You are on page 1of 8

แกะเทป : มิค 245 , เจตน 254

สอนโดย ผศ.ดร.พวงรัตน ภักดีโชติ


Proof : เดียว 261
7 พ.ย. 2551

<<Microcirculation>>
ถาพูดถึงคําวา microcirculation ตองนึกใหไดวา เปนการไหลเวียนของเลือดผานหลอดเลือดที่มีเสนผาน
ศูนยกลางนอยกวา 100 μm(micron) ซึ่งไดแกพวก arteriole สวนปลาย(metarterioles) , arterioles ,
capillaries ,venules
ถึงแมจะเปนสวนที่เล็กๆ แตก็มีความสําคัญ เพราะวา 5% ของ Cardiac output ในรางกาย จะไหลผาน
microcirculation เพราะวา เปนสวนที่มีการแลกเปลี่ยน ไมวา เลือดจากหัวใจ จะไป aorta ไป pulmonary ไป
arterioleแตวา function ของมันก็อยูที่ capillaries เพราะวามันทําหนาที่ เปนตัวขนสง O2 , อาหาร ใหกับเนื้อเยื่อได
โดยผานทาง capillaries นี่แหละ ..... นอกจากนี้ มันยังเอาสาร metabolite ที่เกิดจากการทํางานของเนื้อเยื่อ กลับเขาสู
ระบบการไหลเวียนเลือด (อันนี้เปนหนาที่หลัก)
จากรูป เปนหลอดเลือด arteriole ซึ่งจะตอกับ capillary แตวา
กอนที่จะถึง capillary เนี่ย จะมี precapillary sphincters ซึ่งหูรูด
อันนี้ มันจะตอบสนองตอสาร mediator ตางๆ เชน Epinephrine ,
Norepinephrine ควบคุมการปด-เปด ของหูรูดอันนี้ แลวก็ระบบการไหล
ของเลือดที่อยูใน capillary
ในภาวะฉุกเฉิน เราไมอยากใหเลือดเขาสู capillary มากๆ หูรูดก็จะหดตัว
ผาน arteriole ผาน capillary ไปยัง vein โดยชองทางพิเศษ เราเรียกวา
?????? <นาจะ AV shunt นะ>(อาจารยพูดรัวมากๆครับ)

ที่นี้ จะพูดถึงเฉพาะ capillary ก็คือหลอดเลือดฝอย มีขนาดเล็กมาก เสนผานศูนยกลาง บางตําราบอกวาอยูที่ 5 μm


บางตําราบอกวา 4-9 μm สวน cell เม็ดเลือดแดงมี เสนผานศูนยกลางประมาณ 5-7 μm ซึ่งพอๆกับหลอดเลือดฝอย หรือ
อาจจะมากกวา แตเม็ดเลือดแดงมันมีความสามารถพิเศษ ในการเปลี่ยนรูปราง เพื่อที่จะใหผานไปได
หลอดเลือดฝอย มันประกอบดวย cell แค 2 ชั้น คือ ชั้น endothelium กับชั้น basement membrane
ของมัน ซึ่งบางมาก ระหวางรอยตอของ endothelium มันจะมีชองทางพิเศษ ที่เราเรียกวา เปน intercellular space
เพราะฉะนั้น การแลกเปลี่ยนสารอาหาร ระหวางหลอดเลือดฝอย กับเนื้อเยื่อ ก็จะอยูตรง intercellular space นี่แหละ (ใน
กรณีที่เปนน้ํา หรือสารที่ไมละลายในไขมัน ก็จะมาทางนี้)
ทีนี้มาดูชนิดของหลอดเลือดฝอย ซึ่งมีอยู 3 ชนิด
1. continuous capillary ก็คือ ตอเนื่องกันไป แสดงวา cell ใช endothelium ติดกันตอเนื่องกันไป ชอง
intercellular space ก็จะแคบและนอย จะพบที่สมอง (เปน blood brain barrier) แลวก็ CNT ทั่วไป
2. fenestrated capillary ชอง intercellular space จะกวางขึ้น มันจึงยอมใหสารน้ําผานไป พบที่ ไต
และระบบทางเดินอาหาร (ตอมไรทอดวย)
3. discontinuous(sinusoidal) capillary จะเห็นวา cell ชั้น endothelium มันหางกันมาก
เพราะฉะนั้น สารโมเลกุลใหญๆ อยางพวก โปรตีน ก็จะผานชองทางนี้ได จะพบที่ ตับ มาม และไขกระดูก

