตนในการเลือกท์กอย่างของตนเอง ซึ่งมาจากแนวคิดที่วา่
ปั จเจกบ์คคลมีเหต์ผลและรู้จักความตูองการของตนเองไดูดีกว่าคนอื่น ดังนั ้น
ไม่วา่ แต่ละปั จเจกบ์คคลจะมีความแตกต่างกันเรื่องรายไดู ฐานะทางสังคม การ
ศึกษา เพศ ศาสนา ถิ่นกำาเนิ ดและที่อย่้อาศัย ย่อมไม่ส่งผลถึงการจำากัดเสรีภาพ
12
ในการเลือกของปั จเจกบ์คคลเหล่านั ้น

10
เรื่องเดียวกัน, หนู า 108
11
เรื่องเดียวกัน, หนู าเดียวกัน
9

3.2 ความเชื่อในระบบสังคมเปิ ด (Open society)


13

1) บ์คคลจะตูองมีใจกวูาง ยอมรับในความคิดเห็นที่แตกต่าง ไม่ยึดมัน ่ ใน


ความคิดเห็นของตนเป็ นใหญ่
2) บ์คคลจะตูองมีความไวูวางใจและยอมรับความสามารถของบ์คคลอื่น
เปิ ดโอกาสใหูประชาชนมีความเสมอภาคเท่าเทียมกันในการพัฒนาตนเอง
3) มีการยอมใหูตัง้ องคุการ สมาคม กล่์มต่าง ๆ โดยสมัครใจเพื่อเป็ น
หนทางแสดงความคิดเห็นและปฏิบัติการอย่างเป็ นกล่์มกูอน โดยไม่ก่อใหูเกิด
ภยันตรายต่อชาติ
3.3 การมีส่วนร่วม (Participation)
14

การมีส่วนร่วม หมายถึง การกระทำาของปั จเจกบ์คคลหรือกล่์มบ์คคล


โดยม่์งหวังใหูการกระทำานั ้นส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ใชูอำานาจ
ทางการเมือง หรือต่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในทิศทางที่ตนตูองการ
ปั จเจกบ์คคลหรือกล่์มบ์คคลจะสามารถมีส่วนร่วมทางการเมืองไดูอย่างมี
ประสิทธิภาพตูองอาศัยปั จจัย สำาคัญ 2 ประการ คือ
1) การรูจ้ ักความตูองการของตนเอง ซึ่งเกี่ยวขูองกับการเรียนรู้และการ
สะสมประสบการณุทางการเมือง
2) การมีอำานาจที่จะเขูาไปผลักดันใหูผลลัพธุทางการเมืองตรงตามความ
ตูองการของตน
จะเห็นไดูว่าการมีส่วนร่วมจะตูองอาศัยทรัพยากรไดูแก่ความรู้ ความ
เขูาใจและกำาลังกาย ดังนั ้น การใหูความรูห
้ รือการศึกษาแก่ประชาชนในเรื่อง
การเมืองจึงมีความสำาคัญต่อการสรูางและพัฒนาวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน สังคมการเมืองนั ้นจะตูองใหูขูอม้ลข่าวสาร (Information) ทางการ
เมืองไปถึงมือประชาชนอย่างทัว่ ถึงและเสรี อาจกล่าวไดูว่าระดับของการมี

12
กนก วงศุตระหง่าน, “วัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย,” หนู า 597 –
602
13
จิรโชค วีระสัย, สังคมวิทยาการเมือง, หน้า 109 – 110 และ สมบัติ ธำารงธัญวงศ์,
การเมือง : แนวความคิดและการพัฒนา, หน้า 316 – 318
14
กนก วงศุตระหง่าน, “วัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย,” หนู า 604
10
วัฒนธรรมการมีส่วนร่วมแปรผันตามระดับการรับรู้ขูอม้ลข่าวสารทางการเมือง
ของประชาชน

