You are on page 1of 8

โค รงการโ รงงา นผลิตสารทำาความเย็นคุณภา พสู ง บริษั ท ส ยามเพียวแกส จำากัด

บทที่ 1
การ ประเมินอันตรายร้ายแรง

5.1 บท นำา

ความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายร้ายแรงในกระบวนการแปรสภาพคอนเดนเสทให้เป็นปิโตรเลียม
และปิโตรเคมี ของบริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำากัด ก่อให้เกิดอุบัติภัย เช่น การรั่วไหลของสาร
เคมี การเกิดไฟไหม้ หรือการระเบิดได้ตลอดเวลา การประเมินความเสี่ยงเป็นกระบวนการวิเคราะห์
ถึงปัจจัย หรือสภาพการณ์ต่างๆ ที่เป็นสาเหตุอันตรายที่มีอยู่และแอบแฝงอยู่ โดยพิจารณาถึงโอกาส
และความรุนแรงของเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น

5.2 ขอบ เข ตแ ละ วิธี กา รป ระเ มิน อั นต รา ยร้ าย แรง

การประเมินอันตรายร้ายแรงของโครงการจะแบ่งประเด็นการพิจารณาออกเป็น 2 ประเด็น
ใหญ่ๆ ตามแนวทางทีธ่ นาคารโลกกำาหนดไว้ (World Bank Technica, 1990) คือการจำาแนกอันตราย
ร้ายแรง (Hazard Identification) และการวิเคราะห์อันตรายร้ายแรง (Quantitative Analysis)

(1) การจำาแนกอันตรายร้ายแรง (Hazard Identification) จะพิจารณาเกี่ยวกับ


- แหล่งหรือตำาแหน่งที่มีศักยภาพของอันตรายสูง จะทำาให้ทราบว่ามีอันตรายหรือ
ความเสี่ยงใดบ้างในโรงงาน หรือกระบวนการผลิต เพื่อทีจ่ ะได้หาวิธีการหรือ
แนวทางการป้องกันทีเ่ หมาะสม
- ลักษณะหรือชนิดของอันตรายที่อาจเกิดขึ้น เช่น อันตรายในด้านสารเคมีเป็นพิษ
การแผ่รังสีความร้อน หรือแรงดันจากการระเบิด เป็นต้น

(2) การวิเคราะห์อันตรายร้ายแรงเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis)


- วิเคราะห์ขนาดหรือปริมาณของสารอันตรายที่ออกจากแหล่งกำาเนิด ทั้งนี้เพราะ
ปริมาณของสาร ซึ่งรั่วไหลออกจากกระบวนการผลิต จะมีผลกระทบเป็นสัดส่วน
โดยตรงต่อสภาพแวดล้อม ดังนั้นปริมาณของสารที่มีโอกาสรั่วไหลออกสู่สิ่ง
แวดล้อม จึงจำาเป็นต้องมีการวิเคราะห์สำาหรับใช้ในการประเมินความรุนแรงที่อาจ
เกิดขึ้น
- การประเมินผลกระทบต่อเนื่อง (Consequence Analysis) ของผลกระทบในพื้นที่
รอบๆ โครงการ เช่น กรณีของนำ้ามันดีเซลรั่วไหลออกสู่บรรยากาศแล้วเกิดการ
ติดไฟรังสีความร้อนจะแผ่ออกไปโดยรอบกระทบต่อคนงานหรือชุมชนรอบโรงงาน
ได้ ซึ่งระดับความรุนแรงนั้นขึ้นกับระยะทางที่ห่างจากแหล่งติดไฟ (Ignition
Source) เป็นสำาคัญ

AIR SAVE CO ., L TD 4881/EIA/CH1_SPG


โค รงการโ รงงา นผลิตสารทำาความเย็นคุณภา พสู ง บริษั ท ส ยามเพียวแกส จำากัด

(3) การเสนอมาตรการด้านความปลอดภัย (Safety Measurement)


- เสนอมาตรการด้านความปลอดภัยเพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการ
วิเคราะห์ข้างต้น
- เสนอแผนปฏิบัติการกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินในพื้นที่โครงการ และพื้นที่ใกล้
เคียง

5.3 การจ ำา แน กอ ั นต รา ยร ้า ยแร งจา กโค รงก าร (ha zar d I de nt ifi ca ti on)

