You are on page 1of 6

แนวขอสอบเกาพาณิชย 3

ขอ1. ชาติกูเงินศักดิ์ 100000 บาท โดยเอกทําสัญญาค้ําประกัน ตอมาชาติไดขอใหเชิญเขาทําสัญญาค้ําประกันหนี้


รายนี้อีกฉบับหนึ่ง เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระ ชาติไมชําระ หนี้ใหศักดิ์ ศักดิ์จึงมาทวงถามจากเอก เอกเกรงจะเสียชื่อ
เสียงจึงชําระเงินใหทั้งหมด แลวไปเรียกรองเอาจากชาติ แตชาติไมมีเงินชําระให ดังนี้เอกมีสิทธิเรียกรองเงินดัง
กลาวจากเชิญไดหรือไม เพียงใด
แนวตอบ
มาตรา 682 วรรค สอง มาตรา 693
จากบทบัญญัติขางตน เมื่อเอกไดชําระหนี้ตามสัญญากูเงินใหแกศักดิ์เจาหนี้แลว เอกยอมเขารับชวงสิทธิ์ของ
ศักดิ์ บรรดามีเหนือชาติลูกหนี้ และมีสิทธิไลเบี้ยเอาจากชาติไดเต็มจํานวน แตเมื่อปรากฏวาชาติไมมีเงินชําระให
เอกก็มีสิทธิไลเบี้ยเอากับเชิญซึ่งเปนผูค้ําประกันอีกคนได แมจะมิไดทําสัญญาค้ําประกันรวมกันกับเชิญก็ตาม แต
ทั้งเอกและเชิญตางกมีความรับผิดอยางลูกหนี้รวมตอศักดิ์เจาหนี้ตามม.682 วรรค 2 เมื่อเอกชําระหนี้ใหศักดิ์แลว
เอกยอมรับชวงสิทธิจากศักดิ์มาไลเบี้ยเอาจากเชิญได แตมีสิทธิไลเบี้ยไดเพียงกึ่งหนึ่งของจํานวนเงินที่ไดชําระไป
เทานั้น
ขอ 2. นายสินกูเงินนายพันธุ 6 แสนบาท โดยนายชาตินําที่ดินแปลงหนึ่งราคา3 แสน บาท มาจํานองเปนประกัน
หนี้เมื่อหนี้ครบกําหนด นายสินไมชําระหนี้ นายพันธุจะบังคับจํานองที่ดิน นายชาติจึงชําระหนี้เงินกู 6 แสนบาท
ใหนายนายพันุ เพื่อมิใหมีการบังคับจํานอง แลวนายชาติเรียกใหนายสินชําระเงิน 6 แสนบาทคืนตน นายสิน
ปฏิเสธอางวา ที่ดินจํานองมีราคาเพียง 3 แสนบาท จะขอชําระเงินเพียง 3 แสน บาท เทาราคาที่ดิน นายชาติจึงนํา
เรื่องนี้มาปรึกษาทาน ทานจะใหคําแนะนําแกนายชาติอยางไร
แนวตอบ
มาตรา 724 วรรค หนึ่ง
จากขอเท็จจริงในปญหา นายชาติไดจํานองที่ดินของตนเปนประกันหนี้ที่นายสินกูเงินนายพันธุ 6 แสนบาท
จึงเปนเรื่องที่นายชาติจํานองทรัพยเปนประกันหนี้ที่ผูอื่นเปนลูกหนี้ เมื่อนายชาติเขาชําระหนี้แทนนายสินลูกหนี้ 6
แสนบาท เต็มจํานวนหนี้โดยมิไดมีการบังคับจํานองที่ดินของนายชาติ ดังนั้น นายชาติก็ยอมมีสิทธิเรียกรองนาย
