You are on page 1of 5

คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา

1. ความหมายของคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา

ปั จจุบันมีคำาศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องระหว่างคอมพิวเตอร์และการศึกษาคือ "คอมพิวเตอร์

ศึกษา" (Computer Education) หมายถึง

การศึกษาหาความร้้เกี่ยวกับศาสตร์ด้านคอมพิวเตอร์ เช่น การเขียนภาษาโปรแกรม

ต่าง ๆ การผลิต การใช้ การบำารุงรักษา

เครื่องคอมพิวเตอร์ (Hardware) และซอฟแวร์ (Software) รวมถึงการศึกษาวิธีการ

ใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อกิจการด้านต่าง ๆ

สรุปแล้วการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา คือ การนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในกิจการ

ด้านการศึกษา ประกอบด้วยงานหลัก 4 ระบบ

1. คอมพิวเตอร์เพื่อบริหารการศึกษา (Computer for Education Administration)

เป็ นการนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหารงานด้านต่าง ๆ เช่น การบริหารงานด้าน

การศึกษาประกอบด้วยคร้ ผ้้เรียน และเจ้าหน้าที่บุคลากรที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เป็ นต้น

2. คอมพิวเตอร์เพื่อบริการการศึกษา (Computer for Education Service) หมาย

ถึง การบริการการศึกษา ด้านต่าง ๆ เช่น การบริการสารสนเทศการศึกษา

3. คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน (Computer Assisted Instruction) หมายถึง

การนำาคอมพิวเตอร์มาช่วยในกิจกรรมการเรียนการสอนในเนื้ อหาวิชาต่างๆ

4. การร้้คอมพิวเตอร์ (Computer Literacy) เป็ นการศึกษา การสอน/การฝึ กอบรม

เกี่ยวกับความร้้ความสามารถ และทักษะการใช้คอมพิวเตอร์โดนตรงรวมทั้งการ

ประยุกต์ใช้ และเจตคติต่อคอมพิวเตอร์และ ICT

ที่มา http://vod.msu.ac.th รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ

2. วัตถุประสงค์ของการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา

ในการนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการศึกษาโดยทัว่ ไปมี 3 ลักษณะคือ

1.ใช้เพื่อทบทวนบทเรียน
2.ใช้เป็ นเครื่องมือในการเรียน

3.ใช้เป็ นเครื่องมือฝึ ก

ที่มา http://vod.msu.ac.th รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ

3. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

ส่วนประกอบทัว่ ไปของคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้

1. หน่วยรับข้อม้ล input Unit เป็ นส่วนที่ทำาหน้าที่รบ


ั ข้อม้ลเข้าส่้หน่วยประมวล

ผลกลาง (CPU)

เพื่อทำาการประมวลต่อไป

2. หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU (Central Processing Unit) ทำาหน้าที่ในการ

ประมวลผลข้อม้ล

เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ และทำาหน้าที่ควบคุมการทำางานต่างภายใน

คอมพิวเตอร์

3. หน่วยแสดงผล Output Unit เป็ นหน่วยที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผล

ข้อม้ล ซึ่งมีร้ปแบบการแสดง

ผลอย่้ 2 แบบ คือ แบบที่สามารถเก็บไว้ด้ภายหลังได้ และแบบที่ไม่มีสำาเนาเก็บไว้

ที่มา http://www.obec.go.th คร้สมเกียรติ แสนป้ อ

4. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

4.1. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง

การนำาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็ นเครื่องมือในการเรียนการสอน โดยที่เนื้ อหาวิชา แบบ

ฝึ กหัด และแบบทดสอบจะถ้กพัฒนาขึ้นในร้ปของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ลักษณะ

สำาคัญของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ

1) สามารถเรียนแบบการสอนได้ และ

2) มีสมรรถภาพในการรวบรวมสารสนเทศและข้อม้ลต่าง ๆ
4.2. หลักการของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประกอบด้วย

1. ใช้เป็ นรายบุคคล (Individualized) ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ออกแบบเพื่อใช้

ส่วนบุคคล นั บว่าเป็ นเครื่องมือที่ใช้ได้ผลดีท่ีสุด

2. มีการตอบโต้อย่างทันที (Immediate Feedback)

3. เป็ นกระบวนการติดตามความก้าวหน้าของผ้้เรียน (Track Learners Process)

