You are on page 1of 28

กฎหมายพาณิชย 4

ขอ 1
นายเกิดลงทุ น 50,000 บาท นายไกลงทุน 50,000 บาท นายกวางลงทุน 40,000 บาท
เขาหุนสวนทําอูซอมรถยนต สิ้นปแรกหางฯ เปนหนี้คาอะไหลบริษั ทสมพรอะไหลยนต เปนเงิน
50,000 บาท นายไกขอลาออกจากหุนสวน ดังนี้นายไกตองรับผิดในหนี้ของหางฯ หรือไม
นายเกิดและนายกวางก็ยังดําเนินการอูซอมรถยนตตอ พรอมทั้งไปจดทะเบียนเปนหางหุน
สวนสามัญนิติบุคคล นายเกิดไดซื้ออะไหลจากบริษัทสมพรฯ และคางชําระหนี้อีก 20,000 บาท
บริษัทสมพรฯ ไดฟอง นายเกิด นายกวาง ใหรับผิดชําระหนี้
จงอธิบายวาบุคคลทั้งสองตองรับผิดชําระหนี้ของหาง ฯ อยางไร หรือไม

เฉลย

ตาม ปพพ. มาตรา 1051 บัญญัติไววา ตามปญหานายไกตองรับผิดในหนี้ของหางฯ ที่เกิด


ขึ้นกอนที่ตนจะออกจากหางหุนสวนและตองรับผิดไมจํากัดจํานวนจนกวาจะหมดอายุความของ
หนี้ ตามหลักกฎหมายที่วา “ผูเปนหุนสวนซึ่งออกจากหุนสวนไปแลวยังคงตองรับผิดในหนี้ซึ่งหาง
หุนสวนไดกอใหเกิดขึ้นกอนที่ตนไดออกจากหุนสวนไป” (มาตรา 1051)

แตเมื่อหางหุนสวนไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคลและคางชําระหนี้ 20,000 บาท เจาหนี้ของ


หางฯ จะฟองใหนายเกิดและนายกวางรวมกันรับผิดชําระหนี้ได เพราะการซื้ออะไหลเปนกิจการที่
เปนธรรมดาของการคาของหางฯ แตเนื่องจากหางฯเปนนิติบุคคลมีตัวตนตางหากจากหางหุนสวน
เจาหนี้ของหาง ฯ จะฟองผูเปนหุนสวนใหชําระหนี้ไดตามหลีกกฎหมายที่วา “เมื่อใดหางหุนสวนซึ่ง
จดทะเบียนผิดนัดชําระหนี้เมื่อนั้นเจาหนี้ของหางหุนสวนชอบที่จะเรียกชําระหนี้เอาแตผูเปนหุน
สวนคนใดคนหนึ่งก็ได” ดังนั้นบริษัท สมพรฯ จึงเรียกใหเกิดแลกวางชําระหนี้
กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 2
นายดํามีหุนซึ่งออกใหแกผูถือจํานวน 200 หุน และหุนระบุชื่อจํานวน 100 หุน นายดําได
โอนขายหุนของนายดําจํานวน 100 หุน ใหแกนายแดง เปนหุนผูถือ 70 หุน และหุนระบุชื่อ 30
หุน นายดําสงมอบใบหุนทั้ง 2 ชนิด ใหแกนายแดงไป
การโอนหุนของนายดําที่โอนใหนายแดงถูกตองหรือไม เพียงใด ถาไมถูกตอง นายดําจะ
ตองทําอยางไร

เฉลย
ปพพ.มาตรา 1129
ปพพ.มาตรา 1135

ตามปญหา นายดํามีหุนออกใหแกผูถือจํานวน 200 หุน หุนระบุชื่อจํานวน 100 หุน นาย


ดําโอนหุนผูถือ 70 หุน ใหแกนายแดง ตามหลักกฎหมายที่กําหนดในเรื่องการโอนหุนผูถือตาม
มาตรา 1135 นั้นสามารถโอนกันไดเพียงการสงมอบเทานั้น ดังนี้ผูถือหุน 70 หุน ของนายดําที่
โอนใหแกนายแดงนั้น สมบูรณ สําหรับกรณีหุนระบุชื่อจํานวนอีก 30 หุน นั้นการโอนดังกลาวไมมี
ผล เพราะการโอนหุนระบุชื่อ ตามหลักกฎหมายมาตรา 1129 กําหนดใหทําเปนหนังสือมีพยาน
อยางนอยหนึ่งคนลงลายมือชื่อ และลงลายมือชื่อผูโอนและผูรับโอน หากไมทําการโอนตามที่
กฎหมายกําหนด การโอนตกเปนโมฆะ ดังนั้นการโอนหุน 30 หุน ของนายดําใหกับนายแดงนั้น
ตกเปนโมฆะ นายดําจะตองทําหนังสือตามที่กฎหมายกําหนด พรอมทั้งระบุหมายเลขหุนไวทาย
หนังสือดวย

ดังนั้น การโอนหุน 70 หุน นั้น มีผลสมบูรณ


สวนการโอนหุนระบุชื่อ 30 หุน นั้น ตกเปนโมฆะ
กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 3
นายใหญ มีความประสงคจะทํ าการคา จึงไดรวบรวมสมาชิกได 7 คน มีนายเล็ก นาย
กลาง นายจิ๋ว ซึ่งเปนนองชายของนายใหญ และนายเสือ นายสิงห และนางแมว ซึ่งเปนเพื่อน
ของนายใหญ จึงไดจัดตั้งบริษัทใหญยิ่ง จํากัด ขึ้น มีทุนจดทะเบียน 1 ลานบาท และมีผูถือหุนอีก
ประมาณ 20 คน บริษัทไดดําเนินการมา 1 ป ไดกําไรดีมาก นายใหญพยายามบีบผูถือหุนจากทุก
คนขายหุนใหนายใหญบาง ใหนายเล็ก นายกลาง และนายจิ๋วบาง ยังเหลือผูถือหุนคือ นายเสือ
นายสิงห และนางแมว เทานั้นที่ยังเปนผูถือหุนอยู

ตอมาในปที่สอง บริษัททํากําไรมากกวาปแรก 3 เทา นายใหญจึงพยายามที่จะบีบใหนาย


เสือ นายสิงห และนางแมวขายหุนของบริษัทใหนายใหญ นายสิงหทนแรงบีบไมไหว จึงถอนตัว
ออกไป โดยโอนขายหุนใหกับนายใหญ สวยนายเสือกับนางแมวไมยอมขายหุนใหนายใหญ จึง
คิดที่จะเลิกบริษัทใหญยิ่ง จํากัด แตทั้งสองคนไมแนใจวาจะทําไดหรือไม
นายเสือกับนางแมว จึงมาปรึกษาทานวา หากจะเลิกบริษัทจะสามารถฟองศาลขอใหเลิก
บริษัทไดหรือไม ขอใหทานใหคําแนะนํากับคนทั้งสอง

เฉลย
ปพพ.มาตรา 1237(4) นอกจากนี้ศาลอาจสั่งใหเลิกบริษัทดวยเหตุตอไปนี้ คือ
(4) ถาจํานวนผูถือหุนลดนอยลงจนเหลือไมถึงเจ็ดคน

จากปญหา
บริษัทใหญยิ่ง ไดจัดขึ้นโดยมีนายใหญ เล็ก กลาง จิ๋ว เสือ สิงห และแมว เปนผูเริ่มกอ
การและเปนผูถือหุนรายใหญ ของบริษัท บริษั ทดําเนินการมามีผูถือหุนอื่นอีกมาก แตหลังจาก
บริษัทไดกําไร ถูกบีบใหขายหุนใหพี่นอง จึงเหลือผูถือหุน จํานวน 7 คนเทานั้น
ตอมาในปที่สอง นายสิงหขายหุนใหกับนายใหญอีก จึงทําใหผูถือหุนของบริษัทเหลืออยู
เพียง 6 คน ตามหลักกฎหมายมาตรา 1237 (4) ไดกําหนดไววาหากผูถือหุนลดนอยลงเหลือไมถึง
7 คน ศาลอาจสั่งใหเลิกบริษัทได บริษัทใหญ ยิ่งเหลือผูถือหุนอยู คือ ใหญ เล็ก กลาง จิ๋ว เสือ
และแมว จํานวน 6 คน จึงเปนเหตุหนึ่งที่จะฟองศาลใหสั่งยกเลิกบริษัทได

นายเสือ และนางแมว จึงสามารถฟองศาลขอใหเลิกบริษัทได

กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 4
นิด หนอย และนอยเขาหุนสวนประกอบกิจการคาเสื้อผาสําเร็จรูป และไดจดทะเบียนจัด
ตั้งเปนหางหุนสวนสามัญ นิติบุคคล ตอมานอยตองการออกจากหางหุนสวน นอยตองปฏิบัติ
อยางไร และเมื่อนอยออกจากหางหุนสวนไปแลว นอยยังตองรับผิดใชหนี้สินของหางหุนสวน
อยางไร หรือไม

เฉลย
ตามปญหาหางหุนสวนนี้เปนหางหุนสวนสามัญจดทะเบียน และไมไดกําหนดเวลาเลิก
หางฯ ไวการที่นายนอยตองการออกจากหางหุนสวน ก็เทากับตองการที่จะเลิกหางฯดวย ซึ่งนาย
นอยตองบอกกลาวการเลิกหาง โดยบอกกลาวลวงหนาไมนอยกวาหกเดือน กอนสิ้นรอบปทาง
บัญชี (1056)

ตามหลักกฎหมายที่วา “ถาหางหุนสวนนั้นตั้งขึ้นโดยไมมีกําหนดกาลอยางหนึ่งอยางใด
เปนยุติ ทานวาจะเลิกไดตอเมื่อผูเปนหุนสวนคนใดคนหนึ่งบอกเลิก เมื่อสิ้นรอบปทางบัญชีเงิน
ของหางหุนสวนนั้น และผูเปนหุนสวนนั้นตองบอกกลาว ความจํานงเลิกลวงหนาไมนอยกวาหก
เดือน”

สําหรับความรับผิดในหนี้ของหางฯ นั้น นอยตองรับผิดในหนี้ของหางฯ ที่เกิดขึ้น ขณะที่ตน


เปนหุนสวนอยู และรับผิดไมเกินสองป นับแตวันที่ออกจากหางฯ ( 1058 )
ตามหลักกฎหมายที่วา “ความรับผิดของผูเปนหุนสวนในหางหุนสวนจดทะเบียน อันเกี่ยว
แกหนี้ซึ่งหางหุนสวนไดกอใหเกิดขึ้นกอนที่ตนออกจากหางหุนสวนนั้น ยอมมีจํากัดเพียง 2 ป นับ
แตเมื่อออกจากหางหุนสวน

กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 5
นายสิงหโอนหุนชนิดออกใหแกผูถือใหแกนายเมน จํานวน 150 หุน โดยทําเปนหนังสือมี
ลายมือชื่อ นายสิงห นายเมน และพยาน 1 คน ระบุหมายเลขหุนครบถวนทุกประการ เมื่อนายเมน
ถือหุน 150 หุนนั้นอยูประมาณ 3 เดือน นายเมนประสงคที่จะเปลี่ยนหุนที่ถืออยูนั้นเปนหุนระบุชื่อ
เนื่องจากกิจการบริษัทกําไรดี จึงอยากที่จะมีชื่อในใบหุน นายเมนพบใครก็ถามวาเปลี่ยนไดหรือไม
บางคนก็บอกวาเปลี่ยนได บางคนบอกไมได และบางคนยังบอกวาการโอนหุนที่นายสิงหโอนให
แกนายเมนไมถูกตอง เพราะหุนออกใหแกผูถือ ไมตองทําเปนหนังสือแตอยางใด จะทําเฉพาะหุน
ระบุชื่อเทานั้น นายเมนจึงสับสน ไดมาปรึกษาทานวา
1. การโอนหุนที่นายเมนไดมานั้นถูกตองหรือไม
2. การขอเปลี่ยนหุนออกใหแกผูถือเปนหุนระบุชื่อทําไดหรือไม
ใหทานใหคําแนะนําแกนายเมน

เฉลย
ตามปพพ.มาตรา 1135 บัญญัติไววา “หุนชนิดที่มีใบหุนออกใหแกผูถือนั้น ยอมโอนกัน
ไดเพียงการสงมอบใบหุนแกกัน
จากคําถามในประเด็นแรกที่วาการที่นายสิงหโอนหุนใหแกนายเมนนั้นถูกตองหรือไม จาก
การที่กฎหมายกําหนดในเรื่องการโอนหุนชนิดที่เปนหุนผูถือนั้น เนื่องจากเปนหุนที่ไดชําระเงินครบ
แลว จึงสามารถที่ จ ะโอนกั น ได โดยการสงมอบใบหุน ใหก็ถือวาเป น การถู กต องแลว ตามหลัก
กฎหมายมาตรา 1135 ดังนั้นการที่นายสิงหโอนหุนชนิดผูถือใหนายเมนนั้นเปนเรื่องที่ทําไดไมขัด
ตอกฎหมายแตอยางใด เพราะความถูกตองอยูที่การสงมอบใหนั่นเอง ดังนั้นการโอนหุนที่นายเมน
ไดมาจึงเปนการถูกตองแลว

ตามปพพ.มาตรา 1136 บัญญัติไววา “ผูทรงใบหุนชนิดออกใหแกผูถือ ยอมมีสิทธิจะมา


ขอเปลี่ยนเอาใบหุนชนิดระบุชื่อได เมื่อเวนคืนใบหุนชนิดฉบับออกใหแกผูถือนั้นใหขีดฆาเสีย”

จากคําถามในประเด็นที่สอง ที่นายเมนจะขอเปลี่ยนหุนชนิดผูถือเปนหุนชนิดระบุชื่อนั้น
สามารถที่จะทําได เพราะกฎหมายอนุญ าตใหผูทรงใบหุนชนิดถือนั้น ใชสิท ธิในการขอเปลี่ยน
ประเภทใบหุนได เมื่อนายเมนเปนผูทรงใบหุน ดังกลาวจึงเปนผูมีสิทธิที่จะขอเปลี่ยนใบหุนเปนใบ
หุนระบุชื่อได ตามหลักกฎหมายมาตรา 1136 ที่กลาวมาขางตน

ดังนั้นนายเมนสามารถที่จะขอเปลี่ยนใบหุนที่ไดรับการโอนมาโดยถูกตองจากนายสิงหได
ตามที่กฎหมายใหสิทธิไว
กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 6
นายสินไดรวบรวมเพื่อนจํานวน 8 คน ดําเนินการจัดตั้งบริษัทสินสหาย จํากัด ขึ้นมา หลัง
จากที่ไดจดทะเบียนบริษัทเปนที่เรียบรอย ไดใหนายสินเปนกรรมการผูจัดการ ยังไมทันที่นายสิน
จะเริ่มลงมือบริหารงานของบริษัทสินสหายจํากัดแตอยางใด นายสินถูกบริษัทแสนสี่จํากัด ซื้อตัว
ไปเปนผูจัดการดวยเงินเดือนที่สูงมาก นายสินจึงมิไดดําเนินกิจการของบริษัทสินสหายแตอยางใด
เลย ทําใหเพื่อนในที มผูกอตั้ง ซึ่งเปนผูถือหุ นกลุมใจมาก พบนายสินเมื่อใดก็เรงรัดให นายสิน
ดําเนินการ นายสินก็รับปากแลวก็ไมทําอะไร เวลาผานไปหนึ่งปครึ่ง เพื่อนทั้ง 8 คน ซึ่งมีนายแกว
เปนแกนนํา จึงปรึกษากันวา จะทําอยางไรกับบริษัทสินสหายจํากัด ซึ่งนายแกวและเพื่อน ๆได
ชําระคาหุนกันไปบางแลว นายแกวก็เสนอขอคิดกับเพื่อนผูถือหุนวา ถาเปนเชนนั้นเลิกบริษัทไป
เลยดีกวา ซึ่งเพื่อนก็เห็นดวย แตนายกิ่งคานวาบริษัทตั้งมาแลว จะเลิกไดอยางไร กฎหมายจะยอม
ใหเลิกหรือ
นายแกวจึงมาปรึกษาทานวา จะสามารถเลิกบริษัทไดหรือไม และถาเลิกจะตองทําอยาง
ไร
เฉลย
ตามปพพ.มาตรา 1237 (2) บัญญัติไววา “นอกจากนี้ศาลอาจสั่งใหเลิกบริษัทจํากัดดวย
เหตุตอไปนี้ (1) ………..
(2) ถาบริษัทไมเริ่มทําการภายในหนึ่งปนับแตวันจดทะเบียน หรือหยุดทําการถึงหนึ่งปเต็ม
…….
จากคําถามนายสินและเพื่อนไดรวมกันจัดตั้งบริษัทขึ้นเปนที่เรียบรอยแลว โดยตั้งใหนาย
สินเปนกรรมการผูจัดการ แตดวยเหตุที่บริษัทแสนสี่ไดมาซื้อตัวนายสินไปนั้น ทําใหนายสินไมคิดที่
จะมาเริ่มดําเนินกิจการของบริษัทสินสหายแตอยางใด ไมวานายแกวและเพื่อน ๆ จะทวงถามอยาง
ไรก็ตาม นายสินก็ไมเขามาดําเนินกิจการของบริษัทสินสหาย จนเวลาลวงเลยมาเปนเวลา ปกวา
นายแกวจึงเสนอแนวทางแกปญหาที่เกิดขึ้นกับบริษัทสินสหาย โดยขอใหเลิกบริษัท แตมีผูคัดคาน
วา จดทะเบียนบริษัทแลวจะเลิกไมได
ในหลักการเรื่องการยกเลิกบริษัทนั้นกฎหมายกําหนดวาถากําหนดกันไวเขาเกณฑตาม
มาตรา 1236 ก็ใหเปนไปตามนั้น แตหากมีเหตุที่บริษัทไมสามารถดําเนินการไดตามที่กฎหมาย
กําหนดไวตามมาตรา 1236 แลวก็สามารที่จะปฏิบัติตามมาตรา 1237 ไดโดยสามารถที่จะรองขอ
ใหศาลสั่งใหเลิกบริษัทไดตามเหตุที่กําหนดไว
ซึ่งตามปญหาขางตนนั้นเปนเรื่องที่บริษัทไดจดทะเบียนเปนที่เรียบรอยแตบริษัทไมเริ่มทํา
การ กฎหมายกําหนดใหเปนเหตุที่สามารถที่จะรองขอใหเลิกบริษัทได การที่นายแกวเสนอใหมีการ
เลิกบริษัทนั้นเปนสิ่งที่ทําได โดยการรองขอตอศาลเพื่อใหศาลมีคําสั่งใหเลิกบริษัท เพราะบริษัทสิน
สหายไมมีการเริ่มทําการภายในเวลาหนึ่งป นับตั้งแตเริ่มจดทะเบียนมา
ดังนั้นตามที่นายแกวและเพื่อนไดเสนอใหเลิกบริษัทนั้น สามารถเลิกบริษัทไดดวยเหตุที่ไม
เริ่มดําเนินกิจการภายในหนึ่งปนับแตเมื่อไดจดทะเบียนบริษัท โดยการรองขอตอศาลใหศาลมีคํา
สั่งใหเลิกบริษัทสินสหายไดตามที่กลาวมาขางตน
กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 7
นายเจริญ และนายสุข เป น หุน สวนกัน ในห างหุ น สวนสามัญ ไม จดทะเบี ยน ซึ่งมี วัต ถุ
ประสงคในการคาไม นายเจริญขายไมของหุนสวนใหนายศิริ เปนเงินเชื่อ 100,000 บาท ตอมา
นายเจริญเดินทางไปดูงานตางประเทศเปนเวลานาน นายสุขจึงทําหนาที่หุนสวนผูจัดการหางฯ
แทน และไดเรียกใหนายศิริ ชําระคาไม แตนายศิริไมยอมชําระ
นายสุขจะฟองศาลบังคับใหนายศิริชําระหนี้ดังกลาวไดหรือไม

เฉลย
ตามปพพ.มาตรา 1049 วา ผูเปนหุนสวนจะถือเอาสิทธิใด ๆ แกบุคคลภายนอกในกิจการ
คาขาย ซึ่งไมปรากฏชื่อของตนหาไดไม

ตามปญหา หางหุนสวนสามัญไมจดทะเบียน ซึ่งมีนายเจริญและนายสุขเปนหุนสวนกัน


นั้น นายเจริญเปนผูขายไมของหางฯแตผูเดียวใหแกนายศิริ นายสุขหุนสวนอีกคนหาไดเกี่ยวของ
เปนผูขายดวยไม ฉะนั้นแมนายเจริญไปตางประเทศ และมีนายสุขเปนผูจัดการหางฯในขณะที่นาย
เจริญไปตางประเทศก็ตาม นายสุขจะถือเอาสิทธิใด ๆ แกนายศิริซึ่งเปนบุคคลภายนอกในกิจการ
คาขายของหางฯซึ่งไมปรากฏชื่อของตนไมได