สินใหชําระหนี้คืนแกตนได 6 แสนบาท เทาจํานวนที่ไดชําระหนี้แทนไป แมที่ดินจํานองจะมีราคาเพียง 3 แสน
บาทก็ตาม นายสินลูกหนี้จะขอชําระ เงิน 3 แสนบาทเทาราคาที่ดินไมได
ขาพเจาจะแนะนําใหนายชาติเรียกรองใหนายสินชําระเงิน 6 แสนบาท เทาที่ไดเขาชําระหนี้แทนนายสิน
ขอ 3. แสดออกตั๋วแลกเงิน สั่งใหครามจายเงินใหสมจํานวน 5 แสนบาทสมสลักหลังโอนใหฟา ฟาสลักหลังดอน
ใหเขียว มวงอาวัลฟา เขียวไดยื่นตั๋วใหครามรับรอง ตั๋วเงินถึงกําหนด เขียวเรียกใหใครชําระเงินตามตั๋วไดบาง
แนวตอบ
ปพพ.มาตรา937 940 967 900 914
ตามปญหาครามรับผิดตอเขียวในฐานะเปนผูจายที่ไดลงลายมือชื่อรับรองตั๋วแลกเงิน(มาตรา 967 900 )
แสดรับผิดตอเขียวในฐานะลงลายมือชื่อเปนผูสั่งจายตั๋วแลกเงิน (มาตรา 914 967 )
สมและฟารับผิดตอเขียวในฐานะผูสลักหลัง (มาตรา 914)
มวงรับผิดตอเขียวในฐานะผูอาวัลฟา (มาตรา 940) ผูรับอาวัลยอมตองผูกพันเปนอยางเดียวกับบุคคลซึ่งตน
ประกัน
ขอ 4 . นายนอย กูเงินนายใหญไป 2 หมื่นบาท โดยมีนายกลางเปนผูค้ําประกัน เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระนอยไมมี
เงินจึงสงจดหมายถึงใหญขอขยายกําหนดชําระหนี้ออกไปอีก 2 เดือน โดยรับรองวาจะชําระหนี้ใหแนนอนโดย
กลางไมไดรูเห็นเรื่องจดหมายดังกลาวดวย เมื่อครบกําหนด 2 เดือนแลว ใหญจึงทวงถามนอยใหชําระหนี้ แตนอย
ไมชําระหนี้ อีกเชนนี้ใหญจะมีสิทธิเรียกรองเอาจากกลางไดหรือไม
แนวตอบ
ปพพ.ม.700
การผอนเวลาในมาตราดังกลาว หมายถึงกรณีที่เจาหนี้และลูกหนี้ตกลงกันใหมีการขยายกําหนดเวลาชําระหนี้
ออกไปอีกระยะหนึ่งและขอตกลงดังกลาวตองมีผลผูกพันเจาหนี้วาถายังไมถึงกําหนดที่ขยายออกไปนั้นเจาหนี้ยัง
ไมมีสิทธิจะเรียกรองใหลูกหนี้ชําระหนี้ได
สําหรับกรณีที่นอยสงจดหมายขอขยายกําหนดชําระหนี้ออกไปอีก 2เดือนนั้นเปนการแสดงเจตนาฝายเดียวไม
มีผลผูกพันตามกําหนดเวลานั้นจึงไมใชกรณีที่เจาหนี้ยอมผอนเวลาใหตามม.700 ดังนั้นเมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระ
แลว แมใหญจะเรียกรองใหนอยชําระหนี้หลังจากครบกําหนดไปแลว 2 เดือนและนอยไมชําระหนี้ให ใหญก็มี
สิทธิเรียกรองเอาจากกลางในฐานะผูค้ําประกันได กลางยังไมหลุกพนจากความรับผิด.