4. วัฒนธรรมทางการเมืองของไทยกับปั ญหาการพัฒนา
ประชาธิปไตย
หลังจากที่ผู้เขียนไดูอธิบายทฤษฎีเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองในทาง
รัฐศาสตรุเพื่อเป็ นพื้นความรู้ในการทำาความเขูาใจประเด็นปั ญหาที่ผู้เขียนนำ า
เสนอแลูว ณ จ์ดนี้ ผู้เขียนจะนำ าเสนอวัฒนธรรมทางการเมืองของไทยที่มี
“อิทธิพล” ทำาใหูประชาธิปไตยของไทยอย่้ในสภาพ “ลูมล์กคล์กคลาน” มา
ตลอด 74 ปี อันจะนำ าไปส่ก ้ ารไขขูอสงสัยถึงชื่อของบทความชิน
้ นี้ว่า เหตุใดผู้
เขียนจึง “อุปมา” วัฒนธรรมทางการเมือง “แบบไทย ๆ” ของเรา ดั่ง
“รัฐธรรมนูญที่แท้จริงซึ่งไม่เคยถูกยกเลิก”
แมูเราจะรับรูว้ ่าประเทศไทยไดูเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ
สมบ้รณาญาสิทธิราชยุท่ีพระมหากษั ตริยุมีพระราชอำานาจส้งส์ดในแผ่นดินมา
เป็ นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษั ตริย์ทรงเป็ นประมุข
(Constitutional Monarchy) ตัง้ แต่วันที่ 24 มิถ์นายน 2475 แลูวก็ตาม แต่
นั บถึงวันนี้ (พ.ศ. 2549) เป็ นเวลากว่า 74 ปี ขูอเท็จจริงที่ปรากฏในการเมือง
การปกครองของไทยคือ ประเทศไทยเป็ น “ประชาธิปไตย” อย่างแทูจริงตลอด
ระยะเวลาทัง้ 74 ปี หรือไม่ เหต์ใดการเมืองไทยจึงเต็มไปดูวยการรัฐประหารและ
ยกเลิกรัฐธรรมน้ญซำา้ แลูวซำา้ เล่า เหต์ใดบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมน้ญ
พ์ทธศักราช 2540 ที่ไดูวางโครงสรูางไวูเป็ นอย่างดี มีการกำาหนดองคุกรและ
ระบบตรวจสอบการใชูอำานาจรัฐกลับไม่สามารถใชูการไดูสมดังเจตนารมณุ จน
ตูองเกิดการรัฐประหารขึ้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 เพื่อ “เปิ ดทางตัน” ไป
ส่้การปฏิร้ปการเมืองอีกครัง้
ผู้เขียนเห็นว่าสาเหต์ท่ีประชาธิปไตยในประเทศไทยขาดความต่อเนื่ องและ
มัน่ คง ไดูแก่
4.1 วัฒนธรรมทางการเมืองแบบอำานาจนิ ยมและระบบอุปถัมภ์ :
เอกลักษณ์ของสังคมไทย
วัฒนธรรมทางการเมืองแบบอำานาจนิ ยม (Authoritative political
culture) คือ ลักษณะแนวโนู มที่สมาชิกในสังคมเห็นว่า “อำานาจคือธรรม” หรือ
“อำานาจคือความถ้กตูอง” ความเห็นของผู้มีอำานาจย่อมถ้กตูองเสมอและจำาเป็ น
11
ที่ผู้ถ้กปกครองจะตูองปฏิบัติตาม เคารพ เชื่อฟั ง ยกย่องและเกรงกลัวผู้มีอำานาจ
เพราะการมีอำานาจเป็ นผลมาจาก “บารมี” ที่ไดูสัง่ สมมาแต่กาลอดีตชาติ
ระบบอุปถัมภ์ (Patronage system) จะประกอบดูวยผู้อป ์ ถัมภุและผู้รับ
การอ์ปถัมภุซ่ึงเป็ นความสัมพันธุของคน 2 ฝ่ ายที่ไม่เท่าเทียมกัน โดยฝ่ ายหนึ่ ง
ยอมรับอิทธิพลและความคู์มครองของฝ่ ายที่มีอำานาจเหนื อกว่า ระบบอ์ปถัมภุ
ของไทยมีท่ีมาจาก “ระบบไพร่” และ “ระบบศักดินา” กล่าวคือ มูลนายอัน
ไดูแก่ พระมหากษั ตริยุ เจูานาย (พระบรมวงศาน์วงศุ) และข์นนางซึ่งเป็ น
้ ปกครอง คือ มีศักดินาตัง้ แต่ 400 ไร่ขึ้นไปจะมีไพร่ในสังกัดที่ตูองคอย
ชนชัน
15
ควบค์มด้แล
ม้ลนายตูองคอยควบคุมดูแลไพร่ใหูอย่้ในภ้มล ิ ำาเนา การเดินทางไปต่าง
ถิ่น การรับจูางทำางานต่าง ๆ ตูองใหูม้ลนายอน์ญาตเสียก่อน ม้ลนายตูองคอย
ด้แลไม่ใหูไพร่หลบหนี ม้ลนายสามารถไต่สวนและลงโทษหากไพร่ทะเลาะวิวาท
กัน เมื่อไพร่กระทำาผิดตูองติดตามตัวไพร่ไปส่งศาลมิฉะนั ้นมีความผิด ขณะ
เดียวกันม้ลนายก็ตูองให้ความคุ้มครองไพร่ ไม่ใหูใครมากดขี่ข่มเหง เมื่อไพร่
ขัดสนเงินทองก็ตูองช่วยเหลือตามสมควร และม้ลนายยังเป็ นผูบ ้ ังคับบัญชา
ออกคำาสัง่ ต่อไพร่ทัง้ ในการเกณฑุแรงงานยามสงบและในการรบยามศึก
สงคราม นอกจากนี้ยังมีกฎหมายหูามม้ลนายใชูไพร่หลวงทำางานส่วนตัวของ
ม้ลนายดูวย
ในขณะที่ม้ลนายควบค์มด้แล ใหูความคู์มครองและบังคับบัญชาไพร่นั้น
ไพร่ก็มห ี นู าที่ตูองปฏิบัติต่อม้ลนายดูวยความจงรักภักดี ปฏิบัติตามคำาสัง่ มี
สัมมาคารวะ สงบเสงี่ยมเจียมตัวและหมัน ่ ใหูของกำานั ลหรือผลประโยชนุ
ตอบแทนแก่ม้ลนาย เพื่อหวังใหูม้ลนายเมตตา ซึ่งก็มีผลดีคือทำาใหูความ