การจำาแนกอัตรายร้ายแรงจากรายละเอียดของโครงการ สามารถพิจารณาได้จาก Piping and


Instrument diagrams ผังบริเวณของโครงการ (plot plan lay out) และข้อมูลการเกิดอันตรายร้าย
แรงในอดีตของโครงการและโรงงานที่มีลักษณะใกล้เคียงกันทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อนำามา
เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาจัดลำาดับควาสำาคัญของอันตรายร้ายแรง นอกจากนั้นยังสามารถ
พิจารณาโดยดูรายละเอียดในส่วนประกอบอื่นๆ คือ

(1) องด์ประกอบของสารอันตราย (hazard Component) จากข้อมูลของสารเคมีใน MSDS


และ Chemical Database-Response Information Data Sheet ดังตารางที่ 5.3-1 ซึ่ง
พบว่าสารที่มีศักยภาพในการเกิดอันตรายร้ายแรงสูงของโครงการ คือ นำ้ามันดีเซล และ
Special Solvent เนื่องจากมีเปอร์เซ็นต์ตำ่าสุดทีส่ ามารถติดไฟได้ (%LFL) และอัณหภูมิที่
ติดไฟเอง (Auto ignition Temperature) ได้ค่อนข้างตำ่ากว่าสารตัวอื่น ดังนั้นทำาให้มี
โอกาสในการติดไฟหรือระเบิดเมื่อเกิดการรั่วไหลออกสู่ภายนอกมากกว่า

(2) ปริมาณของสารที่มีศักยภาพของอันตราย (Quantity of Potential Hazard Substances)


สารอันตรายส่วนใหญ่ถ้าหากมีปริมาณน้อยจะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรง แต่ถ้ายิ่งมี
ปริมาณมากผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะรุนแรงมากขึ้น จากข้อมูลปริมาณการกักเก้บสารเคมี
ในโรงงานพบว่ามี Condensate Residue และนำ้ามันดีเซล มีการกักเก็บในปริมาณสูง
ประมาณ 20,225 ลูกบาศก์เมตร (18,202.5 ตัน) และ 17,137 ลูกบาศก์เมตร (15,080.6
ตัน) ตามลำาดับ

(3) เหตุชักนำาที่จะทำาให้เกิดความเสี่ยงภัย อาทิ สภาวะการกักเก็บที่มีอุณหภูมิ หรือความดัน


สูง หรือตำาแหน่งที่ตงั้ ของสารเคมีที่ใกล้แหล่งกำาเนิดความร้อนหรือประกายไฟ เป็นต้น
จากการพิจารณาสภาวะการทำางานและการกักเก็บ ดังตารางที่ 5.3-2 พบว่าบริเวณถัง
กักเก็บทุกใบจะมีอุณหภูมิสงู กว่าบรรยากาศทั่วไปเพื่อกักเก็บในสภาวะของเหลว แต่มี
ความดันในสภาวะบรรยากาศ ดังนั้นความเสี่ยงในบริเวณถังกักเก็บจึงมีไม่มาก เมื่อ
เทียบกับบริเวณกระบวนการผลิตที่มีอุณหภูมิและความดันสูงกว่า

จากหลักเกณฑ์การพิจารณาดังกล่าวเมื่อนำามาจำาแนกความเสี่ยงตามการจัดแบ่งพื้นที่ของ
โรงงานซึ่งมีอยู่ 6 พื้นที่ คือ

AIR SAVE CO ., L TD 4881/EIA/CH1_SPG


โค รงการโ รงงา นผลิตสารทำาความเย็นคุณภา พสู ง บริษั ท ส ยามเพียวแกส จำากัด

• พื้นที่ที่ 1 หน่วยการผลิต (PROCESS AREA) เป็นบริเวณติดตั้งเครื่องจักร/อุปกรณ์การ