ขอ 5 นายสมกูเงินนายสัก 4 แสนบาท โดยนายทรัพยนําที่ดินแปลงหนึ่งราคา 7แสนบาท มาจํานองเปนประกัน
เมื่อหนี้เงินกูครบกําหนด นายสมไมชําระหนี้ นายสักจึงบังคับจํานอง ขายทอดตลาดที่ดินของนายทรัพย ไดเงิน
สุทธิชําระหนี้ 3 แสนบาท นายทรัพยเรียกใหนายสมชําระราคาที่ดิน 7 แสนบาท แตนายสมปฏิเสธอางวานายสัก
ไดรับชําระหนี้จากการบังคับจํานองเพียง 3 แสนบาท นายทรัพยจึงมีสิทธิเรียกใหตนชําระหนี้ได 3 แสนบาทเทา
นั้น ทานเห็นดวยกับขออางของนายสมหรือไม
แนวตอบ
ปพพ.มาตรา 724 วรรคสอง
ตามขอเท็จจริง ในปญหา นายทรัพยนําที่ดินของตนราคา 7 แสนบาท มาจํานองประกันหนี้ที่นายสมกูเงินนายศัก
สักไป 4 แสนบาท จึงเปนเรื่องที่นายทรัพยจํานองที่ดินเปนประกันหนี้ของผูอื่น เมื่อนายทรัพยมิไดเขาชําระหนี้
แทนนายสมลูกหนี้ แตใหนายสักเจาหนี้บังคับจํานองที่ดินของตนไดเงินชําระหนี้ 3 แสนบาท นายทรัพยจึงมีสิทธิ
เรียกใหนายสมชําระเงินคืนแกตนไดเพียง 3 แสนบาท เทาจํานวนที่นายสักเจาหนี้ไดรับชําระหนี้จากการบังคับ
จํานองที่ดินนายทรัพยจะไปเรียกรองใหนายสมชําระเงินกูแกตน 7 แสนบาท เทาราคาที่ดินจํานองไมได
ดวยเหตุผลดังกลาว การที่นายสมลูกหนี้ยืนยัยขอชําระหนี้คืนแกนายทรัพยเพียง 3 แสนบาท จึงเปนขออางที่ชอบ
ดวยกฏหมายทุกประการ ขาพเจาเห็นดวยกับขออางของนายสม

ขอ6. มกรา ออกตั๋วแลกเงินสั่งจายเงินแกผูถือ กุมภาสงมอบตั๋วแลกเงินใหมีนา มีนาสลักหลังโอนตั๋วแลกเงินให


เมษา ตั๋วแลกเงินถึงกําหนดชําระ เมษาเรียกใหใครชําระหนี้ตามตั๋วแลกเงินฉบับนี้ไดบาง
แนวตอบ
ปพพม. 900 921 967 940 914

ขอเท็จจริงตามปญหา
มีนารับผิดในฐานะอาวัลมกรา ตามม.921 การสลักหลังตวแลกเงินซึ่งสั่งใหใชเงินแกผูถือนั้น ยอมเปนเพียง
ประกัน (อาวัล) สําหรับผูสั่งจาย
กุมภาไมตองรับผิดเพราะมิไดลงลายมือชื่อในตั๋วแลกเงิน (ม.900)
ขอ 7.นายเฉลิมสั่งจายเช็คจํานวนเงิน 100 ลานบาท ใหแกนายฉลาด นายฉลาดสลักหลังโอนใหแกนายเฉลียว นาย
เฉลียวสลักหลังโอนใหแกนายเฉลา โดยนายเฉลารูอยูวานายเฉลียวไดรับสลักหลังเช็คมาดวยการขมขูนายฉลาด
ดังนี้ หากนายฉลาดมาปรึกษาทานดพื่อจะเรียกเช็คคืนจากนายเฉลา ทานจะใหคําปรึกษาแกนายฉลาดอยางไรจึงจะ
ชอบดวยกกหมาย
เฉลย
ปพพ.มาตรา 905 วรรคสอง
ตามกฏหมายลักษณะตั๋วเงินบัญญัติเปนใจความวา ถาบุคคลผูหนึ่งผูใด ตองปราศจากตั๋วเงินไปจากครอบ
ครองทานวาผูทรงซึ่งแสดงใหปรากกสิทธิของตนในตั๋วดวยการสลักหลังไมขาดสาย ทานใหถือวาเปนผูทรงโดย
ชอบดวยกฎหมาย หาจําตองสละตั๋วเงินไม เวนแตไดมาโดยทุจริตหรือไดมาดวยความประมาทเลิ่นเลออยางราย
แรง หมายความวาในเรื่องตั๋วเงินนั้นผูรับโอนอาจมีสิทธิดีกวาผูโอน คือ ผูทรงอาจมีสิทธิดีกวาผูสลักหลังแกตนได
ยกวันสองกรณีที่ผูทรงไมมีสิทธิดีกวาผูสลักหลัง คือกรณีที่ผูทรงไดตั๋วมาโดยทุจริตหรือไดมาดวยความประมาท
เลิ่นเลออยางรายแรง
ตามอุทาหรณ นายเฉลาผูทรงซึ่งรับสลักหลังเช็คมาจากนายเฉลียวรูอยูวานายเฉลียวไดรับลักหลังเช็คมาดวย
การขมขูนายฉลาดแตทั้งๆรูเชนนั้นยังรับโอนเช็คนั้นมา ดังนี้นายเฉลาผูทรงไดเช็คมาโดยทุจริต มีสิทธิเทากับนาย
เฉลียว นายเฉลาผูทรงจึงจําตองคืนเช็คใหแกนายฉลาด หากนายฉลาดมาปรึกษา ขาพเจาจะใหคําปรึกษาใหนาย
ฉลาดเรียกเช็คคืนจากนายเฉลา...