ฉะนั้นศาลยอมพิพากษาใหยกฟองคดีที่นายสุขเปนโจทกฟองนายศิริ แตนายสุขก็มีทางแก
ไขโดยใหนายเจริญลงชื่อในคําฟองพรอมมอบอํานาจใหนายสุขฟองแทน

( ฉะนั้น นายสุขไมมีอํานาจฟองนายศิริใหชําระหนี้ใหแกตนได แตหางหุนสวนมีอํานาจที่


จะเรียกชําระหนี้จากนายศิริได โดยนายสุขใหนายเจริญลงชื่อในคําฟอง หรือมอบอํานาจใหนายสุข
ฟองแทนได )

กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 8
นายเล็กทําธุรกิจในดานการสงเสื้อผาสําเร็จรูป ออกไปขายในตางประเทศจนประสบความ
สําเร็จเปนอยางดีจึงไดคิดขยับขยายกิจการ พรอมทั้งจะใหลูก ๆ ของตนเขามามีสวนรวมและชวย
บริหารกิจการดวย นายเล็กจึงไดดําริที่จะจัดตั้งบริษัทขึ้นเพื่อดําเนินกิจการ โดยจะใหลูก ๆ ของตน
เขารวมเปนผูถือหุนและกรรมการ และเพื่อที่จะรักษาบริษัทนี้ไวใหเปนกิจการเฉพาะของสมาชิกใน
ครอบครัว นายเล็กจึงมีความประสงคจะตั้งเงื่อนไขในการถือหุนวา หุนของบริษัทนี้ผูที่ถือหุนจะนํา
ไปโอนใหแกบุคคลอื่นไมได เวนแตจะไดรับความยินยอมจากผูถือหุนคนอื่น

เชนนี้นายเล็กอยากทราบวา ตามกฎหมายแลวจะสามารถทําไดหรือไม ถาทําไดจะตอง


ทําอยางไร

เฉลย
ตามปกติ หุ น ในบริษั ท นั้ น ตองถือวาสามารถโอนกัน ไดเสมอ แต ก ฎหมายยิน ยอมให
บริษั ท มี ขอจํากัดในการโอนได บ างกรณี ทั้ งนี้เพราะบริษั ท อาจมี ความจําเป น หรือเหตุ ผลบาง
ประการที่จะตองสงวนสิทธิในการโอนหุนของผูถือหุนไว เชน ในกรณี ที่ผูถือหุนของบริษัทเปน
บุคคลกลุมใดกลุมหนึ่ง ก็อาจมีขอจํากัดการโอนเพื่อปองกันมิใหการโอนหุนใหแกบุคคลนอกกลุม
อยางในกรณีของนายเล็กที่ตองการสงวนหุนไวเฉพาะสมาชิกในครอบครัว ดังนี้เปนตน บริษัทที่
นายเล็กจะกอตั้งขึ้น นี้มี ผูถือหุน เปน จํานวนนอย คงจะตั้ งในรูปของบริษั ทเอกชนตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย

สําหรับวิธีการนั้นก็คือ จะตองกําหนดขอจํากัดการโอนนั้นไวในขอบังคับของบริษัทวา
การโอนหุ น ให แ ก บุ ค คลใด จะต อ งได รั บ ความยิ น ยอมจากผู ถื อ หุ น ที่ เ หลื อ อยู เ สี ย ก อ น
(ปพพ.มาตรา1129)

สวนในกรณีของบริษัทมหาชนจะตั้งขอกําหนดการโอนหุนไมได เวนแตเพื่อปฏิบัติตาม
กฎหมายเฉพาะ ( พรบ.มหาชน มาตรา 70)
กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 9
บริษัทสีสวยจํากัด ประกอบธุรกิจดานการทําปายโฆษณา มีนายสีและนายสวยเปนผูถือ
หุนใหญ และเปนกรรมการของบริษัท ซึ่งปรากฏวา นับตั้งแตเปดกิจการมา บริษัทตองประสบ
ภาวะขาดทุนมาโดยตลอด เพราะนายสีกับนายสวยยังไมมีความชํานาญดานนี้พอ อีกทั้งยังไม
ระมัดระวังในการทํางาน ทําใหปายที่ทําขึ้นสําหรับลูกคาบกพรอง ไมไดอยางที่ลูกคาตองการ จึง
ตองทําขึ้นใหมเพื่อเปลี่ยนใหลูกคาอยูเสมอ ซึ่งเปนการเสียคาใชจายเพิ่มขึ้น ทําใหบริษัทไมมีกําไร
ขณะนี้บริษัทสีสวยจํากัด ขาดทุนไปแลวกวา 200,000 บาท แตนายสีและนายสวย ก็ดูเหมือนวา
จะไมเดือดรอนอะไร เชนนี้อยากทราบวา
ก) นายสด ซึ่งเปนผูถือหุนรายหนึ่งของบริษัท แตมิไดเปนกรรมการ จะฟองรองนายสี
และนายสวย ใหชดใชคาเสียหายแกบริษัทไดหรือไม
ข) ธนาคารสุโขทัย ซึ่งเปนเจาหนี้เงินกูของบริษัท สีสวยจํากัด อยู 100,000 บาท จะมี
สิทธิฟองรองนายสีและนายสวยดวยไดหรือไมอยางไร

เฉลย
ในการประกอบกิจการของบริษัท กรรมการตองใชความเอื้อเฟอ สอดสองอยางบุคคลคา
ขาย ผู ป ระกอบด วยความระมั ดระวัง (มาตรา 1168) โดยตองเอาใจใส ในการจัดการงานของ
บริษัทยิ่งกวาวิญูชนธรรมดา ถากรรมการทําความเสียหายใหแกบริษัท บริษัทจะฟองเรียกเอา
คาสินไหมจากกรรมการได ถาบริษัทไมฟอง ผูถือหุนคนใดคนหนึ่งก็สามารถฟองได หรือแมแตเจา
หนี้ของบริษัท ก็มีสิทธิฟองบังคับใหกรรมการที่ทําใหเกิดความเสียหาย ขอใหชดใชคาสินไหมทด
แทนได โดยเจาหนี้จะใชสิทธิเรียกรองใหชําระหนี้ไดเพียงเทาจํานวนหนี้ที่ตนมีอยูตอบริษัทเทานั้น
(มาตรา 1169)

ตามปญหา นายสีและนายสวยไมไดใชความระมัดระวัง ทําใหบริษัทไดรับความเสียหาย


บริษัทจึงมีสิทธิฟองนายสีและนายสวยได แตเมื่อบริษัทไมฟอง ดังนั้น
ก) นายสดซึ่งเปนผูถือหุนของบริษัทก็สามารถฟองได (มาตรา 1169)
ข) ธนาคารสุโขทัยก็สามารถฟองนายสีและนายสวยไดเชนกันในฐานะเจาหนี้ แตจะ
ฟองไดเฉพาะเทาจํานวนที่บริษัทเปนหนี้อยูคือ 100,000 บาท เทานั้น
กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 10
นายเอก นายโท และนายตรี เขาหุนกันตั้งหางหุนสวนสามัญเจริญดี โดยดําเนินกิจการ
โรงฆาสัตว มีวัตถุประสงคเพื่อเก็บเงินจากผูนําสุกรเขาไปฆาในโรงฆาสัตว ทั้งนี้หางหุนสวนดัง
กลาวไดตั้งใหนายเอกเปนผูจัดการ นายเอกไดไปซื้อเชื่อสุกรของนายจัตวามา 1 ตัว แลวนําสุกรมา
ฆาเสียเอง ทั้งยังไมชําระหนี้คาสุกรใหนายจัตวา นายจัตวาไดทวงถามใหนายเอกชําระหนี้ นาย
เอกก็เพิกเฉย
ดังนี้นายจัตวาจะฟองใหนายเอก นายโท นายตรี รับผิดในหนี้ดังกลาวรวมกันไดหรือไม
เฉลย
ตามปพพ.มาตรา 1050 บัญญัติไววาการใด ๆ อันหุนสวนคนใดคนหนึ่ง ไดจัดทําไปในทาง
ที่เปนธรรมดาการคาขายของหางหุนสวน นั้น ทานวาผูเปนหุนสวนทุกคน ยอมมีความผูกพันใน
การนั้น ๆ ดวย และตองรวมกันรับผิดโดยไมจํากัดจํานวน ในการชําระหนี้อันไดกอใหเกิดขึ้น เพราะ
จัดการไปเชนนั้น
ตามปญหาการที่นายเอก นายโท นายตรี เขาหุนสวนกันตั้งโรงฆาสุกร โดยมีวัตถุประสงค
เพื่อเก็บเงินจากผูนําเขาสุกรไปฆานั้น การที่นายเอกหุนสวนผูจัดการไปซื้อเชื่อสุกรของนายจัตวา
มาฆาเสียเองนั้นเปนการกระทําการคาขายนอกวัตถุประสงคของหาง และตามปญหาไมปรากฏวา
นายเอกไดทําไปในฐานะตัวแทนของนายโท และนายตรี ผูเปนหุนสวนอื่น และไมปรากฏวานายโท
และนายตรีเขาไปมีสวนไดสวนเสียในกิจการนั้น
ดังนั้นนายโทและนายตรีจึงไมตองรับผิดตอนายจัตวา ซึ่งเปนบุคคลภายนอก นายเอกจึง
ตองรับผิดเปนสวนตัวในการชําระหนี้ใหนายจัตวา