ผลิตของโครงการ ได้แก่ หอกลั่น Stripper และ Heat Exchanger เป็นต้น
• พื้นที่ที่ 2 หน่วนเสริมการผลิต (UTILITY AREA) ติดตั้งอุปกรณ์เสริมการผลิต และระบบ
สาธารณูปโภค เช่น หม้อไอนำ้า (Boiler) หอหล่อเย็น (Cooling Tower) ระบบทำานำ้า
ประปา เป็นต้น
• พื้นที่ที่ 3 ลานถังเก็บกักวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ (TANK FARM AREA) เป็นพื้นที่วางถัง
กักเก็บวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วยถังกักเก็บเดิมจำานวน 17 ใบ และถังที่ติดตั้ง
เพิ่มใหม่อีก 5 ถัง
• พื้นที่ที่ 4 พื้นที่ขนถ่ายผลิตภัณฑ์ (TRUCK LOADING AREA) เป็นพื้นทีส่ ูบจ่าย
ผลิตภัณฑ์ให้แก่รถบรรทุกผลิตภัณฑ์
• พื้นที่ที่ 5 อาคารควบคุมและสำานักงาน (CONTROL BUILDING) ประกอบด้วยอาคาร
คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้นมีจำานวน 2 อาคาร ภายในอาคารมีการใช้สอยต่างๆ เช่น ส่วน
สำานักงาน ห้องควบคุมการผลิต ห้องเก็บพัสดุอุปกรณ์ และห้องแล็ป เป็นต้น
• พื้นที่ที่ 6 บ่อกักเก็บนำ้าดับเพลิงและปล่องเผาก๊าซ (FIRE WATER POT/FLARE
STACK) เป็นบ่อกักนำ้าที่ระบายมาจากระบบบำาบัดนำ้าเสียและนำ้าฝน เพื่อใช้เป็นนำ้าดับ
เพลิงสำารองบริเวณกึ่งกลางบ่อเป็นที่ตั้งของ Flare Stack ที่ใช้เผาโฮโดรคาร์บอนที่เหลือ
จากกระบวนการผลิต

พื้นที่ทั้งหกเมื่อนำามาเวิเคราะห์โดยพิจารณาจากองค์ประกอบของสารอันตราย ปริมาณของสาร
ที่มีศักยภาพของอันตราย และเหตุชักนำาที่จะทำาให้เกิดความเสี่ยงดังตารางที่ 5.3-3 พบว่า มีเพียง
บริเวณหน่วยการผลิต (Process Area) และสานถังกักเก็บวัตถุดอบและผลิตภัณฑ์ (Tank Farm
Area) เท่านั้น ที่มีความเสี่ยงในการเกิดอันตรายร้ายแรง

บริเวณกระบวนการผลิตมีการลำาเลียงวัตถุดิบภายในเส้นท่อลำาเลียงผ่านใน Vessel ต่างๆ เข้า


สู่ Reactor คือ หอกลั่น (Crude Fractionator ;T-101) เพื่อแยกไฮโดรคาร์บอนแต่ละชนิดออกจากกัน
โดยอาศัยความแตกต่างของจุดเดือด เช่นเดียวกับกระบวนการผลิตส่วนขยาย คือ Specialty
Column (T-104x) ที่ติดตั้งเพื่อให้สามารถกลั่นผลิตภณฑ์ที่เป็นสารละลายเบาได้ในช่วงจุดเดือดที่
กว้างขึ้น ณ ความดันบรรยากาศ การจำาแนกอันตรายร้ายแรงบริเณกระบวนการผลิตทั้งส่วนปัจจุบัน
และส่วนขยายเพิ่มเติม (ตารางที่ 5.3-4 และตารางที่ 5.3-5) พบว่าจุดที่มีอันตรายร้ายแรงของ
กระบวนการผลิตปัจจุบัน คือ บริเวณหอกลั่น (Crude Fractionator ; T-101) เนื่องจากอาจเกิดการรั่ว
ไหลของ Vapor ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนำ้ามันดีเซลและแนฟธา มีลักษณะเป็นของเหลว (Liquid) ร้อยละ 10
และไอหรือก๊าซ (Vapor หรือ Gasous) ร้อยละ 90 โดยนำ้าหนัก เมื่อเกิดการรั่วไหลจึงออกมาในรูป
ของไอหรือก๊าซมากกว่า

ส่วนกระบวนการผลิตส่วนขยายบริเวณที่มีอันตรายร้ายแรง คือ Specialry Column (T-104x)


ที่ทำาหน้าที่เป็นหอกลั่น ทำาการกลั่นไฮโดรคาร์บอนที่ความดันบรรยากาศ ทำาให้ได้ผลิตภัณฑ์ คือ
Rubber Solvent กับแนฟธา หรือ Special Solvent กับแนฟธา แล้วแต่กำาหนดโหมดการผลิต ภายใน
AIR SAVE CO ., L TD 4881/EIA/CH1_SPG
โค รงการโ รงงา นผลิตสารทำาความเย็นคุณภา พสู ง บริษั ท ส ยามเพียวแกส จำากัด