การแลกเปลี่ยนสาร เปนไปได 3 แบบดวยกัน ก็คือ


1. Transcytosis จะเปนการแลกเปลี่ยนสารที่มีโมเลกุลใหญๆ มีตัวพา อยางเชนโปรตีน เกิดนอย ....
2. Diffusion จะแพรตาม concentration gradient จากความเขมขนมาก ไปความเขมขนนอย แลวก็ไป
ในทุกทิศทาง ก็พวก O2 , CO2 , สารใดๆก็ตามที่ละลายในไขมัน แบบนี้ เกิดเยอะ......
3. Bulk flow เปนการเคลื่อนที่ของน้ําไปทีละเยอะๆ สวนมากจะเจอในเนื้อเยื่อที่มีคุณลักษะพิเศษ เชนที่ ไต ,
ระบบทางเดินอาหาร

คําวา interstitium เปนเนื้อเยื่อที่อยูระหวาง cell (1 ใน 6 ของเนื้อเยื่อในรางกาย) สวนน้ําที่อยูใน


interstitium เราเรียกวา interstitial fluid ซึ่งจะเห็นวา มีคุณสมบัติ 2 อยาง คือ มี
1. collagen fiber เปนตัวกําหนดความแข็งแรงของเนื้อเยื่อ
2. proteoglycan filament (มองไมเห็นทั้งตาเปลาและกลองจุลทรรศน) ประกอบดวย protein และ
hyaluronic acid ซึ่งเจา proteoglycan มันเปนตัวจับน้ําที่อยูใน interstitial fluid ใหอยูกับ
มัน เพราะฉะนั้น การเคลื่อนที่ของน้ํา ไป-มา ก็จะทําไดยาก เนื่องจากวา proteoglycan มันจับไว(จะมี free
fluid ประมาณ 1% ที่ไมถูกจับดวย proteoglycan)
สรุป
microcirculation ตองนึกใหไดวา เปนการไหลเวียนของเลือดผานหลอดเลือดที่มีเสนผานศูนยกลางนอยกวา 100
μm ตัวที่ทําหนาสําคัญก็คือ capillary เพราะมันมีคุณสมบัติพิเศษ ก็คือ หลอดเลือดมีขนาดบาง ประกอบดวย
endothelium และ basement membrane สวน endothelium ก็มีอยู 3 ชนิดดวยกัน ขึ้นอยูกับแตละอวัยวะ
(continuous , fenestrated , discontinuous) หนาที่ของมันก็คือการแลกเปลี่ยนเหมือนกัน การแลกเปลี่ยนก็จะมี
3 ชนิด (Transcytosis , Diffusion , Bulk flow) สวนใหญจะเปน Diffusion แลวก็ interstitium เปน
เนื้อเยื่อที่อยูระหวาง cell สวนน้ําที่อยูใน interstitium เราเรียกวา interstitial fluid ใน interstitium มี
องคประกอบสําคัญคือ collagen fiber กับ proteoglycan filament ซึ่ง proteoglycan เปนตัวจับน้ํา

Starling force (คนที่เสนอ กฎของ Starling ก็คือ Starling นะ .... -*-)

Fluid movement= K [(Pc + πi) - (Pi + πc)]


K = Capillary filtration coefficient (คือสัมประสิทธิ์ของการกรอง)