15
ไพร่หลวง คือ ไพร่ท่ีขึ้นตรงต่อพระมหากษั ตริยุ แต่แบ่งสังกัดไปตามกรมกองต่าง ๆ ไม่
ไดูสังกัดส่วนตัวของเจูานายหรือข์นนาง ไพร่หลวงตูองเขูาเวรรับราชการครัง้ ละ 1 เดือนที่
เรียกว่า “การเข้าเดือน” ในสมัยกร์งศรีอย์ธยาตูองเขูาเวรเดือนเวูนเดือนจึงเรียกว่า “เขูา
เดือน ออกเดือน” รวมปี ละ 6 เดือน ส่วนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพ์ทธยอดฟู าจ์ฬา
โลกมหาราชโปรดฯ ใหูไพร่หลวงเขูาเวร เดือนเวูนสองเดือน รวมปี ละ 4 เดือน
ไพร่สม คือ ไพร่ท่ีพระมหากษั ตริยุพระราชทานใหูแก่เจูานายและข์นนาง ไม่ไดูสังกัด
กรม กองของทางราชการ ไพร่สมมีหนู าที่รบ ั ใชูม้ลนายของตน และมีพันธะตูองเขูาเวรรับ
ราชการดูวย แต่เขูาเพียงปี ละ 1 เดือนเท่านั ้น
ไพร่สวย คือ ไพร่หลวงและไพร่สมที่ไม่สามารถมาเขูาเวรรับราชการไดู เพราะภ้มิลำาเนา
อย่้ห่างไกล จึงส่ง “ส่วย” เป็ นเงินหรือสิ่งของมีค่าที่หาไดูในภ้มล
ิ ำาเนาของตนมาแทนการ
เกณฑุแรงงาน
12
สัมพันธุของคนในสังคมไทยมีลักษณะพึ่งพาอาศัยกัน มีนำ้าใจเอื้อเฟื้ อ โอบอ้อม
อารี อันเป็ นลักษณะนิ สัยพื้นฐานดัง้ เดิมของคนไทย แต่ก็มีผลเสียมากดังจะไดู
กล่าวต่อไป
ลักษณะความสัมพันธุเช่นนี้ไดูรับการเกื้อหน์นใหูดำารงอย่้ดูวยหลักธรรม
เรื่องความกตัญญูกตเวทีในพระพ์ทธศาสนา และความเชื่อเรื่องกรรมเก่าแต่
ชาติปางก่อน ชนชัน ้ ไพร่จึงยอมรับว่า “แข่งเรือแข่งพายนั ้นแข่งได้ แต่แข่งบุญ
แข่งวาสนานั ้นหาได้ไม่ ทุกสิ่งแล้วแต่เวรแต่กรรม ยากจะมีผู้ใดหลีกเลี่ยงได้”
ชาตินี้จึงควรหมัน ่ ทำาความดี เชื่อฟั งและรับใชูม้ลนายดูวยความภักดี
กระบวนการบ่มเพาะและปล้กฝั งความเชื่อดังกล่าวนี้เอง มีผลใหูบรรดาสามัญ
ชนทัง้ ไพร่และทาสต่างยอมรับอำานาจปกครองของม้ลนายโดยด์ษณี และถือว่า
พวกตนไม่มีหนู าที่เกี่ยวขูองกับการปกครองซึ่งเป็ นเรื่องของพระมหากษั ตริยุ
เจูานายและข์นนาง พวกตนคงมีหนู าที่เพียงรับคำาสัง่ ของม้ลนาย รับใชูทางการ
และม้ลนายดูวยความภักดีเท่านั ้น
อนึ่ ง ระบบอ์ปถัมภุนี้มิไดูเกิดขึ้นเฉพาะม้ลนายกับไพร่เท่านั ้น ในหม่้
ม้ลนายดูวยกันก็เกิดความสัมพันธุระบบอ์ปถัมภุระหว่างม้ลนายระดับล่างกับ
ม้ลนายระดับส้ง และเหล่าข์นนางกับพระมหากษั ตริยุดูวย
แมูระบบไพร่และระบบศักดินาจะถ้กยกเลิกไปในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจ์ลจอมเกลูาเจูาอย่ห ้ ัว แต่ก็มิไดูทำาลายความสัมพันธุในลักษณะอ์ปถัมภุใหู
หมดไปจากสังคมไทย ตรงกันขูามเมื่อบทบาทของ “พ่อคูา” เพิ่มมากขึ้นนั บแต่
การเปิ ดเสรีทางการคูากับชาติตะวันตกภายหลังการทำาสนธิสัญญาเบาวริ่ง ยิ่ง
เป็ นการดึงคนกล่์มพ่อคูาจากระบบท์นนิ ยมใหูเขูามาอย่้ในวัฒนธรรมแบบ
อำานาจนิ ยมและความสัมพันธุระบบอ์ปถัมภุดูวย กลายเป็ นวัฒนธรรมร้ปแบบ
ใหม่ท่ีศาสตราจารยุรังสรรคุ ธนะพรพันธุ์ เรียกว่า “วัฒนธรรมทุนนิ ยม
16
อภิสิทธิ”์
และแมูจะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถ์นายน 2475
ซึ่งเป็ นความพยายามที่จะนำ าระบอบประชาธิปไตยที่แพร่หลายอย่้ในโลกตะวัน
ตกมาใชูเพื่อแกูปัญหาของสยามในเวลานั ้น แต่วัฒนธรรมอำานาจนิ ยมและ
ระบบอ์ปถัมภุแข็งแกร่งเกินกว่าที่วัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยอัน
แปลกปลอมสำาหรับสังคมไทยจะเขูามาแทนที่ไดู ทำาใหูวฒ ั นธรรมประชาธิปไตย
ที่ถ้กนำ าเขูามานั ้นตกตะกอนกลายเป็ น “วัฒนธรรมประชาธิปไตยอุปถัมภ์” ซึ่ง
แสดงใหูเห็นผ่านระบบการเลือกตัง้ ที่เต็มไปดูวยการท์จริต เป็ นการเลือกตัง้ เพื่อ

16
โปรดด้ รังสรรคุ ธนะพรพันธุ์, “วิถีแห่งวัฒนธรรมในสังคมไทย,” ใน อนิ จลักษณะของ
การเมืองไทย เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ว่าด้วยการเมือง (กร์งเทพฯ : สำานั กพิมพุผู้จัดการ,
2536) : 14 – 15
13