หอกลั่นไฮโดรคาร์บอนจะอยู่ในรูปของของเหลว (Liquid) และไอ หรือก๊าซ (Vapor หรือ Gasous)


เช่นเดียวกับ T-101 แต่มีเปอร์เซ็นต์ของไอหรือก๊าซมากกว่า กรณีทเี่ กิดการรั่วไหลสารเคมีจึงออกมา
ในรูปของไอ หรือ ก๊าซมากกว่าเช่นกัน

การสรุปสาเหตุข้อผิดพลาด และสาเหตุที่น่าจะเกิดและผลที่ตามมาในบริเวณลานถัง หอกลั่น


(Crude Fractionator; T-101) และ Specialty Tower (T-104x) โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ HAZOP
(Hazard and Operability Analysis) แสดงดังภาคผนวก ช

5.4 การ วิ เค รา ะห ์อั นต รา ย (ha zar d An al ys is)

โดยทั่วไปเมื่อสารเคมีรั่วไหลจากระบบเก็บกักหรือกระบวนการผลิต สถานะของสารที่ออกสู่
บรรยากาศอาจเปลี่ยนไป ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขความดันและอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ดังรูปที่ 5.4-1 เป็นต้น
ว่า กรณีของก๊าซทีเ่ ก็บกักในรูปของก๊าซหรือของเหลวภายใต้ความดันสูง เมื่อรั่วไหลออกสู่
บรรยากาศจะกลายเป็นก๊าซ หรือกรณ๊ของเหลวเมื่ออยู่ในกระบวนการผลิตที่อุณหภูมิสูงมากกว่า
จุดเดือด เมื่อรั่วไหลออกสู่บรรยากาศก็จะกลายเป้นไอกระจายออกไป เช่นเดียวกับสารที่เป็นก๊าซ
ทั่วไป

ในกรณีของโครงการขยายกำาลังการผลิตกระบวนการแปรสภาพคอนเดนเสทให้เป็นปิโตรเลียม
และปิโตรเคมี จะมีความเสี่ยงเช่นเดียวกับโรงงานปิโตรเคมีอื่นๆ แต่จะมีอันตราย/เสียหายจากการ
เกิดไฟไหม้มากกว่าการระเบิดเนื่องจากความดันภานในกระบวนการผลิตอยู่ภายใต้ความดัน
บรรยากาศ เมื่อสารเคมีไวไฟรั่วไหลออกสู่บรรยากาศ จะมีการกระจายตัวที่ช้า กรณีที่เกิดการติดไฟ
ทันที (Immediate Ignition) จะมีลักษณะการติดไฟเป็นวงกว้าง (Pool Fire) แต่กรณีที่ไม่ติดไฟใน
ทันที (Delayed Ignition) จะมีการระเหจของไดในลักษณะกลุ่มควัน (Dense Cloud) เกิดขึ้นเนื่องจาก
นำ้ามันหนักว่าอากาศ ลอยไปตามทิศทางใต้ลม (Down Wind) และเมื่อความเข้มข้นของกลุ่มควันถึง
เปอร์เซ็นต์ตำ่าสุดของการติดไฟ (LFL) แล้วเจอแหล่งกำาเนิดประกายไฟ (Ignition Source) จะทำาให้
เกิดการติดไฟของกลุ่มควันในลักษณะ Fireball/BLEVE หรืออาจเกิดการระเบิด (unconfined Vapor
Cloud Explosion, UVCE) ย้อนกลับมายังแหล่งกำาเนิด แต่ถ้าไม่มีแหล่งกำาเนิดประกายไฟกลุ่มควัน
จะลอยไปทำาให้เกิดผลกระทบในลักษณะความเป็นพิษ (Toxicity) ต่อสุขภาพอนามัย ดังนั้นการ
ประเมินอันตรายร้ายแรงจึงแบ่งลักษณะของอันตรายออกเป็น 3 ส่วน คือ