ขอ 11
บริษัทสวัสดิ์จํากัด มีทุนจดทะเบียน 1 ลานบาท มีนายสวัสดิ์กับพวกเปนผูถือหุนราว 80 %
ของทุนจดทะเบียน ทางบริษัทมีความประสงคจะเพิ่มทุนอีก 1 ลานบาท แตทั้งนายสวัสดิ์กับพวกมี
ความคิดวา ตองการที่จะเพิ่มอัตราสวนการถือหุนของกลุมตนใหมากยิ่งขึ้นในบริษัท และตองการ
ลดอํานาจของกลุมผูถือหุนขางนอยลง จึงตกลงกันวาจะเสนอขายหุนเพิ่มทุนใหแกกลุมของตน ใน
อัตราสวน 1:1 คือผูถือหุนเดิม 1 หุน ซื้อหุนใหมได 1 หุน สวนกลุมผูถือหุนขางนอยนั้น จะเสนอขาย
หุนเพิ่มทุนในอัตราสวน 1:2 คือถือหุนเดิม 2หุนซื้อใหมได 1 หุน เชนนี้ นายสวัสดิ์ตองการทราบวา
จะทําไดหรือไมอยางไร เมื่อนายสวัสดิ์มาปรึกษาทาน ทานจะใหคําตอบแกนายสวัสดิ์อยางไร
เฉลย
ในการเพิ่มทุนของบริษัทนั้น กฎหมายกําหนดวาบรรดาหุนออกใหมตองเสนอขายแกผูถือ
หุนเดิม ตามอัตราสวนจํานวนหุนที่เขาถืออยู(มาตรา 1222) ทั้งนี้เพื่อใหอัตราสวนการถือหุนใน
บริษัทภายหลังการเพิ่มนั้นเปนไปเชนเดียวกันกอนการเพิ่มทุน เชนบริษัท ก มีหุนจดทะเบียน 1000
หุน นาย ข ถือหุนอยู 100 หุน ซึ่งเทากับ 10 % ของทุนจดทะเบียน ถาบริษัทเพิ่มทุนออกหุนใหม
500 หุน นาย ข ยอมมีสิทธิได 50 หุน เปนตน
ดังนั้นการที่นายสวัสดิ์จะเสนอขายหุนแกกลุมผูถือหุนขางนอย ในอัตรา 2 :1 ซึ่งจะทําใหผู
ถือหุนกลุมขางนอยมีสิทธิซื้อหุนเพียงครึ่งหนึ่งของจํานวนหุนเพิ่ มทุนที่มีสิทธิซื้อ จึงไมสามารถ
กระทําไดเพราะขัดตอบทบัญญัติของกฎหมาย

ขอ 12
บริษัทสีสันประกอบธุรกิจดานการทําปายโฆษณา มีนายสี และ นายสันเปนผูถือหุน และ
เปนกรรมการของบริษัทในการประกอบกิจการปแรก บริษัทก็ประสบกับการขาดทุน ในปที่สอง
บริษัทไมขาดทุนแตก็ไมกําไร สวนในปที่สามนั้น บริษัทประสบกับการขาดทุนอีก นายสีเห็นวาตน
ไมเคยไดรับประโยชนจากการตั้งบริษัทนี้เลย ก็ประสงคจะเลิกบริษัทเสีย แตนายสันไมยอม เชนนี้
นายสี อยากทราบวาตนจะฟองศาลขอใหเลิกบริษัทเสียไดหรือไม

เฉลย
ตามปพพ. มาตรา 1237 กําหนดไวในเรื่องการเลิกบริษัทโดยคําสั่งศาล จะกระทําไดใน
กรณีดังตอไปนี้
1. มีการกระทําผิดในรายงานการประชุมตั้งบริษัท หรือทําผิดในการประชุมตั้งบริษัท
2. บริษัทไมเริ่มทําการภายใน 1 ป นับแตวันจดทะเบียน หรือหยุดทําการถึงหนึ่งปเต็ม
3. การคาของบริษัททําไปก็มีแตขาดทุนอยางเดียวและไมมีหวังจะกลับฟนตัวได
4. จํานวนผูถือหุนลดนอยลงเหลือไมถึงเจ็ดคน
การที่ศาลจะสั่งเลิกบริษัทเพราะเหตุที่บริษัทขาดทุนนั้น จะตองปรากฏวาบริษัทขาดทุน
อยางเดียว คือขาดทุนหลาย ๆ ปติดตอกัน และจะตองไมมีหวังที่จะกลับฟนคืนกําไรไดดวย จึงเปน
เหตุที่ศาลจะสั่งใหเลิกบริษัทได เพราะเพียงแตบริษัทระสบการขาดทุนยังไมเปนเหตุที่ศาลจะสั่งให
เลิกบริษัท เพราะในการคายอมมีกําไรและขาดทุนคละกันไป
กรณีของบริษัทสีสันนั้นนายสีจะขอใหศาลสั่งเลิกบริษัทไมได เพราะการขาดทุนของบริษัท
ยังไมมีลักษณะเปนการติดตอกันอันจะถือไดวาบริษัทไมมีหวังจะกลับมาฟนตัวไดอีก อีกทั้งในปที่
สองบริษัทก็ไมขาดทุน ดังนั้นบริษัทอาจจะสามารถทํากําไรในอนาคตได จึงไมถือวาเปนกรณีขาด
ทุนแตอยางเดียวและไมมีหวังจะกลับฟนตัวได

ดังนั้น นายสีจึงไมมีสิทธิที่จะฟองศาลขอใหศาลสั่งเลิกบริษัทได

กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 13
นายเกงและนายกลาไดตกลงกันดวยวาจาวา จะประกอบธุรกิจรับขนสงคนโดยสารรวม
กัน โดยนายเกงเปนผูออกเงินซื้อรถยนตโดยสาร สวนนายกลาเปนผูขับรถโดยสารคันดังกลาว
และเมื่อมีรายไดหรือผลกําไร ก็จะแบงกันคนละครึ่ง วันหนึ่งขณะที่นายกลาไดขับรถยนตคันดัง
กลาวเพื่อรับจางขนสงคนโดยสารตามปกติ นายกลาไดขับรถยนตโดยประมาทชนรถยนตนางเดือน
เสียหาย ดังนี้นางเดือนจะฟองนายเกงและนายกลา ใหรวมกันรับผิดชดใชคาทดแทนหรือไม

เฉลย
ตามปพพ.มาตรา 1012 อันวาสัญญาจัดตั้งหางหุนสวนหรือบริษัทนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคล
ตั้งแตสองคนขึ้นไปตกลงเขากันเพื่อกระทํากิจการรวมกัน ดวยประสงคจะแบงปนกําไรอันจะพึงได
แตกิจการที่ทํานั้น

มาตรา 1025 อันวาหางหุนสวนสามัญนั้น คือหางหุนสวนประเภทซึ่งผูเปนหุนสวนหมด


ทุกคนตองรับผิดรวมกันเพื่อหนี้ทั้งปวงของหุนสวนโดยไมจํากัด

มาตรา 1050 การใด การใดอั น ผู เป น หุ น ส ว นคนใดคนหนึ่ ง ได จั ด ทํ า ไปในทางที่ เป น
ธรรมดาการคาขายของหางหุนสวนนั้น ทานวาผูเปนหุนสวนหมดทุกคนยอมมีความผูกพันในการ
นั้น ๆ ดวย และจะตองรับผิดรวมกันโดยไมจํากัดจํานวนในการชําระหนี้ อันไดกอใหเกิดขึ้นเพราะ
จัดการไปเชนนั้น
ตามปญหา นายเกงและนายกลาไดตกลงที่จะประกอบธุรกิจรับสงคนโดยสารรวมกัน โดย
ตกลงกันดวยวาจา ซึ่งตามปพพ.มาตรา 1012 ไมไดกําหนดรูปแบบของการทําสัญญาไววาจะตอง
ทําเปนหนังสือหรือแบบใด ดังนั้นการที่ตกลงกันดวยวาจาก็สามารถที่จะกระทําได ดังนั้นการที่นาย
เกงและนายกลาตกลงกันนั้นจึงเปนสัญญาเขาหางหุนสวนที่ถูกตอง

การเขาหางหุนสวนกันนั้นเปนการเขาหางหุนสวนสามัญ ซึ่งผูเปนหุนสวนตองรวมรับผิดใน
หนี้รวมกัน โดยไมจํากัดจํานวน ในกิจการที่เปนกิจการคาของหาง ตามปพพ.มาตรา 1025 การที่
นายกลาขับรถยนตเพื่อรับจางขนสงคนโดยสาร โดยประมาทชนรถยนตของนางเดือนนั้นถือเปน
การกระทําที่เปนธรรมดาการคาของหาง ตามปพพ.มาตรา 1050 การกระทําดังกลาวจึงผูกพันหุน
สวนทุกคนและหางหุนสวน

ดังนั้นนางเดือนจึงสามารถที่จะฟองนายเกงและนายกลาใหรวมรับผิดชดใชคาสินไหมทด
แทนได
กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 14
นายมีนไดรวมกับเพื่อนเพื่อจัดตั้งบริษัทมีนาจํากัด ในการออกหุนนั้นไดกําหนดมูลคาหุน
ไวหุนละ 100 บาท และไดกําหนดไวใสหนังสือบริคณหสนธิวาอาจจะขายหุนในราคาที่มากกวามูล
คาที่กําหนดไวนั้น บริษั ทจึงไดกําหนดราคาหุนไวเปน มูลค าหุน ละ 140 บาท เมื่ อประชุมจัดตั้ ง
บริษัทเสร็จ ปรากฏวานายมีน นายเมษ และนายกันย ไดเปนกรรมการผูจัดการของบริษัททั้งสาม
คน

กรรมการทั้งสามคนจึงไดเรียกเก็บคาหุนครั้งแรกเปนจํานวนรอยละ 30 เชนนี้ อยากทราบ


วาการดําเนินการเรียกเก็บคาหุนดังกลาวถูกตองหรือไม เพราะเหตุใด

เฉลย
ตามปพพ. มาตรา 1105 วรรค 3 อนึ่งเงินสงใชคาหุนคราวแรกนั้น ตองมิไดนอยกวารอย
ละยี่สิบหาแหงมูลคาของหุนที่ตั้งไว

จากปญหา การที่บริษัทมีนาไดกําหนดมูลคาหุนไวนั้นในราคา 100 บาท นั่นคือมูลคาหุน


ที่กําหนดไว สําหรับการที่กําหนดในหนังสือบริคณหสนธิวาใหจําหนายในราคาที่มากกวามูลคาได
นั้นเปนสิ่งที่ทําได แตราคาที่เปนมูลคาในหุนก็คือ 100 บาท ดังนั้นเมื่อกรรมการ คือนายมีน นาย
เมษ และนายกันย เรียกเก็บคาหุนคราวแรกนั้นกฎหมายกําหนดใหเรียกเก็บอยางนอยรอยละ 25
จากมูลคาหุนที่ตั้งไว นั่นหมายถึงการเรียกเก็บครั้งแรกตองไมนอยกวารอยละ 25 การที่กรรมการ
เรียกเก็บรอยละ 30 จึงสามารถที่จะกระทําได เพราะเงินที่เรียกเก็บครั้งแรกนั้นเพื่อนําไปใชหมุน
เวียนในธุรกิจ จึงอยูในวิสัยที่กรรมการจะใชดุลพินิจในการเรียกเก็บ โดยกฎหมายกําหนดวาไมให
ต่ํากวารอยละ 25 เทานั้น