สรูางความชอบธรรมใหูกับผู้ชนะ (Winner takes all) และเป็ นประชาธิปไตย


แต่ในร้ปแบบ
ผู้เขียนยังเห็นต่อไปว่า ท์กวันนี้ระบบอ์ปถัมภุกลับยิ่ง “สยายปี ก”
ครอบคล์มท์กภาคส่วนของประเทศ ในหน่ วยงานทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน
และกลายเป็ น “ความเคยชิน” เป็ นนิ สัย หรือเป็ นส่วนหนึ่ งของทัศนคติแบบ
ปกติของคนไทยไปแล้ว เช่น เมื่อขับรถผิดกฎจราจรถ้กตำารวจจราจรยึดใบ
อน์ญาตขับขี่ สิ่งแรกที่คนไทยคิดคือมีคนรู้จักที่เป็ นตำารวจแลูวพอจะช่วยเราไดู
หรือไม่ ในทางกลับกันผู้ท่ีไม่นิยมหรือต่อตูานระบบอ์ปถัมภุกลับประสบปั ญหา
ในการทำางานและถ้กมองว่า “แปลก” เช่น กรณี การแต่งตัง้ พี่นูอง พรรคพวก
เพื่อนฝ้งใหูไดูรับตำาแหน่ งต่าง ๆ ในหน่ วยงานที่ตนมีอำานาจ หากใครไม่ทำาเช่น
นี้ ก็จะสรูางความไม่พอใจใหูแก่บรรดาพี่นูอง พรรคพวกเพื่อนฝ้ง และหาว่า “ไม่
เอาพี่เอานู อง” หรือ “ไม่เอาเพื่อนเอาฝ้ง” และวัฒนธรรมระบบอ์ปถัมภุนี้เองที่
เป็ นเชื้อโรคร้ายที่แทรกอย่้ในท์ก ๆ เซลลุของมน์ษยุเผ่าพันธุ์ไทยที่อาศัยอย่้บน
ผืนแผ่นดินส์วรรณภ้มิแห่งนี้ แลยังผลใหูระบอบประชาธิปไตยที่ยึดหลักความ
โปร่งใส ตรวจสอบไดูมิอาจเกิดขึ้นจริงในบูานนี้เมืองนี้ ระบบอ์ปถัมภุนี้เองที่เป็ น
สาเหต์ใหูประชาธิปไตยของไทยลูมล์กคล์กคลานมา 75 ปี โดยไม่มีว่ีแววว่าจะดี
ขึ้น และก็ระบบอ์ปถัมภุอีกนี่ เองที่เป็ นตูนตอแห่ง “ปั ญหาการแทรกแซงองคุกร
อิสระ” ที่ถ้กหยิบยกมาเป็ นสาเหต์หนึ่ งของการทำารัฐประหาร ทัง้ ๆ ที่การ
รัฐประหารเองก็เป็ นผลผลิตหนึ่ งของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบอำานาจนิ ยม!
ดูวยเหต์นี้วัฒนธรรมอำานาจนิ ยมและระบบอ์ปถัมภุ จึงสามารถคล์กรวม
เป็ นเนื้ อเดียวกัน รวมอย่้ใน “จิตสำานึ ก” ของคนไทย จนกลายเป็ น “เอกลักษณ์
ของสังคมไทย” มาชูานานตราบกระทัง่ ถึงปั จจ์บัน

4.2 วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า : พฤติกรรมขาดการมีส่วน