1) อันตรายจากความเป็นพิษของสารอันตราย (Toxicity) เพื่อหาระยะทางที่ได้รับผลกระทบ


กรณีที่ไอของนำ้ามันลอยไปในลักษณะกลุ่มควัน (Dense Cloud) โดยไม่เกิดการติดไฟถึงระ
ดับความเช้มข้น IDLH (Immediately Dangerous to Life and Health) ซึ่งเป็นระดับทีเ่ ป็น
อันตรายต่อสุขภาพ
2) อันตรายจากการแผ่รังสีความร้อน (Heat Radiation) เพื่อหาระยะทางที่ได้รับผลกระทบจาก
รังสีความร้อน กร๊ที่เกิดการรั่วไหลแล้วติดไฟ ทั้งกรณีที่ติดไฟทันที่ (Immediate Ignition)

AIR SAVE CO ., L TD 4881/EIA/CH1_SPG


โค รงการโ รงงา นผลิตสารทำาความเย็นคุณภา พสู ง บริษั ท ส ยามเพียวแกส จำากัด

กละกรณีที่ทิ้งช่วง (Delayed Ignition) หลังจากเกิดกลุ่มควันแล้วลอยไปติดไฟย้อนกลับ โดย


จะพิจารณาระดับพลังงานความร้อนต่อพื้นที่ในระดับต่างๆ กันดังตารางที่ 5.4-1
3) อันตรายจากแรงดัน กรณีเกิดการระเบิดของของ UVCE ซึ่งล่อยอยู่ในบรรยากาศจนกระทั่ง
ติดไฟที่ระยะทางของระดับความเข้มข้น LFL โดยที่ระดับความรุนแรงจะพิจารณาแตกต่าง
กัน 4 ระดับของความดันด้วยกัน คือ
- 10% Glass Damage (0.02 บาร์)
- Major Glass Damage (0.03 บาร์)
- Repairable Damage (0.10 บาร์)
- Plant Damage (0.30 บาร์)

ตาร างท ี่ 5.4- 1 ผลก ระท บจา กร ะด ับ พล ังงา นค วาม ร้ อน ที่ มี ต่อท รั พย ์สิน แล ะ
มน ุษย ์

ระดับพลังงาน ประเภทของความเสียหาย
2
ความร้อน (kW/m ) ผลกระทบต่ออุปกรณ์ทรัพย์สิน ผลกระทบต่อมนุษย์
- 37.5 - ทำาลายอุปกรณ์ในกระบวนการผลิต - 100% เสียชีวิตภายใน 1 นาที และ
1% เสียชีวิตภายใน 10 วินาที
- 25.0 - ระดับพลังงานตำ่าสุดที่ไม้ติดไฟโดยไม่ - 100% เสียชีวิตภายใน 1 นาที และ
มีเปลวไฟ บาดเจ็บสาหัสภายใน 10 วินาที
- 12.5 - ระดับพลังงานตำ่าสุดที่ไม้ติดไฟด้วย - 1% เสียชีวิตภายใน 1 นาที และ
เปลวไฟและท่อพลาสติกละลาย ผิวหนังไม้ภายใน 10 วินาที
- 4.0 - - รู้สึกแสบผิวหนังถ้าอยู่นานกว่า 20
วินาที แต่ไม่ทำาให้พุพอง

5.4. 1 ลาน ถั งกั กเ ก็บ วั ตถ ุด ิบ (T an k Far m Are a)

การรั่วไหลของสารอันตรายบริเวณถังกักเก็บจะพิจารณาอันตรายกรณีของถังนำ้ามันดีเซล
(TK-201, TK-203, TK210) ซึ่งเป็นสารไวไฟที่มีปริมาณถังเก็บมากทีส่ ุดเกิดการรั่วไหลออกสู่
ภายนอก โดยพจารณาตำาแหน่งที่เป็นจุดอ่อนของระบบท่อลำาเลียง เช่น ข้อต่อ หน้าแปลน วาล์ว
ควบคุมการไหล หรือ ปั๊มส์แรงดัน ซึ่งอาจชำารุด ทำาให้สารในระบบนัว่ ไหลออกมา โดยคิดในกรณีที่
เกิดการรั่วไหล 20 เปอร์เซ็นต์ และ 100 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่านศูนย์กลางท่อลำาเลียงเป็นหลัก (8
นิ้ว) ภายหลังจากการรั่วไหล นำ้ามันซึ่งกักเก้บอยู่ในสภาวะของเหลวจะไหลนองอยู่ภายใน Dike ถ้ามี
แหล่งกำาเนิดประกายไฟ (ignition Source) จะเกิดการติดไฟทันทีในลักษณะ Pool Fire แต่ถ้าไม่มี
การติดไฟทันที ไอของนำ้ามันที่ระเหยเป็นกลุ่มควันจะมีความเข้มข้นเพิ่มขึ้นจนถึงเปอร์เซ็นต์ตำ่าสุด
ของการติดไฟ (LFL) แล้วถ้ามีประกายไฟจะทำาให้เกิดการระเบิดของ UVCE แต่ถ้าไม่มีกาคคิดไฟ
หรือระเบิดของกลุ่มควันดังกล่าวจะทำาให้เกิดผลกระทบในลักษณะความเป็นพิษ (ดูตารางที่ 5.4-2)
AIR SAVE CO ., L TD 4881/EIA/CH1_SPG
โค รงการโ รงงา นผลิตสารทำาความเย็นคุณภา พสู ง บริษั ท ส ยามเพียวแกส จำากัด