ดังนั้นการที่กรรมการเรียกชําระคาหุนครั้งแรกรอยละ 30 นั้นเปนการกระทําที่ถูกตอง

กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 15
นายแดง นายดํา และนายเหลือง เขาหุนกันทําการคา โดยมีนายแดงเปนผูจัดการ นาย
เหลืองและนายดําสงสัยวานายแดงทุจริตเบียดบังเงินของหางฯ จึงตองการใหนายฟานักบัญชีและ
เปนผูที่นายเหลืองและนายดําไววางใจเขามาเปนหุนสวนดวย เพื่อที่นายฟาจะไดเขามาควบคุม
ทางดานการเงินของหางฯ นายเหลืองและนายดําจึงบอกนายแดงวา จะใหนายฟามาเขาหุนสวน
ดวย แตนายแดงไมยินยอม
เมื่อเปนเชนนี้จึงถามวา
ก. ถานายแดงไมยินยอมใหนายฟาเขามาเปนหุนสวน นายฟาจะเขามาเปนหุนสวนได
หรือไม เพราะเหตุใด
ข. นายเหลืองและนายดําจะใหนายแดงออกจากตําแหนงผูจัดการไปโดยไมตองเลิก
หางไดหรือไม เพราะเหตุใด

เฉลย
ขอ ก ตามหลักกฎหมายในเรื่องการชักนําบุคคลอื่นเขามาเปนหุนสวนดวยไดบัญญัติไว
ในมาตรา 1040 ที่ วา “ห ามมิใหชักนํ าบุ คคลอื่น เขามาเป นหุ น สวนในหางหุนส วนโดยมิ ไดรับ
ความยินยอมของผูเปนหุนสวนหมดดวยกันทุกคน เวนแตจะไดตกลงกันไวเปนอยางอื่น”

ตามปญหาการที่นายดําและนายเหลืองจะใหนายฟาเขามาเปนหุนสวน แตเมื่อไมไดรับ
ความยินยอมจากนายแดงผูเปนหุนสวนคนหนึ่งนั้น เทากับวาหุนสวนทุกคนไมยินยอมใหนายฟา
เขามาเปนหุนสวนดวย

ดังนั้นนายฟาจึงไมสามารถเขามาเปนหุนสวนไดแตอยางใด

ขอ ข ตามหลักกฎหมายในเรื่องการใหผูจัดการออกจากตําแหนงนั้น ไดบัญญัติไวใน


มาตรา 1036 วา “อันหุนสวนผูจัดการจะเอาออกจากตําแหนงไดก็ตอเมื่อ ผูเปนหุนสวนทั้งหลาย
อื่นยินยอมพรอมกัน เวนแตจะตกลงกันไวเปนอยางอื่น”

ตามปญหา ถานายดําและนายเหลืองตองการเอานายแดงออกจากตําแหนงผูจัดการก็
สามารถที่ จะกระทํ าได โดยที่ นายดําและนายเหลือง ยิน ยอมพรอมใจกัน ให นายแดงออกจาก
ตําแหนงผูจัดการ

ดังนั้น นายดําและนายเหลือง สามารถเอานายแดงออกจากตําแหนงผูจัดการของหางฯนั้น


ได หากทั้งสองคนนั้นมีความเห็นเปนเชนเดียวกัน
กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 16
บริษัททิพยรุงเรืองจํากัด มีทุนจดทะเบียนสี่ลานบาท แบงออกเปน 40,000 หุน ๆ ละ 100
บาท ตอมาบริษัทมีทุนเหลือ เพราะไดยกเลิกโครงการบางโครงการไป กรรมการของบริษัทเห็นวา
สมควรที่จะตองลดทุนของบริษัทลงใหเหลือเพียงหนึ่งลานหาแสนบาท จึงมาปรึกษาทาน
ก. การลดทุนของบริษัทใชมติเสียงขางมากจากที่ประชุมใหญผูถือหุนไดหรือไม อยางไร
ข. จะลดทุนลงใหเหลือเพียงหนึ่งลานหาแสนบาทไดหรือไม กฎหมายมีขอจํากัดในเรื่อง
การลดทุนไวอยางไร

เฉลย
จากปญหา มีหลักกฎหมายที่เกี่ยวของอยูดังนี้
มาตรา 1224 วา บริษัทจํากัดจะลดทุนของบริษัทลงดวยลดมูลคาแตละหุน ๆ ใหต่ําลง
หรือลดจํานวนหุนใหนอยลง โดยมติพิเศษของที่ประชุมผูถือหุนก็ได

การลดทุนจะทําไดก็ตอเมื่อที่ประชุมผูถือหุนมีมติใหลดทุนได แตการลดทุนนั้นตองเปนมติ
พิเศษ จากที่ประชุมผูถือหุนเทานั้น จะเปนมติธรรมดาที่ถือเสียงขางมากเทานั้นไมได

ดังนั้นการลดทุนนั้นกรรมการบริษัทจะตองจัดใหมีการประชุม 2 ครั้ง คือประชุมครั้งแรกที่


ประชุมเห็นชอบกับมติลดทุนไมนอยกวา 3 ใน 4 และตอมาใหมีการประชุมครั้งที่สองโดยที่ประชุม
เห็นชอบดวยไมนอยกวา 2 ใน 3 และนํามติพิเศษไปจดทะเบียนดวยเหตุนี้จึงจะใชมติเสียงขางมาก
เทานั้นไมได
ขอ ข จากปญหามีหลักกฎหมายที่เกี่ยวของ อยูดังนี้
มาตรา 1225 อันทุนของบริษัทนั้นจะลดลงไปใหถึงต่ํากวาจํานวนหนึ่งในสี่ของทุนทั้งหมด
หาไดไม
การที่บริษัททิพยรุงเรืองจํากัดจะลดทุนลงเหลือ 1,500,000 บาทนั้น สามารถที่จะกระทํา
ได เพราะกฎหมายมีขอจํากัดในเรื่องการลดทุนวาจะลดทุนลงไปใหต่ํากวาหนึ่งในสี่ของทุนทั้งหมด
ไมได คือเมื่อบริษัทลดทุนแลว ทุนที่เหลือจะมีต่ํากวาหนึ่งในสี่ของทุนเดิมไมได ซึ่งจากการที่บริษัท
ทิพยรุงเรืองมีทุนจดทะเบียน 4,000,000 บาทนั้น จึงสามารถลดทุนลงไดเหลือต่ําสุด คือไมต่ํากวา
1,000,000 บาท

ดังนั้น การที่บริษัททิพยรุงเรืองตองการที่จะลดลงเหลือ 1,500,000 บาทนั้นจึงสามารถที่


จะกระทําได เพราะยังเหลือทุนมากกวาหนึ่งในสี่ของทุนจดทะเบียน

กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 17
บริษัทน้ําใสจํากัด ตองการที่ควบบริษัทเขากับบริษัทน้ําดื่มไทยจํากัด เพื่อใหการดําเนิน
การควบบริษัทเปนไปดวยความถูกตอง บริษัทน้ําใสจึงไดแจงความการควบบริษัทไปยังเจาหนี้ตาง
ๆ ของบริษัท เมื่อบริษัทเครื่องกรองไทยจํากัด ซึ่งเปนเจาหนี้ของบริษัทน้ําใสจํากัด ไดรับแจง ก็
เกรงวาตนจะไมไดรับชําระหนี้ เมื่อบริษัททั้งสองควบเขาดวยกัน จึงไดใชสิทธิของเจาหนี้คัดคาน
การควบบริษัทดังกลาว ภายใน 7 วัน นับแตวันที่ไดรับแจง
เมื่อเปนเชนนี้การควบบริษัททั้งสองจะดําเนินการตอไปไดหรือไม เพียงใด
เฉลย
ตามปพพ.มาตรา 1240 ไดกําหนดวิธีการการควบบริษัทวา “บริษัทตองโฆษณาในหนังสือ
พิมพทองที่เจ็ดครั้งเปนอยางนอย และสงคําบอกกลาวไปยังบรรดาผูซึ่งบริษัทรูวาเปนเจาหนี้ของ
บริษัทดวยจดหมายลงทะเบียนไปรษณีย บอกใหทราบรายการที่ประสงคจะควบบริษัทเขากัน และ
ขอใหเจาหนี้ผูมีขอคัดคานอยางหนึ่งอยางใด ในการควบบริษัทเขากันนั้นสงคําคัดคานไปภายใน
หกเดือนนับแตวันที่บอกกลาว
ถาไมมีใครคัดคานภายในกําหนดเชนวานั้น ก็ใหถือวาไมมีคําคัดคาน

ถาหากมี เจาหนี้คัดค าน บริษัทจะจัดการควบเขากัน มิได จนกวาจะได ใชห นี้ ห รือไดให


ประกันเพื่อหนี้รายนั้น”
จากปญหาการที่บริษัทน้ําใสจะควบเขากับบริษัทน้ําดื่มไทย เปนบริษัทน้ําดื่มไทยจํากัด
นั้นไดแจงความการควบบริษัทใหบริษัทเครื่องกรองไทยจํากัดซึ่งเปนเจาหนี้ของบริษัทน้ําใสทราบ
และบริษัทเครื่องกรองไทยไดทําการคัดคานการควบบริษัทดังกลาวภายใน 7 วัน ซึ่งมีผลทําใหการ
คัดคานเปนผล เพราะกฎหมายกําหนดใหทําการคัดคานไดภายในเวลาหกเดือน นับแตวันที่ไดรับ
คําบอกกลาวตามมาตรา 1240 วรรคแรก

เมื่อการคัดคานเปนผลจึงทําใหบริษัททั้งสองยังไมสามารถที่จะทําการควบกันได จนกวา
บริษัทน้ําใสจะชําระหนี้ใหกับบริษัทเครื่องกรองไทยเปนที่เรียบรอย หรือไมก็ตองจัดใหมีการประกัน
เพื่อหนี้นั้นกอนจึงจะสามารถทําการควบบริษัทดังกลาวได มาตรา 1240 วรรค 3

ดังนั้นบริษัททั้งสองยังควบกันไมไดจนกวาบริษัทน้ําใสจะชําระหนี้หรืจัดใหมีการประกัน
เพื่อหนี้ดังกลาวกอนจึงจะสามารถควบบริษัททั้งสองเขากันได

กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 18
นายแดง นายเหลือง และนายเขียว ไดรวมหุนกันจัดตั้งหางหุนสวนสามสหายยานยนต
ประกอบกิจการซอมรถยนต โดยแตละคนลงหุนเทากัน คนละ 200,000 บาท ประกอบกิจการได 2
ป กิจการไมดีมีแตขาดทุนมาโดยตลอด จนทายสุดเงินลงทุนเหลือเพียง 500,000 บาท และหางฯ
ยังเปนหนี้คาซื้ออะไหลจากบริษัทรวมยนต จํานวน 100,000 บาท อีกทั้งยังคางคืนเงินคาใชจายที่
นายแดงออกไปเพื่อชําระหนี้หาง ฯ อีก 70,000 บาท
ผูเป นหุน สวนเห็นพ องตองกันวาควรจะเลิกหางฯ และชําระบัญ ชีตอไป นายแดงจึงมา
ปรึกษาทานวากรณีนี้ตามกฎหมาย เมื่อเลิกหางฯและชําระบัญชีแลว นายแดงจะไดรับเงินที่ลงทุน
ไปนั้นคืนหรือไม และถาไดรับคืนจะไดรับคืนเปนจํานวนเทาไร