ร่วมในทางการเมืองของสังคมไทย
หากท่านทัง้ หลายสังเกตประวัติศาสตรุการเมืองการปกครองของไทยแต่
อดีตจนถึงปั จจ์บันจะพบว่า “ตัวละครในทางการเมือง” ลูวนแลูวแต่เป็ นกลุ่มผู้
ใช้อำานาจปกครองประเทศทัง้ สิน ้ ยกตัวอย่างเช่น
- ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีเหต์การณุการแย่งชิงพระราชบัลลังกุอย่้บ่อย
ครัง้ โดยผูก
้ ่อการทัง้ หมดอย่้ในชนชัน
้ เจ้านาย พระบรมวงศานุวงศ์ชัน
้ สูง เช่น
กรณี ข์นหลวงพ่องัว่ ยกกำาลังมาแต่ส์พรรณบ์รีเพื่อบังคับเอาราชสมบัติจาก
สมเด็จพระราเมศวรผู้หลาน, กรณี ข์นพิเรนทรเทพโค่นลูมข์นวรวงศาธิราชและ
แม่อย่้หัวศรีส์ดาจันทรุเพื่อถวายราชสมบัติแด่พระเฑียรราชา หรือไม่ผกู้ ่อการก็
เป็ นขุนนางระดับสูงในราชสำานั ก เช่น เจูาพระยากลาโหมส์ริยวงศุสำาเร็จโทษ
14
สมเด็จพระเชษฐาธิราชและพระอาทิตยวงศุ พระราชโอรสในสมเด็จพระเจูา
ทรงธรรมแลูวปราบดาภิเษกเป็ นสมเด็จพระเจูาปราสาททอง หรือกรณี พระเพท
ราชา จางวางกรมชูาง ร่วมมือกับข์นหลวงสรศักดิช์ ิงราชสมบัติจากสมเด็จพระ
นารายณุมหาราชในเวลาที่กำาลังทรงประชวรหนั ก เป็ นตูน ไม่ปรากฏว่า
ประชาชนทัว่ ไปหรือชนชัน ้ ไพร่เขูามามีส่วนร่วมโดยตรงในกิจกรรมทางการ
เมืองเหล่านั ้น เพราะประชาชนเห็นว่าเป็ นเรื่อง “บุญญาธิการ” ของแต่ละคนที่
จะไดูครองแผ่นดิน มิใช่เรื่องของไพร่ฟูาขูาแผ่นดินอย่างพวกตน
- ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ช่วงต้นรัชกาล มี
การช่วงชิงอำานาจกันระหว่าง 3 ขัว้ อำานาจ คือ พระบาทสมเด็จพระจ์ลจอมเกลูา
เจูาอย่้หัว สมเด็จเจูาพระยาบรมมหาศรีส์ริยวงศุ (ช่วง บ์นนาค) ผูส้ ำาเร็จราชการ
แทนพระองคุ และกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ กรมพระราชวังบวรสถาน
มงคล หรือวังหนู า พระราชโอรสในสมเด็จพระปิ่ นเกลูาเจูาอย่ห ้ ัว จนนำ าไปส่้
วิกฤตการณ์วังหน้ า เมื่อ พ.ศ. 2417 ก็ปรากฏว่าประชาชนทัว่ ไปมิไดูเขูาไปมี
ส่วนร่วมในเหต์การณุเหล่านี้เลย
- แมูแต่การก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดย “คณะราษฎร” ใน
พ.ศ. 2475 ก็ปรากฏว่าเป็ นแนวคิดของขูาราชการระดับกลางถึงระดับล่าง
(ตัง้ แต่พันเอก พระยา ถึงรูอยตรี ข์น) ซึ่งไดูรับการศึกษาจากประเทศตะวันตก
และตูองการนำ าระบอบประชาธิปไตยซึ่งเป็ น “กระแส” อย่้ในประเทศตะวัน
ตกในเวลานั ้นมาใชูกบ ั สยามประเทศ ในขณะที่ประชาชนชาวสยามส่วนใหญ่ยัง
ด้อยการศึกษา ไม่เคยได้ยินคำาว่า ปาเลียเมนต์, คอนสติติวชั่น หรือเดโมกราซี
มาก่อนในชีวิต ไม่เคยสนใจกิจการบ้านเมือง แต่ให้ความสำาคัญกับการทำามาหา
เลีย้ งปากเลีย
้ งท้องของตนเองและครอบครัวเท่านั ้น พวกเขาไม่คิดว่าระบบใหม่
ที่คณะราษฎรนำ ามาใชูจะดีกว่าระบบเก่าซึ่งใชูมาเป็ นรูอย ๆ ปี อย่างไร จึงอาจ
กล่าวไดูว่าการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 นั ้นเป็ นการเปลี่ยนแปลง
เพียง “โครงสร้างส่วนบน” ของสยามเท่านั ้น เพราะประชาชนคนชัน ้ กลางที่ไดู
เติบโต ถ้กเลีย ้ งด้และไดูรับการศึกษาอบรมในระบบเก่า ตลอดจนเกษตรกรตาม
หัวเมือง (ต่างจังหวัด) ซึ่งเป็ น “โครงสร้างส่วนล่าง” เป็ นฐานของพีระมิดและ
เป็ นชนส่วนใหญ่ของประเทศมิได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการเรียกร้อง
ประชาธิปไตยร่วมกับคณะราษฎรเลย
ณ จ์ดนี้ ทำาใหูผู้เขียนนึ กถึงคำากล่าวของ John Stuart Mill ที่ว่า “ก่อนที่
ประชาธิปไตยจะมีขึน ้ ได้ พลเมืองในประเทศจะต้องมีความปรารถนาอย่างแรง
กล้าที่จะปกครองตนเองเสียก่อน” แต่การนำ า “ระบอบใหม่” มาใชูในสยามขณะ
15
นั ้น มีลักษณะเป็ นการ “เรียนลัด” คือ “นำ าเข้า” หลักการประชาธิปไตยและสิ่ง
17
ที่เรียกว่า “คอนสติติวชั่น” มาใช้ในสังคมไทยทันที ในเวลาที่ชาวสยามส่วน
ใหญ่ยังคงเคยชินและยึดมัน ่ ในวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟูา แบบอำานาจ
นิ ยมและคงความสัมพันธุในระบบอ์ปถัมภุไวูอย่างเหนี ยวแน่ น ยังไม่ทำาตัวเป็ น
“พลเมือง” แต่ยังทำาตัวเป็ น “ราษฎร” ที่รอใหูผู้ปกครองหยิบยื่นความเจริญใหู
ยังไม่รู้วา่ ตนเองมีสิทธิและหนู าที่ในทางการเมืองอย่างไร จนถึงท์กวันนี้ก็ยังมีพ่ี
นู องชาวไทยเป็ นอันมากที่ไม่รู้ว่า “เลือกผู้แทนเขูาไปเพื่อทำาอะไร” ทัง้ หมดนี้
เป็ นลักษณะของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า (The subject political
culture) ตาม Model ของ Almond & Verba นั่ นเอง
ถูาท่านทัง้ หลายพิจารณาเปรียบเทียบกับประวัติศาสตรุของประเทศแม่
แบบประชาธิปไตยหลัก ๆในโลกตะวันตก อย่างสหราชอาณาจักร
สหรัฐอเมริกา หรือฝรั่งเศส ก็จะพบว่าการเรียกรูองประชาธิปไตยของประเทศ
เหล่านั ้นเป็ น “ความต้องการของคนส่วนใหญ่ในประเทศ” มิใช่มาจากเพียงคน
กล่์มใดกล่์มหนึ่ ง ดังที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตรุการเมืองไทยตัง้ แต่อดีตจนถึง
ปั จจ์บันซึ่งลูวนแลูวแต่เป็ นการ “แย่งชิงอำานาจ” ของ “โครงสร้างส่วนบน” ทัง้
สิน้ แมูจะมีเหต์การณุ “ล์กฮือ” (uprising) ของประชาชนเกิดขึ้น 2 ครัง้ คือ

17
ด้ ชิงชัย มงคลธรรม, “ภัยจากลัทธิรัฐธรรมน้ญ ต่อประเทศไทย,” มติชนรายวัน (2
พฤศจิกายน 2549) : 7 ซึ่งเห็นว่า“การโค่นล้มรัฐบาลสมเด็จพระปกเกล้าฯ ที่กำาลังสร้าง
ประชาธิปไตยตามพระบรมราโชบายสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยในขัน ้ ตอนที่
2 ต่อจากพระบรมราโชบายแก้ไขการปกครองแผ่นดินสยามของสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง
้ ตอนที่ 1 ลง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 แล้วสถาปนาการปกครองระบอบ
ขัน
รัฐธรรมนูญขึ้นโดยคณะราษฎรนั ้นเป็ นการทำาลายการสร้างประชาธิปไตยของพระมหา
กษั ตริย์ รัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 และ รัชกาลที่ 7 ลงอย่างน่ าเสียดายยิ่ง และเป็ นการเริม