ตา รา งที่ 5. 4-2 สรุก ลั กษณะ กา รร ั่ วไ หลจ าก บร ิเ วณ ถัง กัก เก็ บบ ริ เว ณจุด เช ื่ อม ต่อ
(Co nn ect in g T oo l) ของถ ังก ับ ระ บา ยท่ อล ำาเ ลี ยง

เปอร์เซ็นต์การรั่วไหล สารเคมี การติดไฟ เหตุการณ์ทจ่ ะเกิดขึ้น


20% ของเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ นำ้ามันดีเซล - ทันทีท่ ันใด - Pool Fire
ลำาเลียงขนาด 8 นิ้ว - ทิ้งช่วง - Vapor Clould Explosion
- ไม่ติดไฟ - Toxi
100% ของเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ นำ้ามันดีเซล - ทันทีท่ ันใด - Pool Fire
ลำาเลียงขนาด 8 นิ้ว - ทิ้งช่วง - Vapor Clould Explosion
- ไม่ติดไฟ - Toxi

5.4. 2 กระ บว นก ารผ ลิ ตปัจจุ บั น

ภายในหอกลั่น (Crude Fractionator; T-101) ทีม่ ีการกลั่นแยกตามลำาดับส่วน กรณีที่เกิด


overpressure วาล์วควบคุมความดันจะทำางาน เพื่อระบายสารเข้าสู่ระบบเผาไหม้ (Flare) โดยตรง
เพื่อไม่ให้เกิดอันตราย ดังนั้นการประเมินอันตรายร้ายแรง จะใช้สมมุติฐาน กรณีที่เกิดการแตกหัก
ของระบบท่อลำาเลียงที่ต่อจากหอกลั่น โดยคิดในกรรีที่เกิดการรั่วไหล 20 เปอร์เซ็นต์และ 100
เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลำาเลียง (10 นิ้ว) ไอของสารที่อยู่ในกระบวนการผลิตที่มีอุณหภูมิ
สูงกว่าจุดเดือด เมื่อรั่วไหลออกสู่บรรยากาศก็จะกระจายออกไป กรณีที่มีแหล่งกำาเนิดประกายไฟ
(Ignition Source) ก็จะทำาให้เกิดการติดไฟในลักษณะ Fireball/BLEVE แต่ถ้าไม่ติดไฟไอของสารจะ
กระจายในลักษณะกลุ่มควัน (Dense Cloud) ลอยไปตามทิศทางลม ทำาให้เกิดอันตรายในด้านความ
เป็นพิษถ้าไม่มีประกายไฟในระยะทางที่กลุ่มควันลอยไป แต่ถ้ามีประกายไฟในระยะทางดังกล่าวก็จะ
ทำาให้เกิดการติดไฟและระเบิด (Blast Effect) ในลักษณะ UVCE (ตารางที่ 5.4-3)

ตาร างท ี่ 5.4- 3 สรุป ลั กษณะ กา รร ั่ วไ หลจ าก หอ กล ั่ น (Cru de Frac ti on at or; T-


101)

