You are on page 1of 9

การทดลองที่ 3

ทฤษฎีของเทวินินและ นอรตัน

วัตถุประสงค
- เพื่อใหเขาใจถึงทฤษฎีของเทวินินและสามารถนําไปใชงานในวงจรไฟฟาได
- เพื่อใหเขาใจถึงทฤษฎีของนอรตันและสามารถนําไปใชงานในวงจรไฟฟาได
- เพื่อใหรูจักการนําทฤษฎีของเทวินินและนอรตันไปประยุกตใชในรวมกับวงจรไฟฟาและอุปกรณอื่นๆได

เครื่องมือและอุปกรณ
- ตัวตานทาน ขนาด ¼ W + 5 %
470 Ω 1 ตัว
1 kΩ 1 ตัว
2.2 kΩ 1 ตัว
3.3 kΩ 1 ตัว

R1
1.2 kOhm
R4
470 Ohm VTH RTH A
R2
3.3 kOhm
DC
R5 R6 RL
2.2 kOhm 10 kOhm B
R3
5.6 kOhm A
RL
910 Ohm Vo

รูปที่ 3-1 แสดงการแปลงวงจรที่มีความซับซอนเปนวงจรที่มีเพียงแหลงจายและหนึ่งตัวตานทานเทานั้น


โดยใชทฤษฎีของเทวินิน
2 ET.207 Electronics Engineering (Lab.)

R6
R4 10 kOhm
470 Ohm

R2
R5
3.3 kOhm
2.2 kOhm
R1 RTH
1.2 kOhm
R3
5.6 kOhm

รูปที่ 3-2 วงจรที่เกิดขึ้นใหมหลังจากใชทฤษฎีของเทวินิน

ทฤษฎีเบื้องตน
3.1 ทฤษฎีของเทวินินเบื้องตน
ทฤษฎีของเทวินินเปนเทคนิคการวิเคราะหและออกแบบวงจรที่นิยมใชมาก จากวงจรที่มีความซับซอนสามารถ
แทนไดดวยแหลงจายแรงดันและตัวตานทานเพียวตัวเดียว ซึ่งเรียกวา แรงดันเทวินิน (Thevinin’S Equivalent Voltage :
VTH) และความตานทานเทวินิน (Thevinin’S EquivalentResistance : RTH) ดังแสดงในรูปที่ 3-1

3.2 การวิเคราะหเชิงปฏิบัติการ
จากวงจรในรูปที่ 3-1 ตองการหาแรงดันเอาพุต (VO) ที่ตกครอม RL เริ่มจากปลดโหลด RL ออกจากวงจร จาย
แรงดันไฟเลี้ยงแลว วัดแรงดันที่ตกครอมจุด A และ B หรือจุดตอโหลด แรงดันที่ไดนี้เรียกวา แรงดันเทวินิน (VTH) จาก
นั้นปลดแหลงจายแรงดันออกแลวลัดวงจรในตําแหนงของแหลงจายแรงดัน แลววัดคาความตานทานที่จุดตอโหลด
หรือจุด A-B คาความตานทานที่ไดเรียกวา ความตานทานเทวินิน (RTH) เมื่อไดคา VTH และ RTH มาแลวก็สามารถใชกฎ
ของโอหมและการแบงแรงดันคํานวณหา VO ไดงายขึ้น

3.3 การวิเคราะหเชิงทฤษฎี
หากตองการคํานวณหาคา VTH และ RTH เริ่มตนดวยการปลด RL แลวคํานวณหาแรงดันตกครอมจุด AB เมื่อ
ปลด RL จะทําให R4 , R5 และ R6 เปดวงจร แรงดัน VAB จึงเทากับแรงดันตกครอม R2 รวมกับ R3 กําหนดไปเปนแรงดัน
เทวินิน VTH

R2 + R3
VTH = V AB = 12 *
R1 + R2 + R3

8.9 kOhm
= 12 * = 10.6 V
10.1 kOhm
3 ET.207 Electronics Engineering (Lab.)

จากนั้นลัดวงจรแหลงจายแรงดัน เพื่อคํานวณหาความตานทานเทวินิน เมื่อลัดวงจร VIN แลวจะไดวงจรใหม


ตามรูปที่ 3-2 หาความตานทานเทวินินได

R1 * ( R2 + R3 )  R * R6 
RTH = + R4 +  5 
R1 + R2 + R3  R5 + R6 
1.2 kOhm * (3.3 kOhm + 5.6 kOhm)  2.2 kOhm * 10 kOhm 
= + 470Ohm +  
1.2 kOhm + 3.3 kOhm + 5.6 kOhm   2.2 kOhm + 10 kOhm 