ขึ้นอยูกับแรง 4 ตัวดวยกัน
Pc = Capillary hydrostatic pressure
=> ตัวนี้จะมีคาไมเทากันในแตละอวัยวะ ขึ้นอยูกับความดันเลือดในรางกาย ,ความดันในหลอดเลือดแดง ,ความดันในหลอด
เลือดดํา แลวก็ความตานทานของ precapillary sphincters และยังขึ้นกับการหดหรือการขยายตัวของหลอดเลือดดํา (คา
อยูประมาณ 25-32 อยูในชวงนี้) มีทิศทาง ดันน้ําออกนอกหลอดเลือด
Pi = Interstitial hydrostatic pressure
=> เปนแรงดันน้ําที่อยูในชองวางระหวางเซลล ซึ่งมีคาต่ํา เปน – หรือ +ก็ได ถาเปน + มันจะดันน้ําเขาหลอดเลือด โดยอาจารย
บอกวา มีแคบางที่ที่มีคาเปน - คือ ที่ subcutaneous แตจะมีคาเปน + ที่ตับ ไต สมอง อาจสูงถึง 6 mmHg
πc = Capillary colloid osmotic pressure
=> เปนแรงดันที่เกิดจาก protein ใน plasma (ในหลอดเลือดฝอย) ที่สําคัญก็คือ albumin มีทิศทาง ดึงน้ําเขาหลอด
เลือด
πi = Interstitial colloid osmotic pressure
=> เปนแรงดันที่เกิดจาก protein ที่อยูใน ชองวางระหวางเซลล ซึ่งปกติ protein ในนี้จะพบนอย

จากรูป ทอตรงกลางคือหลอดเลือดฝอย จะเห็นวา ชวงตนๆ จะเกิดการกรองมากกวา ชวงปลายๆจะดูดกลับมากกวา


เมื่อแทนคาใน Starling force แลว จะได
สวน arteriole ตอกับ capillary จะได ((37-1) -25) = 11 mmHg คือน้ํามีทิศทางออกนอกหลอดเลือด(เกิดการ
กรองนั่นเอง)(แทนในสมการอะนะ)
แตชวงที่ capillary ตอกับ venule จะได (25-(17-1)) = 9 mmHg คือเกิดการดูดกลับ
จะเห็นวาโดยทั่วไปจะมีน้ําอยูใน interstitial space น้ําพวกนี้ไปไหน ทําไมไมเกิดการบวม ?
.... ก็เพราะเรามี lymphatic system (ระบบน้ําเหลือง) ที่มาชวยเอาน้ําพวกนี้กลับไป

ระบบน้ําเหลือง เราจะเจอไดทั่วรางกาย แตมีบางอวัยวะที่ไมเจอ แตจะมีสวนที่เรียกวา prelymphatic ไดแกบริเวณ


ผิวหนัง ระบบประสาทสวนกลาง(CNS) และเยื่อหุมใยกลามเนื้อ กระดูก .... น้ําเหลืองจะมารวมที่ thoracic duct และไหล
กลับเขาสูหลอดเลือดดําที่ subclavian v. ทอน้ําเหลืองจะมีคุณสมบัติพิเศษ คือเวลาที่มีโปรตีน หรือ น้ําหลุดลอดออกมา มัน
จะเปนตัวนํากลับเขาสูระบบไหลเวียนโลหิตใหม ทําใหรางกายไมเกิดการบวม ไมเกิดการคั่งของน้ําในชองวางระหวางเซลล

อัตราการไหลของน้ําเหลืองขึ้นอยูกับ 2 สวนดวยกัน คือ


1. Interstitial fluid pressure (แรงดันน้ําที่อยูในชองวางระหวางเซลล) ถามีน้ําในชองวางระหวางเซลลมาก
ขึ้น การไหลของน้ําเหลืองก็จะเร็วขึ้น เพื่อที่จะเอาน้ําออกไป

จากกราฟ จะเห็นวาถาแรงดันน้ําที่อยูในชองวางระหวางเซลลมีคาเปน 0 การไหลของน้ําเหลืองก็จะเพิ่มขึ้นเยอะมาก จะเห็นวา มีคา


เปนลบดวย ดังที่ไดกลาวไปแลว
สรุป คือ อัตราการไหลของน้ําเหลืองจะเพิ่มขึ้น ตามแรงดันน้ําในชองวางระหวางเซลล