ขอ 8. นายดอด หยิบเช็คธนาคารนครทน จํากัด ของนายดีพี่ชาย เขียนสั่งจายเงินจํานวน 1 แสนบาท ใหนายมาก
โดยลงลายมือชื่อเปนนายดี ตามลายมือชื่อนายดีที่ตนเคยเห็นอยูเสมอ ๆ นายมากสลักหลัง โอนเช็คใหนายมี นายมี
นําเช็คไปยื่น ธนาคารนครทน จํากัด ใหใชเงิน สมุหบัญชีของธนาคารไดจายเงินใหนายมีไป 1 แสนบาท โดยไม
ไดตรวจสอบลายมือชื่อของนายดีผูสั่งจายกับตัวอยางลายมือที่นายดีใหไวกับธนาคาร เนื่องจากเห็นวานายดีลูกคา
ชั้นดีของธนาคาร ประกอบกับเปนเงินจํานวนไมมากนัก ตอมานายดีตรวจสอบบัญชีของตนเห็นวารายการถอน
เงิน 1 แสนบาทนั้นตนไมไดเขียนเช็คสั่งจายแตประการใด จึงสอบถามนายดอดนองชาย นายดอดรับวาตนไดสั่ง
จายเงินจํานวนนั้นไปโดยปลอมลายมือชื่อนายดี ดังนี้ นายดีจะฟองใหธนาคารรับผิดใชเงินจํานวน 1 แสนบาท ได
หรือไม เพียงใด.
เฉลย
ปพพ.ม.991 ม.1009
กรณีตามปญหาเปนเรื่องความรับผิดของธนาคารในการจายเงินตามที่มีผูนําตั๋วเงินชนิดจะพึงใชเงินตามเขาสั่ง
เมื่อทวงถามมาเบิกตอธนาคาร ตามปพพ.ม.1009 การที่นายดอด ไดนํา เช็คของนายดีมาเขียนสั่งจายเงินจํานวน 1
แสนบาท โดยลงลายมือชื่อนายดีเปนการปลอมลายมือชื่อนายดีผูสั่งจาย เมื่อนายมีนําเช็คมาทวงถามใหธนาคาร
นครทนจํากัดใชเงิน สมุหบัญชีไดจายเงินไปโดยไมไดตรวจสอบลายมือชื่อนายดีผูสั่งจายจากตัวอยางลายมือชื่อที่
ใหไวกับธนาคาร ถือวาสมุหบัญชีประมาทเลินเลอ แมสมุหบัญชีจายเงินไปตามการคาปกติ โดยสุจริตก็ตาม สมุห
บัญชีเปนตัวแทนของธนาคารนครทน จํากัด มีหนาที่ตรวจสอบลายมือชื่อของผูสั่งจายเมื่อมีผูนําเช็คมาทวงถามให
ธนาคารใชเงิน เนื่องจากมีนิติสัมพันธกับธนาคารตามสัญญาบัญชีเดินสะพัด ปพพ.ม.1009 คุมครองกรณีที่ลายมือ
ชื่อของผูรับเงินหรือของผูสลักหลังปลอมเทานั้น ถือวาธนาคาร ไมมีหนาที่ตองไปตรวจสอบลายมือชื่อบุคคลเหลา
นั้น เพื่อความคลองตัวในการปฏิบัติงานของธนาคาร แตถาเปนลายมือชื่อของผูสั่งจายปลอม ก็เทากับนายดีผูสั่ง
จายไมไดสั่งจายเงินตามเช็คนั้น ธนาคารจึงไมมีหนาที่จายเงินจากบัญชีของนายดีตาม ปพพ.ม.991..