ต้นของการปกครองลัทธิรฐ ั ธรรมนูญ ซึ่งเป็ นการปกครองแบบเผด็จการ ภัยของลัทธิ
รัฐธรรมนูญจึงเกิดขึ้นต่อประเทศไทยตัง้ แต่บัดนั ้นเป็ นต้นมา จนถึงบัดนี้ เป็ นเวลากว่า 74
ปี การสร้างประชาธิปไตยในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์โดยพระมหากษั ตริย์ ร.5 เมื่อ
พ.ศ.2435 จนถึง ร.7 พ.ศ.2475 เป็ นเวลา 40 ปี ประสบความสำาเร็จเพราะทรงใช้นโยบาย
เป็ นเครื่องมือสร้างประชาธิปไตย แต่การสร้างรัฐธรรมนูญในระบอบเผด็จการรัฐสภาโดย
คณะราษฎร เมื่อ พ.ศ.2475 จนถึง พ.ศ.2549 โดยคณะรัฐประหาร และคณะพลเรือนใน
รูปของพรรคการเมืองประสบความล้มเหลวในการแก้ไขปั ญหาชาติสร้างประชาธิปไตย
ตลอดมากกว่า 74 ปี เพราะสร้างรัฐธรรมนูญอย่างเดียว…” ซึ่งผู้เขียนมีความเห็นไปใน
ทิศทางเดียวกับค์ณชิงชัย
16

เดือนต์ลาคม 2516 และ พฤษภาคม 2535 แต่นั่นก็ไม่สามารถสรูางความเป็ น


ประชาธิปไตยที่ยัง่ ยืนไดู เพราะม่์งเพียงการขับไล่ตัว “ผู้มอ
ี ำานาจ” ในเวลานั ้น
ดังนั ้นเมื่อจ์ดเริ่มตูนทางประวัติศาสตรุและจิตวิญญาณของชนในชาติต่างกัน
เสียอย่างหนึ่ งแลูว ยังมีความแตกต่างในสภาพภ้มิศาสตรุ วิถีการดำาเนิ นชีวิต
ความเชื่อ ค่านิ ยมอีก ยิ่งเป็ นไปไดูมากที่หลักการและหลักกฎหมายที่ถ้ก “นำ า
เข้า” มาโดยไม่ปรับปรุงให้เหมาะกับ “ความเป็ นไทย” จะมีลักษณะเดียวกันกับ
ประชาธิปไตยตลอด 74 ปี ของไทย และมีชะตากรรมเดียวกับรัฐธรรมน้ญฉบับ
ประชาชน ที่มีหลักการที่ดีอย่้มากแต่กลับเกิดปั ญหาไม่สามารถตรวจสอบการใชู
อำานาจของรัฐบาลไดูอย่างมีประสิทธิผล (effectiveness) จนเป็ นสาเหต์หนึ่ งที่
นำ าการเมืองไทยกลับไปส่้ “วงจรเดิม” พรูอมกับการกลับมาของประโยคที่ว่า
“โปรดฟั งอีกครัง้ หนึ่ ง” และรัฐธรรมน้ญฉบับประชาชนก็ตูองถ้กยกเลิกไปอย่าง
น่ าเสียดาย ดูวยระยะเวลาใชูบังคับยังไม่ครบ 9 ปี
จึงกล่าวโดยสร์ปไดูว่า “สัมพันธภาพเชิงอำานาจ” ในช่วงก่อนปี
พ.ศ.2475 เป็ นเรื่องระหว่าง พระมหากษั ตริยุ – เจูานาย – ข์นนาง ส่วนในช่วง
หลังปี พ.ศ. 2475 เป็ นการแย่งชิงอำานาจของ พรรคการเมือง – กองทัพ – กล่์ม
ท์นทางการเมืองเท่านั ้น แต่ประชาชนซึ่งเป็ นกลไกสำาคัญที่ส์ดในการขับเคลื่อน
ระบอบประชาธิปไตยกลับมิไดูเขูามาร่วมเล่น “เกมการเมือง” เหล่านั ้นเลย
เพราะประชาชนคนไทยส่วนใหญ่ยังมีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟูาที่เพิก
เฉยต่อการมีส่วนร่วมในการปกครองอย่้มากนั่ นเอง
วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไทย ๆ เหล่านี้แทบจะกล่าวไดูว่า “ตรงกัน
ข้าม” กับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยที่กล่าวถึงขูางตูน จึงไม่
แปลกเลยที่ประชาธิปไตยในประเทศไทยลูมล์กคล์กคลานเรื่อยมาเพราะสังคม
ไทย
1. ไม่มีแนวคิดปั จเจกชนนิ ยม ไม่เคารพความเป็ นปั จเจกบ์คคล ไม่เคารพ
สิทธิของผู้อ่ ืนแต่พยายามเรียกรูองใหูผู้อ่ ืนเคารพสิทธิของตนเอง ในทางตรงกัน
ขูามก็ละเมิดสิทธิของผู้อ่ ืนบ่อยครัง้
2. ไม่เชื่อในระบบสังคมเปิ ด เพราะไม่ยอมใหูมีการแสดงความคิดเห็นที่
แตกต่างจากตนเอง กระตือรือรูนที่จะไปตรวจสอบผู้อ่ ืน แต่กลัว หลีกเลี่ยง
ตลอดจนปกปู องพรรคพวกจากการถ้กตรวจสอบ
3. ขาดการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างทั่วถึง ประชาชนส่วนหนึ่ งมี
ทัศนคติว่าการเมืองเป็ นเรื่องของผู้ปกครอง เป็ นเรื่องของนั กการเมือง เราเป็ น
ประชาชนมีหนู าที่ทำาตามที่ผู้ปกครองกำาหนด และมีหนู าที่ไปใชูสิทธิเลือกตัง้
เพียงอย่างเดียว
17
จากวัฒนธรรมทางการเมืองแบบอำานาจนิ ยม แบบไพร่ฟ้าและความ
สัมพันธ์ในระบบอุปถัมภ์ที่ฝังรากลึกอย่้ใน “จิตสำานึ ก” ของคนไทยและความ
เป็ นมาทางประวัติศาสตรุท่ีชาวสยามทัง้ ประเทศมิได้เป็ นผู้เรียกร้อง
ประชาธิปไตยด้วยตนเอง มีส่วนทำาใหูประเทศไทยประสบปั ญหาทางการเมือง
อย่้เสมอ ไม่ว่ารัฐบาลที่มาจากการเลือกตัง้ หรือรัฐบาลที่มาจากการรัฐประหารใน
อดีตก็มีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบเดียวกัน ปั ญหาการท์จริตคอรัปชัน ่ ก็มีท่ีมา
จากระบบอ์ปถัมภุ ปั ญหาการขาดเสถียรภาพของระบบรัฐธรรมน้ญ เพราะมีการ
รัฐประหารอย่้เนื อง ๆ ก็เกิดจากวัฒนธรรมทางการเมืองแบบอำานาจนิ ยม แม้ว่า
การรัฐประหารแต่ละครัง้ ได้ยกเลิกรัฐธรรมนูญ และสร้างรัฐธรรมนูญฉบับ
ใหม่ขึน้ มากี่ฉบับก็ตาม แต่ส่ิงหนึ่ งซึ่งยังไม่เคยเปลี่ยนแปลงไปจากสังคมไทยก็
คือ สังคมไทยยังขาดความเข้าใจในหลักการและขาด “ความเป็ น
ประชาธิปไตย” แต่ยังคงยึดมั่นในวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไทย ๆ ที่มี
แนวคิดแบบไพร่ฟูา อำานาจนิ ยมและความสัมพันธุแบบอ์ปถัมภุ ซึ่งถูาว่ากันอัน
ที่จริงแลูวเป็ นสิ่งที่เกิดก่อนรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า
600 ปี และมีอิทธิพลต่อระบบความคิด ความเชื่อ ค่านิ ยมในการปฏิบัติงาน
และการดำาเนิ นชีวิตของคนไทยเหนื อกว่าบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญทุกฉบับ
และวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไทย ๆ นี้ เองที่ทำาให้เจตนารมณ์ (ที่ด)ี ของ
รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน (และรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยทุกฉบับซึ่งนำ าเข้า
หลักการของตะวันตกมา) ไม่อาจบรรลุผลได้ จึงคงไม่เป็ นการกล่าวเกินความ
18
จริงนั กที่ผู้เขียนจะ “อุปมา” วัฒนธรรมทางการเมืองของไทยเหมือนดั่ง
“รัฐธรรมนูญที่แท้จริงซึ่งไม่เคยถูกยกเลิก”
อนึ่ ง ผู้เขียนมิได้มีเจตนาให้ท่านทัง้ หลายเข้าใจผิดว่า ผู้เขียน “ต่อตูาน”
การนำ าระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมน้ญลายลักษณุอักษรมาใชูใน
ประเทศไทย ตรงกันขูาม ผู้เขียนยังคงเชื่อมัน ่ และศรัทธาในการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษั ตริย์ทรงเป็ นประมุข หากแต่จ์ดเนู นของผู้เขียน
อย่้ท่ี
1. การสรูางประชาธิปไตยใหูหยัง่ รากลึกมัน ่ คงในประเทศใดนั ้น มิไดู
จำากัดวงแคบอย่้เพียงโดยการสรูางรัฐธรรมน้ญที่ดีเพียงอย่างเดียว หากแต่ตูอง
ขยายออกไปถึง “การสร้างวัฒนธรรมประชาธิปไตย” ใหูเกิดขึ้นในมโนสำานึ ก