2. Lymphatic pump (การปมของทอน้ําเหลือง) ถามีน้ําหรือโปรตีน เขามาในทอน้ําเหลืองมากๆ มันก็จะขยายทอ


น้ําเหลือง ซึ่งจะทําใหเกิดการหดตัวของทอน้ําเหลืองกลับ นอกจากนี้ การเดิน หรือการออกกําลังกาย ก็จะทําใหการไหล
ของทอน้ําเหลืองดีขึ้น มากกวาในชวงพัก
Edema (การบวม) ทาง clinic จะแบงเปน
pitting edema(กดบุม) กับ non-pitting edema(กดไมบุม)
แตในทางสรีรวิทยาจะแบงเปน
1. Intracellular edema คือ บวมภายในเซลล น้ําจะเขาไปภายในเซลลไดในกรณีที่ ภายในเซลลขาด สารอาหาร หรือ
Na+ ไมสามารถถูกสงออกนอกเซลลได เนื่องจากขาดสารอาหาร ขาดพลังงาน
2. Extracellular edema คือ ที่เราเจอในclinic มีน้ําอยูในชองวางระหวางเซลลเยอะ(รายละเอียด อาจารยใหไปอาน
ในชีท -*-)
อีกคําที่ตองรูก็คือ edema safety factors ก็คือเปนปจจัยที่ไมทําใหเกิดการบวม คือน้ําในชองวางระหวางเซลลมีคาไม
เกิน 15-17 mmHg คือถาเกินกวานี้ จะเกิดการบวมได
>>> เอามาจากในสไลดนะ
Edema will happen when net filtration pressure is 15-17 mmHg
or more because of edema safety factors
1. Lymphatic function
2. πi decreased (เนื่องจากมีน้ําไปอยูในชองวางระหวางเซลลมากๆ ทําใหโปรตีนในชองวางระหวางเซลลถูกเจือจาง ทําให
oncotic pressure ลดลง)
3. Pi increased (คือแรงดันน้ําที่อยูในชองวางระหวางเซลลเพิ่มขึ้น)

สรุป ที่อาจารยบอกวาตองรูของ microcirculation ก็คือ Starling force และ ปจจัยที่ทําใหเกิดการบวม ^ ^