เมื่อธนาคารจายเงินไปกรณีลายมือชื่อปลอม ธนาคารตองรับผิดตอผูจาย นายดีจึงมีสิทธิฟองใหธนาคารรับผิดใช
เงินจํานวน 1 แสน บาท แกตน.
ขอ9. เสถียร กูเงินสถิตย จํานวน 6 หมื่นบาท โดยจดทะเบียนจํานองที่ดินของตนเปนประกันจํานวน 6 หมื่นบาท
และสาธร ค้ําประกันหนี้ดังกลาว ตอมาเสถียรผิดนัดไมชําระหนี้ และหนี้ตามสัญญาเงินกูยืมขาดอายุความ
1.สถิตยจะฟองบังคับจํานองไดหรือไม เพราะเหตุใด
2.สถิตยจะฟองสาธรผูค้ําประกันใหชําระหนี้จํานวน 6 หมื่นบาท ไดหรือไม เพราะเหตุใด

เฉลย
1. ใชปพพ.ม.744(1) ม.745
ตามปญหานี้แมหนี้ตามสัญญากูยืมเงินซึ่งเปนหนี้ประธานจะขาดอายุความฟองรองแลวกตาม แตสัญญาจํานอง
ไมระงับเพราะเหตุหนี้ที่จํานองเปนประกันขาดอายุความ เสถียรเจาหนี้มีสิทธิฟองบังคับจํานองได
2. ปพพ.ม.694
ตามปญหาเมื่อสัญญากูยืมเงินซึ่งเสถียรเปนหนี้สถิตยอันเปนหนี้ประธานขาดอายุความทําใหเจาหนี้ไมสามารถ
ฟองรองบังคับคดีได สาธรผูค้ําประกันยอมยกขอตอสูของเสถียรลูกหนี้ตอสูสถิตยได ดังนั้นหากสถิตยจะฟอง
สาธรผูค้ําประกันสาธรสามารถยกขอตอสูของเสถียรเรื่องหนี้เงินกูยืมขาดอายุความขึ้นเปนขอตอสูเพื่อใหตน
หลุดพนจากความรับผิดได.
ขอ 10. นายอาทิตย ออกตั๋วแลกเงินสั่งนายอังคารใหจายเงินแกนายพุธ ในวันที่ 5 ธันวาคม 2545 กอนตั๋วถึง
กําหนด นายพุธ สลักหลังตั๋ว ดอนใหแกนายพฤหัส ครั้นถึง วันที่ 5 ธันวาคม 2545 นายอังคารขอผลัดไปชําระ
เงินใหในวันที่ 24 ธันวาคม 2545 ดังนี้การกระทําของนายอังคาร ถือวามีการผอนวันใชเงินหรือไม เพราะเหตุใด
เฉลย
ตั๋วแลกเงินตองมีรายการอันหนึ่งคือ วันถึงกําหนดใชเงิน และปพพ.ม.903 บัญญัติวา ในการใชเงินตามตั๋ว
ทานหามมิใหใหวันผอน ซึ่งหมายถึง กอนวันถึงกําหนดใชเงิน ผูทรงตั๋วเงินตกลงยินยอมเลื่อนกําหนดเวลาใช
เงินออกไป แตการที่ตั๋วเงินถึงกําหนดใชเงินแลว ลูกหนี้คือผูจายขอผอนเวลาชําระเงินไปฝายเดียว จึงไมใชการ
ผอนเวลาอันตองหามตามบทบัญญัติดังกลาว
ตามอุทาหรณ ตั๋วแลกเงินถึงกําหนดชําระเงินวันที่ 5 ธันวาคม 2545 แลวนายอังคารผูจายขอผอนเวลาชําระ
เงินตามตั๋วแลกเงินไปฝายเดียว ซึ่งนายพฤหัสผูทรงไมไดตกลงยินยอมดวยการกระทําของนายอังคารจึงไมถือวา
มีการผอนวันใชเงิน อันตองหามตามกฏหมาย..