18
การอ์ปมา (Simile) คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่ งว่าเหมือนหรือคลูายกับสิ่งหนึ่ ง เป็ นวิธี
การหนึ่ งของการใชูโวหารภาพพจน์ (Figure of Speech) ซึ่งเป็ นกวีโวหารที่วรรณคดีไทย
ในอดีตนิ ยมใชูกน ั อย่างแพร่หลาย สังเกตไดูจากการใชูคำาที่มค
ี วามหมายว่า “เหมือน” เช่น
ด์จ ดัง ดัง่ เพียง เฉก เช่น อย่าง ประหนึ่ ง ราวกับ
18
19
ของประชาชนอย่างทัว่ ถึงดูวย เพราะประสบการณุในอดีตไดูสอนใหูรู้แลูว
ว่าการเปลี่ยนแปลงแต่โครงสรูางการปกครอง โดยใชูรัฐธรรมน้ญเป็ นเครื่องมือ
เพียงอย่างเดียว มิไดูสร้าง “ความเป็ นประชาธิปไตย” ที่แท้จริง มั่นคงและ
ยั่งยืนให้เกิดขึ้นในประเทศของเรา
2. ผู้เขียนมิไดูต่อตูานการนำ าความเจริญแบบตะวันตกมาใชูใน
ประเทศไทย หากแต่การนำ าหลักการใด ๆ ที่นิยมแพร่หลายอย่้ในประเทศตะวัน
ตกมาใชูกบ ั บูานเรานั ้น ควรที่จะหา “จุดสมดุล” ระหว่าง “ความเป็ นตะวันตก”
และ “ความเป็ นตะวันออก” ใหูพบเสียก่อน แลูวจึงปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนให้
เป็ น “ส่วนผสมที่พอเหมาะ” สอดรับกับสังคมไทย เพราะ “จ์ดต่าง” ของแต่ละ
สังคมนี้เองที่ส่งผลใหูหลักการหลาย ๆ อย่างที่ใชูไดูผลดีในประเทศตะวันตกซึ่ง
ประชาชนมีวัฒนธรรมอย่างหนึ่ ง แต่เมื่อนำ ามาใชูในประเทศของเราซึ่งก็มี
วัฒนธรรมอีกอย่างหนึ่ งแลูว กลับไม่เกิดประสิทธิผลอย่างประเทศตูนแบบ
เพราะมีวัฒนธรรมที่ต่างกันนั่ นเอง
แน่ หละ ท่านทัง้ หลายอาจคิดว่าขูอเสนอของผู้เขียนมิไดูมีอะไรใหม่ และ
แลด้เป็ น “นามธรรม” อย่้มินูอย แต่ผู้เขียนเชื่อว่า ทุกสรรพสิ่งในโลกที่เป็ นรูป
ธรรมอยู่ได้ก็ด้วยพัฒนามาแต่ความเป็ นนามธรรม ดังนั ้นการพยายามสร้างสิ่ง
ใดให้เป็ นรูปธรรม โดย “เรียนลัด” ไม่พัฒนาจากความเป็ นนามธรรมก่อนแล้ว
สิ่งนั ้นก็ไม่อาจเป็ นรูปธรรมที่แท้จริงและยั่งยืนได้ การพัฒนาที่ยั่งยืนต้อง
ดำาเนิ นการอย่างค่อยเป็ นค่อยไป อาจจะใช้เวลาหลายชั่วอายุคน แต่ผลลัพธ์ท่ีได้
นั ้นจะเป็ นความเจริญที่ยั่งยืนมั่นคง และคุ้มค่าเกินกว่าการรอคอยเป็ นแน่
ขูอวิเคราะหุและความเห็นของผู้เขียนอาจยังไม่ลึกซึ้ง ครอบคล์มพอและ
อาจไม่สามารถอธิบายปรากฏการณุทางการเมืองของไทยไดูในท์กกรณี เพราะ
เป็ นงานชิน ้ แรกของผู้เขียนที่พยายามนำ า “วัฒนธรรมทางการเมือง” ซึ่งเป็ น
องคุความรู้ทางรัฐศาสตรุ มา “ช่วย” ในการอธิบายปั ญหาประชาธิปไตยของไทย
ซึ่งมีความคาบเกี่ยวระหว่างการเมืองและกฎหมายมหาชนอย่้มาก แต่ผู้เขียนก็
หวังว่าท่านทัง้ หลายจะไดูลอง “หยิบ” ศาสตรุขูางเคียงมาช่วยวิเคราะหุปัญหา
ทางกฎหมายมหาชนที่มีความคาบเกี่ยวกับศาสตรุอ่ ืนบูางในโอกาสต่อ ๆ ไป.
บรรณานุกรม