<<Regional Circulation>>
เปนการไหลเวียนในอวัยวะตางๆ ในที่นี้ขอพูดถึง การไหลเวียนโลหิตของสมอง หัวใจ ชองทอง และผิวหนัง เพราะ
ระบบอื่นๆ เราจะไดเรียนในลําดับตอไป
Cardiac Output คือ เลือดที่ไหนออกจากหัวใจใน 1 นาที มีคาประมาณ 5 ลิตร
= stroke volume x heart rate (คนเรา stroke volume โดยทั่วไป ครั้งหนึ่ง
ประมาณ 70 ml สวน heart rate ประมาณ 72 ครั้ง/นาที คูณกันก็ไดประมาณ 5 ลิตร)
Cardiac output ที่ออกมานี้ ก็คือ ในหนึ่งครั้งของการบีบตัวของหัวใจ จะพบวาเลือดที่ออกมาจะไหลไปที่ไตมาก
ที่สุดประมาณ 420 ml ตอ 100 กรัมของเนื้อเยือ ใน 1 นาที
สวน skeleton muscle จะมีเลือดไหลไปเลี้ยงนอยที่สุด
Cardiac Output ที่มาที่สมอง
ในสมองเมื่อเปดกะโหลกศีรษะออกมาจะมีสวนประกอบคือ เนื้อสมอง เลือด เยื่อหุมสมอง และ CSF ซึ่งสมองจะมี
น้ําหนักประมาณ 1,400 กรัม จะมีเลือดประมาณ 75 ml และ CSF ก็มีประมาณ 75 ml เชนกัน ซึ่งพวกนี้มันจะอยู
ดวยกัน สมองจะไมสามารถถูกกดเบียด หรือเปลี่ยนรูปรางได แตหลอดเลือดอาจถูกโดนกดเบียดได
การเปลี่ยนแปลงความดัน ถาเปลี่ยนแปลงมากก็จะมีผลตอรางกาย เชน Cushing reflex คือถา intracranial
pressure (ICP) มันสูงขึ้นไมวาสาเหตุใดๆก็ตาม เชน อาจเกิดการกระแทกแลวมีเลือดออกในหลอดเลือด หรือหลอดเลือด
ฉีกขาด ซึ่งถา ICP มันสูงเกิน 33 mmHg ก็จะทําให cerebral blood flow ลดลง สุดทายทําใหเนื้อสมองในสวน
vasomotor area เกิดภาวะการขาดเลือด จะทําให systemic blood pressure (SBP) เพิ่มขึ้น ก็จะทําให
blood pressure มันมากขึ้น จนทําใหเกิด reflex ขึ้น เราเรียกวา reflex bradycardia เพื่อที่จะทําให blood
pressure มันลดลง เพราะฉะนั้นในภาวะ Cushing reflex นี้ จะพบวา blood pressure เพิ่มขึ้น แตอัตราการเตน
ของหัวใจชาลง
ถาคนไขมาดวยอาการความดันเลือดสูง แตอัตราการเตนของหัวใจนอย ก็แสดงวา อาจเกิดภาวะ intracranial
pressure สูง ----> อันตราย!
ในสมองจะมีการควบคุมอัตราการไหลเวียนเลือดมาที่สมองใหคงที่ดวย
1. autoregulation ก็คือ เปนความสามารถของเนื้อเยื่อที่จะทําใหมีการไหลของเลือดมาที่สมองหรือเนื้อเยื่อ ได
คงที่ ดังนั้น autoregulation จะทําไดในกรณีที่ความดันเลือดอยูในชวง 65 – 140 mmHg
2. neural control โดยที่สมองจะมีระบบประสาทมาควบคุมเชน sympathetic มาเลี้ยง ซึ่งถาถูกกระตุนก็
จะหลั่ง norepinephrine ทําใหเกิด vasoconstriction สวน parasympathetic จะทําใหเกิด
vasodilation แลวก็ยังมีพวก sensory nerve ก็จะหลั่งสารพวก substance P, CGRP พวกนี้ก็จะทําใหหลอด
เลือดที่สมองขยายตัว
3. metabolic control คือ ถาสมองมีการทํากิจกรรมเยอะๆ จะหลั่งสาร metabolize ออกมา เชน CO2
หรือ pH ที่มันต่ําลง มันก็จะทําใหหลอดเลือดที่สมองขยายตัว และทําใหเกิด cerebral blood flow เพิ่มขึ้น

การไหลเวียนเลือดในสมอง นอกจากจะมีการควบคุมดังกลาวขางตนแลว ในกรณีที่มีการทํางาน (neural activity)


ของอวัยวะนั้นๆ ก็จะเพิ่ม blood flow ประมาณ 20% สรุปวา neural activity จะเพิ่ม cerebral blood flow
ในแตละสวน
สรุปของสมอง : การไหลเวียนเลือดในสมอง จะพบวาในสมองและสวนประกอบจะไมสามารถถูกกดเบียดหรือเปลี่ยน
รูปรางไปได ซึ่งถามีความผิดปกติจะมี intracranial pressure(ICP) สูงขึ้น ก็จะทําใหเกิดปญหาขึ้นมา ซึ่งถา ICP
สูงขึ้นกวา 33 mmHg จะไปทําให cerebral blood flow ที่มาที่สมองลดลง เนื้อสมองก็จะขาดเลือด โดยเฉพาะ
บริเวณ vasomotor area ซึ่งมันจะไปทําให systemic
blood pressure มากขึ้น ทําให blood pressure เพิ่มขึ้น
แตเมื่อ BP เพิ่มขึ้น ก็จะทําใหรางกายเกิด reflex ที่เรียกวา
bradycardia ---> ซึ่งอันนี้ก็คือ Cushing Reflex
สวนการควบคุมการไหลเวียนในสมองก็มี
autoregulation , neural control , metabolic
control และ ยังขึ้นกับ neural activity ดวย [ดังนั้นถา
อาจารยถามวาปจจัยใดบางที่ทําใหการไหลเวียนเลือดในสมองเพิ่มขึ้น
ก็ควรจะตอบไดนะ เชน สาร metabolize ตางๆ CO2 pHต่ําลง หรือ adenosine , ระบบประสาท
parasympathetic ทํางานมากขึ้น พวกนี้ก็จะไปเพิ่ม cerebral blood flow และยังเกี่ยวของกับ neural
activity ดวย ]