เฉลย
ตามกฎหมายในเรื่องการชําระบัญ ชีของหางฯ ไดบัญ ญั ติไวในมาตรา 1062 ที่วา “การ
ชําระบัญชีใหทําโดยลําดับดังนี้ คือ
(1) ใหชําระหนี้ทั้งหลายซึ่งคางแกบุคคลภายนอก
(2) ใหชดใชเงินทดลองและคาใชจายซึ่งผูเปนหุนสวนไดออกของตนไป เพื่อจัดการคา
ของหางฯ
(3) ใหคืนทุนทรัพยซึ่งผูเปนหุนสวนไดลงเปนหุน
ตามปญหา เมื่อหางหุนสวนเลิกกันก็ตองดําเนินการชําระบัญชีตามกฎหมายขางตน คือ
เมื่อเลิกหาง ฯ หางมีเงินเหลืออยู 500,000 บาท ตองชําระบัญชี ดังนี้
(1) ชําระหนี้ทั้งหลายซึ่งคางชําระแกบุคคลภายนอก กรณีนี้ตองชําระหนี้คาซื้ออะไหลรถ
ยนตใหกับบริษัทรวมยนต เปนเงิน 100,000 บาท
ดังนั้น คงเหลือเงินหลังจากชําระหนี้ 500,000 – 100,000 = 400,000 บาท
(2) ใหชดใชเงินทดรองและคาใชจายซึ่งผูเปนหุนสวนไดออกของตนไปเพื่อจัดการงานของ
หางฯ กรณีนายแดงไดออกเงินคาใชจายไปทั้งสิ้น 70,000 บาท
ดังนั้น คงเหลือเงินหลังจากหักเงินทดรองจายของนายแดง 400,000– 70,000 = 330,000
บาท
(3) ใหคืนทุนทรัพยซึ่งผูเปนหุนสวนไดลงหุน กรณีนี้ผูเปนหุนสวนลงหุนเทากัน การคิด
ทุนทรัพยก็ตองเฉลี่ยไปสามสวน
ดังนั้น การคืนทุนทรัพยของผูเปนหุนสวนแตละคน 330,000 / 3 = 110,000 บาท
กรณีตามปญหา นายแดงและผูเปนหุนสวนทั้ง3 คน จะไดเฉลี่ยคืนเปนเงินคนละ 110,000
บาท

กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 19
บริษัททิพยสามัคคี จํากัด มีทุนจดทะเบียน 5,000,000 บาท แบงออกเปน 50,000 หุน ๆ
ละ 100 บาท ตอมาบริษัทตองการขยายกิจการใหใหญขึ้น ประธานกรรมการจึงเรียกประชุมคณะ
กรรมการเพื่อขอมติในการเพิ่มทุน ในที่สุดที่ประชุมคณะกรรมการมีมติเปนเอกฉันทใหเพิ่มทุนของ
บริษัทได โดยใหเพิ่มทุนดวยวิธีการเพิ่มมูลคาหุนเปนหุนละ 150 บาท ดังนี้ใหทานวินิจฉัยวา

ก. การเพิ่มทุนของบริษัททิพยสามัคคีจํากัด โดยอาศัยมติเอกฉันทของคณะกรรมการ
ของบริษัทจะกระทําไดเพียงใด หรือไม

ข. การเพิ่มทุนดวยการเพิ่มมูลคาหุนจาก 100 บาท เปน 150 บาท ของบริษัททิพ ย


สามัคคีจํากัด ดังกลาวชอบดวยกฎหมายหรือไม อยางไร

เฉลย
มาตรา 1220 บริษัทจํากัดอาจเพิ่มทุนของบริษัทขึ้นไดดวยออกหุนใหม โดยมติพิเศษ
ของที่ประชุมผูถือหุน

1) จะเห็นไดวาการเพิ่มทุนของบริษัทจํากัดนั้นจะทําขึ้นไดโดยมติพิเศษของที่ระชุมผูถือ
หุนเทานั้น กรรมการของบริษัทจะประชุมกันเองระหวางกรรมการดวยกัน แลวลงมติใหเพิ่มทุน
ของบริษัทจํากัดไมได แมจะมีมติเปนเอกฉันทก็ตาม ตองมีการเรียกประชุมใหญผูถือหุน และมติที่
ไดตองเปนมติพิเศษพิเศษดวย จึงจะเปนมติการเพิ่มทุนที่ชอบดวยกฎหมาย ดังนั้น มติการเพิ่ม
ทุนของบริษัททิพยสามัคคีจํากัด ดังกลาวจึงมิใชมติที่ไดมาโดยชอบดวยกฎหมาย

2) การเพิ่มทุนในบริษัทจํากัดทําไดเพียงวิธีเดียว คือการออกหุนใหมโดยมติพิเศษของที่
ประชุมผูถือหุน จากโจทกขางตน บริษัททิพยสามัคคีจํากัดเดิมมีทุนจดทะเบียนอยู 5,000,000
บาท แบงเปน 50,000 หุน ๆ ละ 100 บาท หากตองการเพิ่มทุนอีก 2,500,000 บาท บริษัทตองออก
หุนใหมอีก 25,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาทเทาเดิม แลวเสนอขายใหแกผูถือหุนทั้งหลายใน
บริษัทกอนตามสวนจํานวนที่เขาถือหุนอยู จึงเปนการเพิ่มทุนที่ชอบดวยกฎหมาย การเพิ่มทุนโดย
การเพิ่มมูลคาหุนจาก 100 บาท เปน 150 บาท จึงเปนวิธีการที่ไมถูกตอง ไมชอบดวยกฎหมาย
กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 20
บริษัทครัวไทย จํากัด ไดทําการควบบริษัทครัวอินเตอร จํากัด เปนที่เรียบรอยแลว บริษัท
ไม ยางไทย จํ ากั ด ผู ค าส งกั บ บริษั ท ครัวไทย จํา กั ด ผู เป น เจ าหนี้ ข องบริษั ท ครัว ไทย จํ ากั ด อยู
จํานวน 200,000 บาท ไดใชสิทธิทําการคัดคานการควบบริษัทครัวไทย จํากัด แตทําการคัดคาน
เกินระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด คําคัดคานจึงไมมีผล บริษัททั้งสองจึงควบเขากันโดยดําเนินการ
ในนามของบริษัทครัวอินเตอร จํากัด เมื่อเปนเชนนี้บริษัทไมยางไทย จํากัด จึงเรียกใหบริษัทครัว
อิ น เตอร จํ ากั ด ชํ า ระหนี้ ให กั บ ตน ตามจํา นวนที่ บ ริษั ท ครัวไทย จํ า กั ด เป น หนี้ ต นอยู จํ า นวน
200,000 บาท
บริษัทครัวอินเตอร จํากัด ไดปฏิเสธการชําระหนี้ใหแกบริษัทไมยางไทย จํากัด วาเปนหนี้
เดิมของบริษัทครัวไทย จํากัด บริษัทครัวอินเตอร จํากัด ไมจําเปนตองรับผิดชอบในหนี้เดิมแตอยาง
ใด
ถามวาบริษัทครัวอินเตอร จํากัด จะปฏิเสธการชําระหนี้ใหแกบริษัทไมยางไทย จํากัด ดัง
กลาวไดหรือไม เพราะเหตุใด