ขอ 11. ก.ทําสัญญากูเงินข 6 แสนบาท กําหนดชําระหนี้ 1 ป โดยแบงเปน12 งวดๆละ 5 หมื่นบาท พรอมดอก
เบี้ย ถาผิดนัดไมชําระงวดใด ใหถือวาผิดนัดชําระหนี้ทั้งหมด ใหข. มีสิทธิฟอง ก.ไดทันที ซึ่งในสัญญาดัง
กลาวค.ไดลงชื่อเปนผูค้ําประกัน ถาปรากฏวา ก.ชําระหนี้ไดเพียง 3 งวดก็ไมชําระอีก แม ข จะไดทวงถามแลวก็
ตาม เชนนี้ ข.มีสิทธิฟองให ค.ชําระหนี้ที่คางชําระทันทีกอนถึงกําหนด1 ป ไดหรือไม
เฉลย
ตามปพพ.มาตรา 686
กรณีตามอุทาหรณ แมหนี้ตามสัญญากูระหวางกัญญากูระหวาง ก.และข.จะมีกําหนดระยะเวลาแนนอนคือ 1
ป แตเนื่องจากสัญญา มีขอกําหนดใหแบงชําระหนี้เปนงวดๆถาผิดนัดไมชําระงวดใด ใหถือวาผิดชําระหนี้ทั้ง
หมด เมื่อขอสัญญาดังกลาวมิไดมีวัตถุประสงค ขัดตอกฏหมายหรือความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชนขอสัญญานี้จึงมีผลผลใชบังคับไดเชนนี้เมื่อกัญญาผิดนัดไมชําระหนี้ตั้งแตงวดนี้ที่4 จึงตองถือวาก.ผิด
นัดไมชําระหนี้ทั้งหมด มีผลใหวิชัยมีสิทธิฟองเรียกรองใหก.ชําระหนี้ที่คางชําระทั้งหมดไดทันที โดยไมตองรอ
ใหถึงกําหนด 1 ป ก็ได
เมื่อก.ผิดนัดลงเมื่อใด เจาหนี้ก็ชอบจะเรียกให ค.ในฐานะผูค้ําประกันชําระหนี้ไดแตนั้น แมหนี้รายนี้ยังไม
ถึงกําหนด 1 ปก็ตาม ดังนั้น ข.มีสิทธิฟอง ค.ใหชําระหนี้ไดทันที.

ขอ 12. บุงนําที่ดินไปจดทะเบียนจํานองเปนประกันหนี้เงินกูเบี้ยวจํานวน 2 แสนบาท หลังจากที่จดทะเบียน


จํานอง บุงไดใหบูนเชาที่ดินเพื่อปลูกบานโดยจดทะเบียนการเชาตอมาเบี้ยวจะฟองบังคับจํานองที่ดินดังกลาว
ดังนี้เบี้ยวจะขอใหบุงลบสิทธิตามสัญญาเชานั้นไดหรือไม เพราะเหตุใด
แนวตอบ
ปพพ. มาตรา 722
ตามปญหา การที่ผูรับจํานองจะขอใหลบสิทธิที่จดทะเบียนหลังการจํานองนั้น สิทธิที่จะขอใหลบจะตองเปน
ภาระจํายอมหรือทรัพยสิทธิ กรณีนี้การที่บุงใหบูนเชาที่ดินเพื่อปลูกบานเปนเพียงบุคคลสิทธิ แมไดจดทะเบียน
การเชาก็เปนสิทธิที่ไมอาจขอใหมีการลบจากทะเบียนไดแมสิทธิตามสัญญาเชาจะไดจดทะเบียนภายหลังการจด
ทะเบียนจํานองก็ตาม ดังนี้เบี้ยวจะขอใหบุงลบสิทธิตามสัญญาเชาไมไดเพราะเหตุผลดังกลาว.