การไหลเวียนโลหิตที่หัวใจ (Coronary Circulation)


ที่หัวใจเลี้ยงดวยหลอดเลือด coronary artery มี 2 เสน คือ right กับ left ซึ่งออกมาจาก aorta สวน root
ของ aorta เพราะฉะนั้นถึงแมหัวใจจะสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงสวนตางๆของรางกาย แตเนื้อเยื่อของมันก็มีความเสี่ยงในการขาด
เลือดเหมือนกัน เพราะลักษณะการไหลเวียนของ coronary blood flow คอนขางแปลกประหลาด คือ มันจะเปลี่ยนแปลง
ไปตาม cardiac cycle

Coronary Circulation Isovolumetric contraction กราฟ Isovolumetric relaxation

จากกราฟจะเห็นวา ชวงที่มี systole ความดันใน aorta ก็


จะสูงขึ้นเพราะเลือดมันเขามาอยูใน aorta เยอะ แตใน
coronary blood flow มันจะลดลงในชวงตนของการบีบตัวไลเลือดออกไป ซึ่งลดลงต่ําสุดในชวง isovolumetric
contraction แลวจะคอยๆเพิ่มขึ้น เพราะมีเลือดไหลเขามาใน aorta (ชวงนี้จะไมคอยมีการปลอยเลือดเขามาใน aorta
เพราะ ความดันใน aorta ยังมีนอยอยู ) ดังนั้น จึงเห็นวาการไหลของเลือดที่เขามาใน coronary artery นอยลง และชวง
systole ก็จะนอย แตการไหลของเลือดเขามาใน coronary artery จะสูงขึ้นในชวง diastole เพราะฉะนั้นชวง
diastole ถือเปนชวงที่มีความสําคัญสําหรับ coronary blood flow เนื่องจากเปนชวงที่มีเลือดไหลเขามาเยอะ
Left กับ right coronary artery จะมี pressure เหมือนกัน ก็คือจะมี การไหลของเลือดนอยในชวงเริ่มตน
ของการเกิด systole คือชวง isovolumetric contraction แลวก็จะเพิ่มขึ้นในชวงของ diastole
นอกจากจะแปรตาม cardiac cycle แลว มันยังจะแปรตาม heart rate ดวย เคาบอกวาถาการเตนของหัวใจเร็ว
ขึ้น หรือภาวะ tachycardia จะทําใหชวง diastole สั้นลง เพราะฉะนั้นโอกาสที่มันจะรับเลือดก็ไมดี คอนขางอันตราย
แตในภาวะหัวใจปกติ พวกmetabolic control ก็จะทําใหหลอดเลือด coronary artery มันขยายตัว เลือดก็จะเขามา
เลี้ยงไดพอเพียง
ผนังของหัวใจจะมีสวนที่เรียกวา epicardium กับ endocardium ซึ่งทั้ง 2 สวน จะรับเลือดไดเทากันใน
ภาวะปกติ เนื่องจาก ปกติ coronary artery จะแทงจากนอกเขาใน แลวถาดูชวง systole จะทําให intramuscular
pressure (ความดันที่กระทําตอกลามเนื้อ) มันมีความดันขางในมากกวาขางนอก แตที่มันรับเลือดเทากันก็เพราะวา ในชวง
diastole ซึ่งเปนชวงที่มีเลือดไหลมาที่ coronary arteryเยอะ... ใน endocardium มันจะมี intravascular
resistance ที่ต่ํามาก ซึ่งถา resistance ต่ํา จะทําให blood flow ดี เพราะฉะนั้นจึงทําให endocardium รับ
เลือดไดพอๆ กับ epicardium
“Although Sympathetic
แตในกรณีท่มี ีความผิดปกติ เชน aortic regurgitation หรือ coronary Stimulation Directly
occlussion ในชวง diastole เลือดก็จะมาที่ coronary artery นอย Constricts
Coronary Vessels,
เพราะฉะนั้นสวนที่จะมีผลตอการขาดเลือดก็คือ endocardium Accompanying
Metabolic Effects
ที่หัวใจก็ยังมีเรื่องเกี่ยวกับ Predominate,
1. metabolic control ก็จะทําใหหลอดเลือดขยายตัว Producing an Overall
Vasodilation”
2. neural control มีบทบาทนอย แตก็มีพวก sym. กับ parasym.
เขามาเกี่ยวของโดย parasym. จะทําใหหลอดเลือดขยายตัว และ
sym. ก็จะทําใหเกิด vasodilation ไดเหมือนกัน เพราะเวลามากระตุนที่หัวใจ จะทําใหหัวใจทํางานเพิ่ม ก็
เกิด metabolize มากขึ้น ทําใหหลอดเลือดขยายตัวได
สรุปของหัวใจ : การไหลเวียนเลือดจะไหลไปตาม coronary artery ประมาณ 5% ของ cardiac output
และการไหลเวียนของเลือดที่เขามา จะเปลี่ยนแปลงไปตาม cardiac cycle จะมีคาต่ําสุดในชวง isovolumetric
contraction และ systole แตจะมีคาสูงสุดในชวง diastole และ ภาวะ tachycardia จะทําใหชวง diastole
สั้นลง ถามีพยาธิสภาพของหัวใจก็จะทําใหมันแยลง แตในคนปกติจะมีสาร metabolize ที่สรางมา ทําใหหลอดเลือดขยาย ก็
ทําให blood flow มันปรับไดเทากับ metabolic demand