เปอร์เซ็นต์การรั่วไหล สารเคมี การติดไฟ เหตุการณ์ท่จะเกิดขึ้น


20% ของเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ ไอของนำ้ามันดีเซล - ทันทีท่ ันใด - Pool Fire
ลำาเลียงขนาด 10 นิ้ว - ทิ้งช่วง - Vapor Clould Explosion
- ไม่ติดไฟ - Toxi
100% ของเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ ไอของนำ้ามันดีเซล - ทันทีท่ ันใด - Pool Fire
ลำาเลียงขนาด 10 นิ้ว - ทิ้งช่วง - Vapor Clould Explosion
AIR SAVE CO ., L TD 4881/EIA/CH1_SPG
โค รงการโ รงงา นผลิตสารทำาความเย็นคุณภา พสู ง บริษั ท ส ยามเพียวแกส จำากัด

- ไม่ติดไฟ - Toxi

5.4. 3 กระ บว นก ารผ ลิ ตส่ วน ขย าย

จะมีลักษณะคล้ายกับกระบวนการผลิตปัจจุบัน คือ คิดกรณีทเี่ กิดการแตกหักของระบบท่อ


ลำาเลียงขนาด 20 เปอร์เซ็นต์และ 100 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางท่อขนาด 3 นิ้ว ในลักษณะไอ
ของ Special Solvent กรณีที่มีแหล่งประกายไฟ (Ignition Source) ของเหลวจะติดไฟในลักษณะของ
Fireball/BLEVE แต่ถ้าไม่มีประกายไฟแล้วมีการรั่วไหลอย่างต่อเนื่อง กลุ่มควันของไอ Solvent จพมี
ความเข้มข้นเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนถึงเปอร์เซ็นต์ตำ่าสุดของการติดไฟ (LFL) ทำาให้เกิดการระเบิดของ
UVCE หรือถ้าไม่มีการติดไฟหรือระเบิดกลุ่มควันก็จะทำาให้เกิดผลกระทบทางด้านความเป็นพิษต่อ
สุขภาพ (ดูตารางที่ 5.4-4)

5.5 การ วิ เค รา ะห ์อั นต รา ยร้ าย แรงเ ชิงป ริ มา ณ (Q ua nt it ati ve Ana ly si s)

5.5. 1 อัน ตร าย จา กค วา มเป็ นพ ิษ ของส าร อั นต รา ย (To xi cit y)

กรณีทเี่ กิดการรัว่ ไหลของสารอันตรายออกสูบ่ รรยากาศแล้วไม่เกิดการติดไฟ ไอดของารเคมีจะ


กระจายตัวในลักษณะกลุม่ ควันลอยไปตามทิศทางลม ความเข้มข้นของสารเคมีดงั กล่าวจะเจือจางตาม
ระยะทางและภายในระยะเวลา 1 ชัว่ โมงทีส่ ารเคมีเกิดการัว่ ไหลอย่างต่อเนือ่ ง จากการประเมินด้วย
โปรแกรมคณิตศาสตร์ ALOHA  5.2.3 ของ US.EPA จะพบว่าระยะทางที่ได้รับผลกระทบจาก
ความเป็นพิษของสารเคมี ที่ระดับความเข้มข้นที่มีอันตรายต่อสุขภาพ IDLH (Immediately
Dangerous to Life and Health) กรณีทเี่ กิดการรั่วไหลของนำ้ามันดีเซลที่รูรั่วของถังกักเก็บ (TK-201)
20 เปอร์เซ็นต์ และ 100 เปอร์เซ็นต์ของรูรั่ว (∅ 8 นิ้ว) ระยะทางทีจ่ ะได้รับผลกระทบจะเท่ากับ 130
และ 638 เมตรตามลำาดับดังตารางที่ 5.5-1 (ดูรูปที่ 5.5-1 และรูปที่ 5.5-2 ประกอบ)

ส่วนบริเวณกระบวนการผลิตปัจจุบันกรณีที่เกิดการรั่วไหลของสารเคมีซึ่งส่วนใหญ่เป็นไอ
ของนำ้ามันดีเซลบริเวณท่อลำาเลียงของหอกลั่น (T-101) ขนาด 10 นิ้ว 20 เปอร์เซ็นต์และ 100
เปอร์เซ็นต์ ของเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ จะทำาให้เกิดกลุ่มควันที่เป็นพิษลอยไปตามทิศทางลมถึงระดับ
ความเข้มข้น IDLH ที่ระยะทาง 91 และ 750 เมตรตามลำาดับ (ดูรูปที่ 5.5-3 และรูปที่ 5.5-4 ประกอบ)