= 3.3kOhm

เมื่อได VTH = 10.6 V, RTH=3.3 kΩ ใหนํา RL กลับมาตอ แลวใชหลักการแบงแรงดันคํานวณหาแรงดันตก


ครอม RL ไดเปนแรงดันเอาพุต VO

 910 Ohm 
VO = 10.6 *   = 2.28 V
 3.33 kOhm + 910 Ohm 
 

 10.6 Ohm 
I L = 10.6 *   = 25 mA
 3.33 kOhm + 910 Ohm 

3.4 ทฤษฎีเบื้องตนของนอรตัน
ทฤษฎีของนอรตันเปนอีกวิธีหนึ่งที่ใชในการวิเคราะหวงจรที่มีความซับซอน โดยสามารถแทนวงจรไฟฟาปด
ได ดวยแหลงจายกระแสและตัวตานทานเพียงตัวเดียว เรียกวา แหลงจายกระแสนอรตัน(Norton’s Equivalent Current :
IN) และความตานทานนอรตัน(Norton’s Equivalent Resistance : RN) ดังแสดงในรูปที่ 3-3
A

In RN

B
รูปที่ 3-3 วงจรสมมูลยของนอรตัน

จากวงจรในรูปที่ 3-4 (ก) ตองการหากระแสที่ไหลผานโหลด RL โดยใช ทฤษฎีของนอรตัน เริ่มดวยการลัด


วงจรโหลด RL สงผลให R3 ถูกลัดวงจรไปดวย ทําใหกระแส IN ไหลในวงจร และคา IN นั่นเองคือ กระแสนอรตัน
ดังในรูปที่ 3-4 (ข)
4 ET.207 Electronics Engineering (Lab.)

จากนั้นปลดแหลงจายไฟออกแลวลัดวงจรตามดวยปลดโหลด RL ออกจากวงจร จะไดวงจรเพื่อหาคาความตาน


ทานนอรตัน RN ตามรูปที่ 3-4 (ค) และจากนั้นคา IN และ RN ที่ไดมาเขียนเปนวงจรใหมดังรูปที่ 3-4 (ง) ทําใหสามารถ
คํานวณหากระแสที่ไหลผาน RL ได ดวยหลักการของการแบงกระแสหรือใชกฎของโอหม

VIN VIN
R3 RL
In
R1 R1
R2 R2
(ก) A (ข) A

R1 R3 RN RL

R2 B
B
(ค) (ง)
รูปที่ 3-4 การแปลงวงจรที่ซับซอนเปนวงจรของนอรตัน

3.5 การวิเคราะหเชิงทฤษฎี

IT R1
1.2 kOhm

R4
R2 470 Ohm
3.3 kOhm A
IO
12 V R5 R6 RN RL
IN
R3 2.2 kOhm 10 kOhm
3.18 mA
3.3 kOhm 910 Ohm
5.6 kOhm
B
IO RL
910 kOhm

รูปที่ 3-5 จากวงจรที่ซับซอนกลายเปนวงจรสมมูลยของนอรตันที่สามารถวิเคราะหงายขึ้น


5 ET.207 Electronics Engineering (Lab.)

จากวงจรในรูปที่ 3-5 ตองการหากระแสที่ไหลผานโหลด RL ใชทฤษฎีของนอรตัน เริ่มตนดวยการหาคา


กระแสนอรตัน IN โดยลัดวงจร RL ทําใหความตานทานรวมของ R4 - R6 เทากับ 2.27 kΩ ในขณะที่ความตานทานรวม
ของ R2 และ R3 เทากับ 8.9 kΩ สงผลใหความตานทานรวมของวงจรเทากับ

8.9 kOhm * 2.27 kOhm


RT = 1.1 kOhm + = 3 kOhm
11.17 kOhm

กระแส IT เทากับ 12/3 kΩ = 4 mA

จากนั้นหาคากระแสที่ไหลผาน R2 และ R3 กับกระแสที่ไหลผานความตานทานรวมของ R4 - R6 ซึ่งก็คือกระแส


นอรตันหรือ IN และความตานทานของ R2 - R6 = 1.8 kΩ ดังนั้นกระแส IN มีคาเทากับ

 8.9kOhm 
IN =   * 4mA = 31.8mA
 11.17kOhm 

จากนั้นหาคาความตานทานนอรตัน ซึ่งก็ใชหลักการเดียวกับการหาคาความตานทานเทวินิน นั่นคือ ปลดโหลด


ลัดวงจรแหลงจาย แลวคํานวณหาคาความตานทานรวมของวงจรที่เหลืออยู และจากการคํานวณจะไดคาความตานทาน
รวมของนอรตัน RN เทากับ 3.3 kΩ เมื่อไดคาของ IN และ RN ครบแลวก็สามารถนําคาทั้งหมดมาเขียนเปนวงจรไดใหม
ดังรูปที่ 3-5 ดังนั้นจึงสามารถคํานวณหาคากระแสเอาพุต IO ไดจาก
RN
IO = *IN
R N + RL