ขอ 13. จิ๋วออกเช็คสั่งจายเงินจํานวน 4 หมื่นบาท ใหแจวเพื่อชําระหนี้ แตตอมาแจวไดแกไขจํานวนเงินในเช็ค
เปน 4 แสนบาทเพื่อฉอโกงจิ๋ว โดยจิ๋วมิไดรูเห็นยินยอมดวย แจวสลักหลังเช็คโอนไปใหจอด จอดสลักหลัง
โอนใหจอย จอยนําเช็คไปเบิกเงินจากธนาคารธนาคาร ปฏิเสธการจายเงินเนื่องจากไมมีเงินพอในบัญชี ดังนี้ใคร
บางตองรับผิดตอจอย
เฉลย
ปพพ.มาตรา 1007
ตามปญหาเห็นวา เมื่อแจวแกไขจํานวนเงินในเช็คจาก 4 หมื่นบาท เปน 4 แสนบาท เปนการแกไขเปลี่ยน
แปลงในขอสําคัญ โดยจิ๋วเปนคูสัญญาผูตองรับผิดตามเช็คมิไดยินยอมดวยทําใหเช็คฉบับนั้นเสียไป แตเช็ค
ฉบับนั้นยังคงใชไดตอแจวคูสัญญาซึ่งเปนผูทําการแกไขเปลี่ยนแปลง และจอดผูสลักหลัง ภายหลังเช็คที่มีการ
แกไขเปลี่ยนแปลงแลว
ดังนั้นแจวและจอดตองรับผิดตอจอยผูทรงโดยชอบดวยกฏหมาย
ขอ 14 ปูนนําบานพรอมที่ดินไปจดทะเบียนจํานองเปนประกันหนี้ปาน จํานวน 5 แสนบาท หลังจากนั้นปูนได
แอบไปจดทะเบียนสิทธิเก็บกินในที่ดินแปลงดังกลาวใหแกปุยมารดาจนตลอดชีวิตของมารดาตอมาปูนมาใช
หนี้ปานจะบังคับจํานอง จึงขอใหปูนลบสิทธิเก็บกินออกจากทะเบียน ดังนี้ปานจะทําไดหรือไม เพียงใด
เฉลย ปพพ.มาตรา 722
ตามปญหา การที่ผูรับจํานองจะขอใหลบสิทธิที่จดทะเบียนหลังการจํานองนั้น สิทธิที่จะขอใหลบจะตองเปน
ภารจํายอมหรือทรัพยสิทธิ กรณีนี้ปูนไดแอบจดทะเบียนสิทธิเก็บกินใหปุยมารดาเปนการจดทะเบียนทรัพย
สิทธิโดยผูรับจํานองมิไดยินยอมดวย สิทธิ จํานองยอมเปนใหญกวาทรัพยสิทธิอยางอื่น หากวาเปนที่เสื่อมเสีย
แกสิทธิของปานผูรับจํานอง ปานก็ใหลบทรัพยสิทธินั้นได กรณีปูนไดจดทะเบียนสิทธิเก็บกินตลอดชีวิตปุย
มารดายอมเปนที่เสื่อมเสียแกสิทธิของปานผูรับจํานอง ปานยอมมีสิทธิขอใหปูนลบทะเบียนสิทธิเก็บกินนั้นได.
ขอ 15 เมษออกตั๋วแลกเงินสั่งใหพจนจายเงินใหทิศจํานวน 3 แสนบาท ทิศสลักหลังและสงมอบตั๋วแลกเงินให
กาด กาดสลักหลัง และสงมอบตั๋วแลกเงินใหใหญ โดยมีเงื่อนไข ในคําสลักหลังวา ใหญจะมีสิทธิตามตั๋วแลก
เงินตอเมื่อใหญสอบเขาทํางานในหางสรรพสินคาไดดังนั้นเมื่อตั๋วแลกเงินครบกําหนดใหญจะไลเบี้ยใหใครใช
เงินตามตั๋วแลกเงินใหตนไดหรือไม เพียงใด
เฉลย
ปพพ.มาตรา 904 914 920 922
ตามปญหา การที่กาดสลักหลังโดยมีเงื่อนไขในคําสลักหลังวาใหญจะมีสิทธิตามตั๋วแลกเงินตอเมื่อใหญสอบ
เขาทํางานในหางสรรพสินคาได ดังนี้เปนเงื่อนไขในคําสลักหลังถือวาเงื่อนไขนั้นไมไดเขียนไวเลย และตั๋วโอน
ไปยังใหญโดยไมมีเงื่อนไข ตาม ม.920 922 ใหญไดตั๋วเงินไวในครอบครองโดยฐานเปนผูรับสลักหลังตาม ม.
904 ใหญมีสิทธิไลเบี้ยจากเมษในฐานะผูสั่งจาย ทิศและกาดในฐานะผูสลักหลัง ตามม.914 สวนพจน ผูจายไม
ตองรับผิดเนื่องจากยังไมไดรับรองตั๋วแลกเงินฉบับดังกลาว.

You might also like