You are on page 1of 32

บทบาทของไส้เดือนดินจะถูกมองว่ามีประโยชน์มากกว่ามีโทษต่อมนุษย์ โดยเฉพาะไส้เดือนดินจะมีส่วนช่วยทาให้

โครงสร้างของดินดีข้ นึ โดยการชอนไชทาให้ดินร่ วนซุย ทาให้การระบายน้ าและอากาศไปสู่ดินได้ดีข้ ึน ไส้เดือนดิน


สามารถชอนไชลงใต้ดินได้ลึกกว่า 20 เมตร ซึ่งเป็ นการไถพรวนทางธรรมชาติ ที่เครื่ องกลทางการเกษตรไม่สามารถทาได้
และยังช่วยให้ดินอุดมสมบูรณ์โดยการช่วยเพิ่มอินทรี ยวัตถุและธาตุอาหารแก่ดิน นอกจากนี้ยงั พบว่าไส้เดือนดินมีประโยชน์
ต่อพืช ในการช่วยกระตุน้ การเจริ ญเติบโตของพืชด้วย และยังสามารถบ่งบอกถึงการปนเปื้ อนสารเคมีในดิน ด้วยการดู
จากความหนาแน่นของประชากรไส้เดือนที่มีอยู่ ปั จจุบนั มีการนา ไส้เดือนมาใช้ประโยชน์ในแง่ของการย่อยสลายขยะ
อินทรี ยเ์ พื่อผลิตปุ๋ ยหมัก และใช้เป็ นแหล่งโปรตีนเสริ มเลี้ยงสัตว์ได้ เนื่องจากเนื้อเยือ่ ของไส้เดือนดินจะอุดมไปด้วย
กรดอะมิโนและสารอาหารที่มีประโยชน์อื่น ๆ หลายชนิดที่เหมาะสมต่อการเจริ ญของสัตว์ ที่สาคัญ คือ สามารถใช้เป็ น
อาหารเลี้ยงปลาทัว่ ไป ปลาสวยงาม กบ และเป็ นเหยือ่ ตกปลาที่ดี

สาหรับการเพาะเลี้ยงไส้เดือนดินในที่น้ ี จะเป็ นการเพาะเลี้ยงไส้เดือนดิน เพื่อใช้เป็ นอาหารสาหรับ


ขุนพ่อแมพันธุ์ปลาสวยงาม เป็ นการเลี้ยงไส้เดือนดินที่ให้ผลผลิตในภาชนะ หรื อพื้นที่ขนาดเล็ก
.
ภาพที่ 1 การใช้ไส้เดือนดินเป็ นอาหารปลาและกบ

ที่มา : Aqualandpetsplus.com.
(2005)
1 ประวัติของไส้ เดือนดิน

โดยทัว่ ไปคนส่วนใหญ่จะเคยชินกับการเรี ยกไส้เดือนดิน ว่า "ไส้เดือน" โดยไม่ตอ้ งมีคาว่าดิน


ต่อท้าย แต่จากความก้าวหน้าทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าในปั จจุบนั ได้พบอาหารธรรมชาติที่สาคัญของสัตว์น้ าเพิ่มมาก
ขึ้น และมีชื่อเรี ยกเช่นเดียวกับไส้เดือน เช่น ไส้เดือนน้ า (Tubifex) และไส้เดือนทะเล (แม่เพรี ยง เพรี ยงทราย ;
Clam worm, Sand worm) จึงทาให้นกั วิชาการในปั จจุบนั เรี ยกไส้เดือนที่พบตามดินทัว่ ไป ว่า "ไส้เดือน
ดิน"

ไส้เดือนดินมีอยูท่ วั่ ไปตามดินชุ่มชื้นร่ วนซุย จะคืบคลานหากินอยูต่ ามผิวดินและชอนไชไปตาม