เฉลย
ตามปพพ. มาตรา 1243 วางหลักไววา บริษัทใหมนี้ยอมไดไปทั้งสิท ธิและความรับผิ ด
บรรดามีอยูแกบริษัทเดิมอันไดมาควบเขากันนั้นทั้งสิ้น
จากปญหา
บริษัทครัวไทยจํากัด ไดควบเขากับบริษัทครัวอินเตอร จํากัด เปนที่เรียบรอยแลว นั่นหมาย
ถึงการดําเนินกิจการในบริษัทครัวอินเตอรซึ่งใชชื่อเดิมของบริษัทครัวอินเตอรจํากัดนั้น ไดรวมกิจ
การของบริษัทครัวไทยเขามาดวยทั้งหมด ซึ่งการที่บริษัทครัวไทยมีหนี้อยูกับบริษัทไมยางไทย
จํากัด จํานวน 200,000 บาท (สองแสนบาทถวน) นั้น จะตกมาเปนของบริษัทครัวอินเตอรจํากัด
ดวย ตามหลักกฎหมายมาตรา 1243 ที่กลาวมาขางตน บริษัทครัวอินเตอรจึงไมอาจปฏิเสธการ
ชําระหนี้ใหแกบริษัทไมยางไทยได
ดังนั้น บริษัทครัวอินเตอรจํากัด ไมสามารถปฏิเสธการชําระหนี้ใหแกบริษั ทไมยางไทย
จํากัดได แตอยางใด
กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 21
หางหุนสวนสามัญนิติบุคคลไทยเจริญคาวัสดุกอสราง มีผูเปนหุนสวน 2 คน คือ นายไทยและนาย
เจริญ โดยมีนายไทยเปนผูจัดการ หางหุนสวนประกอบกิจการดวยดีตลอดมาจนถึงยุคเศรษฐกิจ
ตกต่ํา การคาทรุดลง หางฯเปนหนี้บริษัทปูนซีเมนตเปนเงิน 300,000 บาท นายไทยจึงไปกูเงินจาก
ธนาคารเปนเงิน 500,000 บาท ไปชําระหนี้ใหกับบริษัทปูนซีเมนต และที่เหลือนํามาใชเปนทุนหมุน
เวียน แตการดําเนินกิจการไมดีขึ้น หางหุนสวนไมมีเงินใชหนี้ธนาคาร ธนาคารจึงเรียกใหนายไทย
ชําระหนี้ นายไทยปฏิเสธการชําระหนี้โดยใหธนาคารเรียกจากหางหุนสวน เพราะนายไทยกูเงินมา
ใชในกิจการของหางฯ
ทานเห็นวาขออางของนายไทยที่ปฏิเสธการชําระหนี้และใหไปเรียกจากหางหุนสวน เปน
ขออางที่รับฟงไดหรือไม อยางไร
เฉลย
ตามปญหานายไทยจะปฏิเสธการชําระหนี้ไมได เพราะหนี้ที่เกิดขึ้นเปนหนี้ของหางหุนสวน
อัน เปน กิจการที่ เปน ธรรมดาการคาของหาง และเปน กิจการที่อยูในขอบวัตถุประสงค ของหาง
เพราะหางประกอบกิจการคาวัสดุกอสราง หางเปนหนี้ในทางการคา คือเปนหนี้บริษัทปูนซีเมนต
เปนเงิน 300,000 บาท และเปนหนี้เงินกูธนาคารซึ่งนายไทยไดกูมาใชในกิจการคาที่เปนธรรมดา
ของหาง ผูเปนหุนสวนทุกคนจึงตองรวมกันรับผิดในหนี้ของหาง ตามที่บัญญัติไวใน ปพพ.มาตรา
1050 วา “การใด ๆ อันผูเปนหุนสวนคนใดคนหนึ่งไดจัดทําไปในทางที่เปนธรรมดาการคาของหาง
หุนสวน ผูเปนหุนสวนหมดทุกคน ยอมมีความผูกพันในการนั้น ๆ ดวย และจะตองรับผิดชอบรวม
กันโดยไมจํากัดจํานวนในการชําระหนี้อันไดกอใหเกิดขึ้นเพราะจัดการไปเชนนั้น”
และมาตรา 1070 วา “เมื่อใดซึ่งหางหุนสวนจดทะเบียนผิดนัดชําระหนี้ เมื่อนั้นเจาหนี้ของ
หางหุนสวนนั้นชอบที่จะเรียกใหชําระหนี้เอาแตผูเปนหุนสวนคนใดคนหนึ่งก็ได”
มาตรา 1071 วา “ในกรณีดังกลาวในมาตรา 1070 นั้น ถาผูเปนหุนสวนนําพิสูจนไดวา
1. สินทรัพยของหางหุนสวนยังมีพอที่จะชําระหนี้ไดทั้งหมดหรือบางสวน และ
2. การที่จะบังคับเอาแกหางหุนสวนนั้นไมเปนการยากฉะนี้ไซร
ศาลจะบังคับใหเอาสินทรัพย ของหางหุนสวนนั้น ชําระหนี้กอนก็ได สุดแตศาลจะเห็นสม
ควร”
การที่นายไทยจะปฏิเสธการชําระหนี้นั้นไมสามารถทําได แมวาจะเปนการกูเงินมาใชในกิจ
การของหางอยางถูกตองก็ตาม ทั้งนี้เนื่องจากหางเปนหางหุ นสวนสามัญ นิติบุคคล ซึ่งมีหลั ก
กฎหมายกําหนดไววา หุนสวนจะตองรับผิดเมื่อหางผิดนัดชําระหนี้ การที่ธนาคารฟองเรียกใหนาย
ไทยชําระหนี้นั้น นายไทยจะปฏิเสธการชําระหนี้จากธนาคารไมไดเพราะกฎหมายใหเจาหนี้มีสิทธิที่
จะเรียกชําระหนี้แกผูเปนหุนสวนคนใดคนหนึ่งก็ได เวนเสียแตวานายไทยจะนําพิสูจน ไดวา สิน
ทรัพยของหางหุนสวนยังมีพอจะนําชําระหนี้ไดทั้งหมดหรือบางสวนและการจะบังคับเอาไมเปน
การยาก เชนนี้ศาลอาจบังคับเอาสินทรัพยของหางชําระหนี้กอนก็ได
ดังนั้นนายไทยจะปฏิเสธการชําระหนี้จากธนาคารไมได
กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 22
คาวีและนาวินชักชวนสมัครพรรคพวกอีก 5 คน ลงทุนตั้งบริษัทสวรรคเบี่ยงจํากัดขึ้น มี
วัตถุประสงคทําฟารมเลี้ยงกุงและสงกุงออกจําหนายยังตางประเทศ หลังจากบริษัทดําเนินการได
5 ป ปรากฏวาขาดทุนมาโดยตลอด นอกจากเพราะขาดความรูความชํานาญในเรื่องการเพาะ
เลี้ยงและดูแลกุงแลว ตอมารัฐบาลในตางประเทศซึ่งถือวาเปนตลาดใหญในการสงออกกุงของไทย
ไดมีขอกําหนดออกมากีดกันการนําเขากุงจากประเทศไทยดวย และในปนี้บริษัทตองมามีปญหา
กับรัฐบาลไทยอีก ในเรื่องผลกระทบของการทํานากุงตอสิ่งแวดลอม คาวี นาวิน และพรรคพวกทุก
คนจึงไดปรึกษากันวา เห็นทีบริษัทจะไมมีหวังที่จะกลับฟนตัวได หากฝนทําตอไปจะยิ่งมีหวังถลํา
ลึกเสียหายมากกวานี้ ผูถือหุนทุกคนมีความเห็นตองตรงกันวาตองเลิกบริษัท คาวีแจงตอผูถือหุน
ทุกคนวาในกรณีเชนนี้ การที่จะเลิกบริษัทไดตองรองขอตอศาลใหศาลสั่งเลิกกอนจึงจะเลิกได แต
นายนาวินแยงวา ในเมื่อไมมีผูถือหุนคนใดคัดคาน ก็นาจะเลิกไดโดยไมตองใหศาลสั่ง
ทุกคนจึงมาปรึกษาทาน ในกรณีดังกลาวนี้ สามารถเลิกบริษัทดวยวิธีอื่นโดยไมตองรองขอ
ตอศาลไดหรือไม อยางไร
เฉลย ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1236 บัญญัติไววา “อันบริษัทจํากัด
ยอมเลิกกัน ดวยเหตุดังจะกลาวตอไปนี้คือ
1 ถาในบังคับของบริษัทมีกําหนดกรณีอันใดเปนเหตุที่จะเลิกกันเมื่อมีกรณีนั้น
2 ถาบริษัทไดตั้งขึ้นไวเฉพาะกําหนดการใด เมื่อสิ้นกําหนดการนั้น
3 ถาบริษัทไดตั้งขึ้นเฉพาะเพื่อทํากิจการอยางหนึ่งอยางใดแตอยางเดียว เมื่อเสร็จการ
นั้น
4 เมื่อมีมติพิเศษใหเลิก
5 เมื่อบริษัทลมละลาย
ตามปญหา กรณีดังกลาวตามโจทยนั้นแมการคาของบริษัททําไปมีแตขาดทุนอยางเดียว
และไมมีหวังจะฟนคืนไดอีกก็ตาม แตเมื่อคาวีและนาวินรวมทั้งผูถือหุนทุกคนมีความเห็นตองตรง
กันวา จะเลิกบริษัทโดยไมตองฟองศาล ก็สามารที่จะเลิกได โดยมีมติพิเศษใหเลิก ซึ่งตองไดรับ
อนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน
สําหรับมติพิเศษใหเลิกบริษัทนั้น ตองกระทําตามที่กฎหมายบัญ ญั ติ คือ มาตรา 1194
โดยจัดใหมีการประชุมผูถือหุนสองครั้ง ในการประชุมครั้งแรก ที่ประชุมตองมีมติเห็นชอบใหเลิก
บริษัทดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของผูถือหุนที่เขาประชุม และการประชุมครั้งที่สอง ที่
ประชุมตองมีมติเห็นชอบยืนยันตามมติเดิม ใหเลิกบริษัท ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสาม
และนํามติพิเศษนี้ไปจดทะเบียนก็สามารถเลิกบริษัทได โดยไมตองใหศาลสั่งเลิก
ดังนั้นหากบริษัทสวรรคเบี่ยงตองการเลิกบริษัทโดยไมตองการที่จะไปฟองศาลสั่งใหเลิก
โดยตองมีการเรียกประชุมผูถือหุนและขอมติพิเศษจากที่ประชุมตามที่กฎหมายกําหนดไว หากที่
ประชุมผูถือหุนมีมติพิเศษใหเลิกบริษัท ก็สามารถที่จะเลิกบริษัทได
กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 23
นายฟา นายใส และนายสด ไดรวมหุนกันจัดตั้งหางหุนสวนจํากัดฟาใส เพื่อประกอบธุรกิจ
เสื้อผาสําเร็จรูป โดยนายฟา และนายใส ไดลงทุนเปนเงินคนละ 300,000 บาท สวนนายสดเปนหุน
สวนจํากัดความรับผิด ลงทุน 200,000 บาท ผูเปนหุนสวนไดตั้งใหนายฟาเปนผูจัดการ หางหุน
สวนดําเนินกิจการคาดวยดีตลอดมาจนถึงยุคเศรษฐกิจตกต่ํา การคาฝดเคือง หางหุนสวนเปนหนี้
บริษัททอผาเปนเงิน 300,000 บาท บริษัทจึงเรียกใหนายฟาชําระหนี้ นายฟาจึงนําเงินไปชําระหนี้
ให กั บ บริษั ท ทอผ า เมื่ อชํ าระหนี้ แลวจึ งเรีย กให น ายสดชําระชําระหนี้ ที่ น ายฟ าจายไป นายสด
ปฏิเสธการชําระหนี้ โดยอางวาตนเปนหุนสวนจํากัดความรับผิด จะรับผิดในหนี้ที่เกิดขึ้นตอเมื่อ
หางหุนสวนเลิกจากกันแลวเทานั้น นายฟาจึงมาปรึกษาทานวาขออางของนายสดที่ไมชําระหนี้ดัง
กลาว ชอบดวยกฎหมายหรือไม

เฉลย
ปพพ.มาตรา 1095 วรรคแรก บัญญัติวา “ตราบใดหางหุนสวนจํากัดยังมิไดเลิกกัน ตราบ
นั้นเจาหนี้ของหางยอมไมมีสิทธิจะฟองรองผูเปนหุนสวนจําพวกจํากัดความรับผิดได

แตเมื่อหางหุนสวนนั้นไดเลิกแลว เจาหนี้ของหางมีสิทธิฟองรองผูเปนหุนสวนจําพวกจํากัด
ความรับผิดไดเพียงจํานวนดังนี้คือ
(1) จํานวนลงหุนของผูเปนหุนสวนเทาที่ยังคางสงแกหางหุนสวน
(2) จํานวนลงหุนเทาที่ผูเปนหุนสวนไดถอนไปจากสินทรัพยของหางหุนสวน
(3) จํานวนเงินปนผลและดอกเบี้ยซึ่งผูเปนหุนสวนไดรับไปแลวโดยทุจริตและฝาฝนตอ
บทมาตรา 1084”
และปพพ.มาตรา 1050 “การใดๆอันผูเปนหุนสวนคนไดคนหนึ่งไดจัดทําไปในทางที่เปน
ธรรมดาการคาขายของหางหุนสวนนั้น ทานวาผูเปนหุนสวนหมดทุกคน ยอมมีความผูกพันในการ
นั้น ๆ ดวยและจะตองรับผิดรวมกันโดยไมจํากัดจํานวนในการชําระหนี้อันไดกอใหเกิดขึ้น เพราะ
จัดการไปเชนนั้น”