การไหลเวียนในระบบทางเดินอาหาร
การไหลเวียนเลือดในระบบทางเดินอาหารจะมาตาม celiac artery , superior mesenteric artery และ
inferior mesenteric artery เคาบอกวา เลือดจะไหลมาเลี้ยงที่ระบบทางเดินอาหารเพิ่มขึ้นประมาณ 8 เทา หลังการ
รับประทานอาหาร ซึ่งจะมีกลไก 4 อยางดวยกันคือ
1. CNS คือ แคคิด เลือดก็มาที่ระบบทางเดินอาหารแลว
2. เมื่อทานอาหารเขาไปแลว mucosal activity มันจะมีกิจกรรมมากขึ้น ก็จะมี adenosine ,CO2
เพิ่มขึ้น หลอดเลือดที่มาบริเวณนี้ก็ขยายตัว
3. การดูดซึมอาหารก็ทําใหเพิ่ม blood flow ดวย
4. ชวงระหวางการยอยอาหาร ก็จะมีพวก enzyme ออกมา ทําใหหลอดเลือดขยายตัว
สวน Neural control ก็จะมีทั้ง sympathetic และ parasym. ซึ่งระบบ parasym. มันจะทําให GI
ทํางานเพิ่มขึ้น ก็จะทําใหสารตางๆเชน enzyme หลั่งออกมามากขึ้น ก็ทําให blood flow ที่มาบริเวณนี้มากขึ้น
การออกกําลังกาย และการสูญเสียเลือด จะทําใหเลือดที่มาที่ระบบทางเดินอาหารนอยลง เชน ตอนกินขาวเสร็จใหมๆ
แลวไปวิ่ง จะทําใหจุก เพราะเวลาวิ่งเลือดจะไปเลี้ยงที่กลามเนื้อมาก ก็จะเกิด abdominal cramping ดังนั้น การออก
กําลังกายจะไปลดปริมาณเลือดที่เลี้ยงที่ระบบทางเดินอาหาร
การไหลเวียนเลือดที่ผิวหนัง (อาจารยจะพูดตอในชั่วโมงถัดไป)

You might also like