สำาหรับบริเวณ Specialty Tower (T-104x) ของส่วนขยายกรณีที่เกิดการรั่วไหล 20


เปอร์เซ็นต์และ 100 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลำาเลียง (∅ 3 นิ้ว) ซึ่งเป็นไอของ Solvent
จะทำาให้เกิดผลกระทบเนื่องจากความเป็นพิษของสารเคมีที่ระยะทาง 21 และ 196 เมตรตามลำาดับ
ตามทิศทางลม (ดูรูปที่ 5.5-5 และรูปที่ 5.5-6 ประกอบ)

5.5. 2 อัน ตร าย จา กก าร รั ่ว ไห ลข อง ก๊า ซ


AIR SAVE CO ., L TD 4881/EIA/CH1_SPG
โค รงการโ รงงา นผลิตสารทำาความเย็นคุณภา พสู ง บริษั ท ส ยามเพียวแกส จำากัด

1) การพิจารณาขนาดรูรวั่ ก๊าซทีพ่ จิ ารณาคือ การรัว่ ไหลเป็นก๊าซของสารโพรเพน ซึง่ เป็น


องค์ประกอบสำาคัญในก๊าซแอลพีจี โดยจะพิจารณาการรัว่ ไหลในบริเวณเครือ่ งอัดอากาศ ถังเก็บก๊าซ
และบริเวณตูจ้ า่ ยก๊าซ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเกิดขึน้ ทีก่ ารเชือ่ มต่อระหว่างท่อด้วยกัน หรือท่อกับชิน้ ส่วน
เครือ่ งจักรกลอืน่ ๆ เข่น ปัม๊ และเป็นอุปกรณ์สว่ นใหญ่ทมี่ กี า๊ ซพร้อมจะรัว่ ออกสูบ่ รรยากาศ และเป็น
บริเวณทีม่ ขี นาดค่อนข้างเล็ก ดังนัน้ การพิจารณาขนาดรูรวั่ จึงพิจารณาทีเ่ กิดการแตกหักทีร่ อ้ ยละ 20
และร้อยละ 100 ของเส้นผ่าศูนย์กลาง ดังนี้

- การรัว่ ทีเ่ ครือ่ งอัดความดันก๊าซ โอกาสทีเ่ กิดขึน้ บริเวณข้อต่อ เมือ่ มีความดันสูงขึน้ เกิน
กว่ากำาหนดมาก จนทำาให้เกิดการรัว่ ไหลของก๊าซโพรเพนออกมา ซึง่ เส้นผ่าศูนย์กลางของข้อต่อมีขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลาง...........นิว้
- การรัว่ ทีถ่ งั เก็บก๊าซ บริเวณทีม่ โี อกาสรัว่ ไหลของก๊าซได้แก่บริเวณอุปกรณ์ประกอบหัว
ถัง ซึง่ เป็นลิน้ ประตูเปิดปิดก๊าซ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของวาล์ว............นิว้
- การรัว่ บริเวณตูจ้ า่ ยก๊าซ การรัว่ ไหลเกิดจากการชำารุดเสียหายหรือตามสภาพการใช้
งานอืน่ ของสายจ่ายก๊าซ ทำาให้เกิดการรัว่ ไหลของก๊าซ โดยสายจ่ายก๊าซมีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง..........นิว้

สำาหรับค่าที่นำาไปใช้จะพิจารณาขนาดรูรวั่ จึงพิจารณาทีเ่ กิดการแตกหักทีร่ อ้ ยละ 20 และ


ร้อยละ 100 ของเส้นผ่าศูนย์กลาง ดังตารางที่ 5.5.2-1

ตา รา งที่ 5. 5.2 -1 ค่ าที ่น ำา ไปใ ช้เ มื ่อเ กิ ดก าร รั ่ว ไห ลข องก ๊า ซ

เส้น ผ่ า ค่า ที่ นำาไป ใช ้ (ตร. นิ ้ว ) ที่ร ้อ ยล ะก าร


บร ิเว ณร ั่ วไ หล ศูน ย์ กล าง แต กห ัก
(นิ้ ว) ร้อ ยล ะ 20 ร้ อย ละ 100
ข้อต่อที่บริเวณเครื่องอัด
ความดันก๊าซ
วาล์วปิดเปิดที่ถังเก็บก๊าซ
สายจ่ายก๊าซบริเวณตู้จ่าย
ก๊าซ

AIR SAVE CO ., L TD 4881/EIA/CH1_SPG

You might also like