4. ปรับให้ทันสมัยได้ง่าย (Each of Updating)

5. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ไม่สามารถทำางานได้ทุกอย่างเหมือนคน ด้วย

เหตุน้ ี จึงนำามาเป็ นส่วนนึ่ งหรือช่วยสอนเท่านั้ น การแก้ปัญหาเหล่านี้ ขึ้นอย่้กับการ

เขียนโปรแกรมให้สอดคล้องกับหลักจิตวิทยา

6. การเขียนโปรแกรมที่ดีต้องอาศัยความชำานาญอย่างมาก

ที่มา http://vod.msu.ac.th รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ

5. การวัดประเมินผลคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา

ในการวัดประเมินบทเรียน มีข้ ันตอนในการพิจารณาอย่้ 3 ขั้น คือ

1. การประยุกต์ใช้

1.1 บทเรียนนี้ ออกแบบและผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ในหลักส้ตร

วิชาอะไรและในหลักส้ตรนี้ ผ้้เรียนจะได้รบ
ั ประโยชน์พิเศษเฉพาะ

จากบทเรียนนี้ อย่างไรบ้าง

1.2 บทเรียนนี้ บทบาททางการศึกษาอย่างไรบ้าง

เป็ นบทเรียนที่ใช้ในการเรียนการสอนโดยตรงหรือเป็ นบทเรียนที่

ใช้ประกอบหรือเสริมการเรียนเท่านั้ น ถ้าบทเรียนนี้

มีบทบาทเพียงเพื่อเสริมการเรียนการสอน มีส่ ือหรือ

กิจกรรมการสอนอื่นที่ออกแบบไว้ให้บทเรียนสนั บสนุ นหรือไม่

1.3 บทเรียนนี้ ออกแบบมาสำาหรับผ้้เรียนนะดับใด

และผ้้เรียนควรมีความร้้เบื้ องต้นระดับใดและอย่างไรบ้าง
1.4 บทเรียนนี้ ควรใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบใด

2. การใช้โปรแกรม

2.1 ประสิทธิผลทางการเรียนการสอน การที่จะวัด

ประสิทธิผลทางการเรียนการสอนของบทเรียนนั้ นเราจะต้อง

1) วิเคราะห์คุณลักษณะของบทเรียน

2) วิเคราะห์แนวปฏิบัติของคร้ในการใช้บทเรียนนั้ น

3) ทบทวนประสิทธิผลของบทเรียนที่มีต่อการ

เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผ้้เรียนตามจุดประสงค์การเรียน

2.2 การบำารุงรักษาบทเรียน ในการประเมินเกี่ยวกับ

การบำารุงรักษาบทเรียนนี้ จะเน้นในเรื่องการปรับปรุงบทเรียน

ให้เข้ากับสภาพการสอน ว่าทำาได้หรือไม่เพียงใด

ทั้งนี้ เนื่ องจาก มีบางบทเรียนที่เปิ ดโอกาสให้คร้ดัดแปลงเพิ่มเติม

ตัดบางส่วนออกหรือจัดลำาดับใหม่ได้ เพื่อให้คร้สามารถดัดแปลง

บทเรียน ให้สอดคล้องกับความสามารถของผ้้เรียนบางคนได้

2.3 ความสะดวก ความสะดวกของบทเรียนในที่น้ ี หมายถึง

การที่เราสามารถใช้บทเรียนกับเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นต่างๆ ได้

เช่น เล่นได้ท้ ังเครื่อง XTAT และหรือจอภาพสี

3. ราคา

การเปรียบเทียบราคาของบทเรียน อาจจะพิจารณาได้ยาก

เพราะมีข้อจำากัดเช่น เรื่องเวลา ความต้องการในการใช้บทเรียน

และประสบการณ์ของผ้้ใช้เป็ นต้น นอกจากนั้ น การผลิตบทเรียน

เรื่องเดียวกันจากผ้้ผลิตหลายๆ แหล่งนั้ นมีน้อย ดังนั้ น การพิจารณาเปรียบเทียบ

ในเรื่องราคาของบทเรียนจึงอย่้ในดุลยพินิจของผ้้ที่ประสงค์

จะใช้บทเรียนนั้ นๆพิจารณาเอง
ที่มา http://vod.msu.ac.th รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ

เจ้าของบทความ

http://apportion.blogspot.com/2007/08/blog-post.html ขอขอบคุณครับ

You might also like