19
วัฒนธรรมเป็ นสิ่งที่มน์ษยุสามารถเรียนรู้ และถ่ายทอดไดู โปรดด้ อมรา พงศาพิชญุ,
“มน์ษยุกับวัฒนธรรม” ใน สังคมและวัฒนธรรม (กร์งเทพฯ : สำานั กพิมพุแห่งจ์ฬาลงกรณุ
มหาวิทยาลัย, 2544) : 23 – 34
19
คณาจารยุภาควิชาสังคมวิทยาและมาน์ษยวิทยา คณะรัฐศาสตรุ จ์ฬาลงกรณุ
มหาวิทยาลัย. สังคมและวัฒนธรรม.
พิมพุครัง้ ที่ 7. กร์งเทพฯ : สำานั กพิมพุแห่งจ์ฬาลงกรณุมหาวิทยาลัย,
2544
จิรโชค วีระสัย. รัฐศาสตร์ทั่วไป. พิมพุครัง้ ที่ 12. กร์งเทพฯ : สำานั กพิมพุ
มหาวิทยาลัยรามคำาแหง, 2542
___________. สังคมวิทยาการเมือง. พิมพุครัง้ ที่ 9. กร์งเทพฯ : สำานั กพิมพุ
มหาวิทยาลัยรามคำาแหง, 2543
ทินพันธุ์ นาคะตะ. รัฐศาสตร์ : ทฤษฎี แนวความคิด ปั ญหาสำาคัญและ
แนวทางการศึกษาวิเคราะห์การเมือง.
กร์งเทพฯ : โครงการเอกสารและตำารา สมาคมรัฏฐประศาสนศาสตรุ นิ ดาู ,
2546
พฤทธิสาณ ช์มพล, ม.ร.ว.. ระบบการเมือง : ความรู้เบื้องต้น. พิมพุครัง้ ที่ 6.
กร์งเทพฯ : สำานั กพิมพุแห่ง
จ์ฬาลงกรณุมหาวิทยาลัย, 2546
มหาวิทยาลัยส์โขทัยธรรมาธิราช. เอกสารการสอนชุดวิชาวิวัฒนาการการเมือง
ไทย หน่ วยที่ 8 – 15. นนทบ์รี :
สำานั กพิมพุมหาวิทยาลัยส์โขทัยธรรมาธิราช, 2532
รังสรรคุ ธนะพรพันธุ์. อนิ จลักษณะของการเมืองไทย เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
ว่าด้วยการเมือง. กร์งเทพฯ :
สำานั กพิมพุผู้จัดการ, 2536
สมบัติ ธำารงธัญวงศุ. การเมือง : แนวความคิดและการพัฒนา. พิมพุครัง้ ที่ 12.
กร์งเทพฯ : เสมาธรรม, 2545
20

G.A. Almond & Bingham Powell. Comparative Politics : A


Developmental Approach. Boston : Little,
Brown and company, 1966
G.A. Almond & S. Verba. The Civic Culture : Political Attitudes
and Democracy in Five Nations. Boston
: Little, Brown and company, 1965
Pye, Lucien W.. Aspects of Political Development. Boston : Little,
Brown and company, 1966

You might also like