ตามป ญ หา ฟ า ใส และสด ได เขาหุนกันจัดตั้งเป น หางหุนสวนจํากัดฟาใสขึ้น ดําเนิ น


ธุรกิจคาเสื่อผาสําเร็จรูปโดยมีฟาและใสเขาหุนคนละ 3 แสนบาทและเปนหุนสวนประเภทไมจํากัด
ความรับผิด สวนสดนั้นลงหุนดวย 2 แสนบาทและเปนหุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด โดยมีฟา
เปนหุนสวนผูจัดการ ฟาก็ดําเนินกิจการของหางหุนสวนมาดวยดี จนเศรษฐกิจฝดเคืองปรากฏวา
หางหุนสวนเปนหนี้บริษัททอผาเปนเงิน 3 แสนบาท ตามหลักกฎหมายที่กําหนดไวนั้นการใดที่ทํา
เปนธรรมดาการคาของหางนั้นหุนสวนทุกคนตองรวมรับผิด ดังนั้นการที่ฟาซึ่งเปนหุนสวนผูจัดการ
นั้นไดดําเนินกิจการที่เปนธรรมดาการคาของหาง จึงผูกพันผูเปนหุนสวนทุกคนและเมื่อบริษัทมา
เรียกใหฟาชําระหนี้ 3 แสนนั้น ฟาก็ไดชําระหนี้ดังกลาวใหบริษัททอผาเปนการถูกตองแลว
สําหรับฟาเมื่อชําระหนี้แลวมาเรียกใหสดรวมชําระหนี้ที่ตนไดชําระไปแลว ปรากฏวาสดได
ปฏิเสธการชําระหนี้ที่ฟาไดชําระไปแลว โดยอางวาผูเปนหุนสวนที่จํากัดความรับผิดจะรับผิดตอ
เมื่อหางแลวนั้น ตามหลักกฎหมายเปนเรื่องที่จะปฏิเสธตอเจาหนี้ที่จะมาเรียกชําระหนี้กับหุนสวนที่
จํากัดความรับผิด แตกรณีนี้เปนเรื่องที่มิใชเปนเรื่องการที่ปฏิเสธการชําระหนี้จากเจาหนี้แตอยางใด
แตเปนเรื่องที่หุนสวนเรียกใหหุนสวนชําระหนี้ที่ไดชําระไปแลว คือรวมกันรับผิดในกิจการของหาง
นั่นเอง

ดังนั้นสดจะปฏิเสธการเรียกชําระหนี้จากฟาไมได ถือวาตองมีสวนรวมรับผิดในหนี้ที่หาง
หุนสวนไดดําเนินการไป โดยรับผิดเทาที่ตนเองยังคางชําระหุนตามที่ตนไดแสดงเจตนาลงทุนไวคือ
2 แสนบาท หากสดไดนําเงินมาลงทุนกับหางไวครบ 2 แสนบาทแลว เชนนี้ สดก็ไมตองรับผิดอีกแต
อยางใด เพราะสดเปนหุนสวนที่จํากัดความรับผิด
ขอ 24
เกา ชิน เคน ชาติ แครี่ สมิง และโมนิการ ลงทุนตั้งบริษัทประเทืองจํากัดขึ้น มีวัตถุประสงค
ทําฟารมเลี้ยงกุง และสงกุงออกจําหนายยังตางประเทศ หลังจากดําเนินการมาได 6 ป ปรากฏวา
ขาดทุนมาโดยตลอด นอกจากไมมีความรูและความชํานาญในเรื่องการเพาะเลี้ยงและดูแลกุงเพียง
พอแลว ตอมารัฐบาลในบางประเทศซึ่งถือวาเปนตลาดใหญ ในการสงออกกุงของไทย ไดมี ขอ
กําหนดออกมากีดกันการนําเขากุงของไทยดวย และในปนี้บริษัทก็มามีปญหากับรัฐบาลไทยอีก
เกี่ยวกับการทําลายสิ่งแวดลอมอันเนื่องมาจากการทํานากุง แครี่ สมิง และโมริการเห็นวาในภาวะ
ที่เกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจเชนนี้หากฝนดําเนินกิจการของบริษัทตอไปก็ไมมีทางฟนตัวได ยิ่ง
ถลําลึกลงไปในอนาคตก็ยิ่งมืดมน และอาจถูกรัฐดําเนินคดีเพราะปญหาทําลายสิ่งแวดลอมดวย
จึงเห็นสมควรจะเลิกบริษัทในตอนนี้กอนที่จะตองฆาตัวตายตามแฟชั่น แตเกา ชิน เคนและชาติไม
เห็นดวย และเชื่อวาปาฏิหาริยยอมเกิดขึ้นไดเสมอ หากดิ้นรนทนสูตอไปอาจโชคดีก็ได ทั้งสองฝาย
ตางถกเถียงโตแยงกันจนถึงขั้นทะเลาะวิวาท แตฝายแครี่สูไมไดเพราะมีเพียง 3 เสียง สวนฝายเกา
มีถึง 4 เสียง

แครี่ สมิง และโมนิการ จึงมาปรึกษาและขอความรูจากทานวา การที่จะเลิกบริษัทโดยขอ


ใหศาลสั่งนั้นมีกรณีใดบาง และหากพรรคพวกของตนตองการที่จะเลิกกิจการของบริษัทประเทือง
จํากัดโดยรองขอตอศาลนั้นจะสามารกระทําไดหรือไม

เฉลย
ตามปพพ.มาตรา 1237 บัญญัติไววา “นอกจากนี้ศาลอาจสั่งใหเลิกบริษัทจํากัดดวยเหตุ
ตอไปนี้ คือ
(1) ถาทําผิดในการยื่นรายงานประชุมตั้งบริษัท หรือทําผิดในการประชุมตั้งบริษัท
(2) ถาบริษัทไมเริ่มทําการภายในปหนึ่งนับแตวันจดทะเบียนหรือหยุดทําการถึงหนึ่งปเต็ม
(3) ถาการคาของบริษัททําไปก็มีแตขาดทุนอยางเดียวและไมมีทางหวังจะกลับฟนตัวได
(4) ถาจํานวนผูถือหุนลดนอยลงจนเหลือไมถึงเจ็ดคน
…………………”
ตามปญหา
เกา ชิน เคน ชาติ แครี่ สมิง และโมนิการ ไดจัดตั้งบริษัทประเทืองจํากัด ทําฟารมกุงและสง
กุงจําหนายยังตางประเทศ ปรากฏวาบริษัทดําเนินการขาดทุนมาโดยตลอด ยิ่งมาเจอสภาวะวิกฤต
ทางเศรษฐกิจ ทําใหผูถือหุนกลุมหนึ่งคิดวานาจะเลิกบริษัทจะดีกวาคือกลุมของ แครี่ สมิง และโมนิ
การ สําหรับอีกกลุมเห็นวานาจะยังสูตอไป อาจจะมีปาฏิหารยก็ไดก็คือกลุมของ เกา ชิน เคน และ
ชาติ ทั้งสองฝายหาขอยุติไมได ฝายของแครี่ซึ่งมีเพียง 3 เสียง จึงมาปรึกษาวาจะเลิกบริษัทโดย
การรองขอตอศาลนั้นสามารถทําไดหรือไม

จากกรณีดังกลาว เมื่อวิเคราะหสถานการณจากสภาพของการดําเนินการของบริษัทแลว
จะเห็นไดวาบริษัทขาดทุนมาโดยตลอดและโอกาสฟนตัวนั้นไมมีหวังจะกลับฟนได จะฟนไดก็โดย
ปาฏิหารยเทานั้น จากหลักกฎหมายมาตรา 1237 (3) นั้นใหใชสิทธิในการที่หุนสวนจะรองขอตอ
ศาลใหศาลสั่งยกเลิกบริษัทได เพราะบริษัทประเทืองจํากัดขาดทุนมาโดยตลอดและไมมีหวังที่จะ
ฟนได จึงเปนสาเหตุที่จะเลิกบริษัทได

ดังนั้น แครี่ สมิง และโมนิการ สามารถที่จะรองขอตอศาลใหศาลสั่งเลิกบริษัทประเทือง


จํากัดไดโดยพิสูจนใหศาลเห็นถึงการที่บริษัทขาดทุนมาโดยตลอด อีกทั้งยังไมมีโอกาสที่จะกลับฟน
ขึ้นมาไดแตอยางใด ตามมาตรา 1237 (3)

กฎหมายพาณิชย 4
ขอ 25
ดิเรก ธงชัย และเพื่อนรวม 7 คน ไดกอตั้งบริษัทน้ําใสจํากัดเพื่อผลิตและจําหนายน้ําดื่ม
เมื่อจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิแลว จึงจําหนายหุน กอนจําหนายหุน ดิเรก ธงชัย และเพื่อน
ไดมาปรึกษาหารือกันวาน้ําดื่มกําลังเจาะตลาดไดดีมาก จึงนาจะจําหนายหุนในราคา หุนละ 120
บาท จากราคามู ล ค า หุ น ที่ จ ดทะเบี ย นไวในราคา 100 บาท เมื่ อ จํ า หน า ยหุ น ได ค รบหมดแล ว
ปรากฏวานายสมบูรณผูเขาชื่อซื้อหุนที่จําหนายจํานวน 1,000 หุน ไดทราบความจริงวาจําหนายใน
ราคาที่สูงกวามูลคาหุนที่กําหนดไว จึงมาทวงติงดิเรกวาการจําหนายหุนในราคา 120 บาท จากที่
จดทะเบียนไวในราคามูลคาเพียง 100 บาทนั้นเปนการกระทําที่ไมถูกตอง ขอใหดําเนินการแกไข
ใหถูกตอง

อยากทราบวาการที่ดิเรก ธงชัย และเพื่อน ที่จําหนายหุนในราคา 120 บาทเปนการกระทํา


ที่สามารถกระทําไดหรือไม อยางไร

เฉลย

ต า ม ป พ พ .ม า ต ร า 1105 ว ร ร ค ส อ ง บั ญ ญั ติ ไ ว ว า
“……………………………………………….
การออกหุนในราคาที่สูงกวามูลคาหุนที่ตั้งไวนั้น หากวาหนังสือบริคณหสนธิใหอํานาจไวก็
ใหออกได และในกรณีเชนนั้นตองสงใชจํานวนที่ล้ํามูลคาพรอมกันไปกับการสงใชเงินคราวแรก
…………………………………………………”

You might also like