3.3 kOhm
= * 3.18 mA = 2.5 mA
3.3 kOhm + 910 Ohm

ขั้นตอนการทดลอง
ตอนที่ 1: ทฤษฎีของเทวินิน
R1 R3
1 kOhm 470 Ohm
+15 V A

R2 RL
2.2 kOhm 3.9 kOhm
B

รูปที่ 3-3 วงจรที่ใชในการทดลองขอ 3.1-3.4


6 ET.207 Electronics Engineering (Lab.)

3.1 จากวงจรในรูปที่ 3-3 คํานวณหาคา VTH และ RTH ที่จุด AB และคํานวณ VO เมื่อ RL = 3.9 kΩ

VTH = V
RTH = Ω
VO = V

3.2 ตอวงจรตามรูปที่ 3-3 โดยยังไมตองตอ RL จายแรงดัน + 15 V ใหแกวงจร วัดแรงดัน VTH ที่ จุด AB

VTH = V (จากการวัด)

3.3 ตอ RL เขาไปในวงจร วัดแรงดันของ VO


VO= V (จากการวัด)

3.4 ปดไฟเลี้ยงแลวปลดออก ลัดวงจรตําแหนงของไฟเลี้ยง โดยใชสายตอวงจร ปลด RL ออก แลวใชมัลติมิเตอรวัด


ความตานทานที่จุด AB จะไดเปนความตานทานเทวินิน
RTH = Ω (จากการวัด)

3.5 วาดและสรางวงจรขึ้นใหมจาก VTH และ RTH ที่ไดจากขอ 3.2 - 3.4

รูปที่ 3-4 วงจรสมมูลยของเทวินินที่เกิดขึ้นใหมของวงจรในรูปที่ 3-3

3.6 ตอโหลด RL เขาไป จายแรงดันไฟเลี้ยง วัดแรงดันเอาพุต VO ที่ไดเปรียบเทียบกับ VO ในขอ 3.1และ3.3

VO = V
7 ET.207 Electronics Engineering (Lab.)

เมื่อเปรียบเทียบกับ VO ที่ไดจากการคํานวณในขอ 3.1 พบวา

เมื่อเปรียบเทียบกับ VO ที่ไดจากการทดลองในขอ 3.3 พบวา

ตอนที่ 2 : ทฤษฎีของนอรตัน
R1 R3
1 kOhm 470 Ohm A
+15 V
R2 RL
2.2 kOhm 3.9 KOhm

B
รูปที่ 3-5 วงจรที่ใชในการทดลองทฤษฎีของนอรตัน

3..7 จากวงจรในรูปที่ 3-5 คํานวณหาคา IN และ RN ที่จุด AB แลวคํานวณ IO เมื่อ RL = 3.9 kΩ

IN = mA
RN = Ω
IO = mA

3.8 ตอวงจรตามรูปที่ 3-5 โดยตอดิจิตอลมิเตอรเลือกยานวัดกระแส (หรือเปนแอมมิเตอร) เขาที่ตําแหนง RL จายแรงดัน


+ 15 V ใหเขาวงจรคาของกระแสที่แสดงบนมิเตอรคือกระแส IN

IN = mA(จากการวัด)
8 ET.207 Electronics Engineering (Lab.)

3.9 ตอ RL เขาไปในวงจร วัดกระแส IO

IO = mA(จากการวัด)

3.10 ปดไฟเลี้ยง ปลด RL และมิเตอรออก ลัดวงจรตําแหนงไฟเลี้ยงแลวใชมัลติมิเตอรตั้งยานความตานทาน วัดคาตาน


ทานที่จุด AB จะไดเปนความตานทานนอรตัน

RN = kΩ

สรุปผลการทดลอง
9 ET.207 Electronics Engineering (Lab.)

คําถามทายการทดลอง
3.1 จากวงจรในรูปที่ 3-3 เมื่อ RL ถูกปลดออก ทําไม R4-R6 จึง ไมมีผลตอแรงดันเอาพุต
3.2 ในการคํานวณหาคา VTH และ RL จะตองทํายังไง
3.3 ในการคํานวณหาคา RTH แหลงจายแรงดันจะตองทํายังไง
3.4 จากวงจรในรูปที่ 3-5 กําหนด VIN = 12 V, R1=1kΩ, R2 = 39 kΩ, R3 = 60 kΩ และ RL= 27 kΩ
a. จงหาคาของกระแส IN
b. จงหาคาความตานทาน RN
c. กระแส IO

You might also like