ซอกหลืบของเม็ดดิน การชอนไชของไส้เดือนดินทาให้คุณสมบัติทางกายภาพของดินดีข้ ึน คือทาให้ดินโปร่ งร่ วนซุย ไม่
แน่นทึบและแข็ง เกิดการถ่ายเทอากาศภายในดินดีข้ นึ เพิ่มช่องว่างในดิน ช่วยในการอุม้ น้ าของดิน การไหลผ่านของน้ าใน
ดินทาให้ดินมีความชุ่มชื้นอยูเ่ สมอ จึงเหมาะแก่การแทงรากออกไปหาอาหารของพืช และผลจากกระบวนการกินอาหารของ
ไส้เดือนยังช่วยพลิกกลับดินหรื อนาแร่ ธาตุจากใต้ดินขึ้นมาบนผิวดิน โดยดิน ซากพืชซากสัตว์ เศษอาหาร และ
อินทรี ยวัตถุตา่ ง ๆ ที่ไส้เดือนกินเข้าไป จะถูกย่อยสลายและถูกขับถ่ายออกมาเป็ นมูล (cast) ซึ่งมีธาตุอาหารที่พืช
ต้องการในปริ มาณมากและอยูใ่ นรู ปที่ละลายน้ าได้ดี เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส กามะถัน แคลเซียม และธาตุอาหารอื่น ๆ
รวมทั้งช่วยส่งเสริ มในการละลายธาตุอาหารพืช ที่อยูใ่ นรู ปอนินทรี ยส์ ารที่พืชใช้ประโยชน์ไม่ได้ ไปอยูใ่ นรู ปที่พืช
นาไปใช้ ประโยชน์ได้ นอกจากนี้ยงั มีการนามาใช้เลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจจาพวกสัตว์ปีก ปลา กบ และหมู

มีตาราทางการแพทย์จากต่างประเทศรายงานผลการวิจยั ออกมาว่า ไส้เดือนดินจะมีสารเคมีบางชนิด


ช่วยในการรักษาโรคหัวใจ ทาให้หวั ใจแข็งแรงขึ้น ส่วนตามตารายาจีนระบุวา่ ไส้เดือนดินเป็ นอาหารที่ใช้บารุ งกาลัง ยา
บารุ งทางเพศ และแก้โรคช้ าใน คนจีนจะกินไส้เดือนที่ปรุ งสาเร็ จตามสูตรแล้วเป็ นอาหารเช้าคู่กบั น้ าเต้าหู ้ หรื อมีการนา
ไส้เดือนดินมาตากแห้งวางขายแก่ลูกค้าที่ตอ้ งการนาไปเป็ นยาบารุ งทางเพศ และยาบารุ งรักษาโรคหัวใจตามตาราจีน ส่วน
ในไทยก็มีความเชื่อว่าเป็ นยาสรรพคุณในการแก้ช้ าในได้ และในปั จจุบนั พบว่าไส้เดือนดินสามารถกาจัดเศษอาหารและ
ขยะได้ ที่สาคัญคือไม่ก่อให้เกิดมลภาวะเป็ นพิษแก่ธรรมชาติและมนุษย์เหมือนวิธีการเผา หรื อวิธีการฝังกลบที่ยงั ไม่มี
พื้นที่รองรับอย่างเพียงพอ นอกจากนั้นการใช้ไส้เดือนดินกาจัดเศษอาหารและขยะยังได้ปุ๋ยหมัก
(Vermicompost) นามาใช้บารุ งพืชอีกด้วย

จากความสาคัญของไส้เดือนดินดังกล่าว จึงได้มีการเลี้ยงไส้เดือนดินเพื่อการค้า สร้างรายได้ให้แก่


ชีวติ ใช้ ฟื้ นฟูสภาพดินที่เสื่ อมโทรม เช่น ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่า กาจัดเศษอาหารและขยะ
2 ลักษณะรู ปร่ างของไส้ เดือนดิน

ลักษณะทัว่ ไปของไส้เดือนดินมีรูปร่ างเป็ นทรงกระบอกยาว ด้านหัวและท้ายเรี ยวแหลม ความ


ยาวลาตัวประมาณ 10 - 20 เซนติเมตร ผนังลาตัวชั้นนอกเป็ นคิวติเคิลที่ปกคลุมด้วยสารพวกโพลีแซคคาไรด์ เจลาติน และ
ชั้นอีพิเดอร์มิส มีเซลล์ ต่อมต่างๆ ที่ทาหน้าที่สร้างน้ าเมือก ทาให้ผวิ ลาตัวชุ่มชื้น ลาตัวแบ่งเป็ นปล้องชัดเจนจานวน
ประมาณ 120 ปล้อง (ไส้เดือนดินในบ้านเรา) ทางด้านหัวมีช่องปากอยูก่ ่ ึงกลางของปล้องแรก โดยมีติ่งเนื้อ
(Prostomium) ทาหน้าที่คล้ายริ มฝี ปาก แต่ละปล้องจะมีเดือยเล็กๆ ใช้ในการเกาะกับดินเพื่อการเคลื่อนที่ และ
การจับคูผ่ สมพันธุ์ มี Clitellum ซึ่งเกิดจากปล้องใกล้ส่วนหัว จานวน 3 - 4 ปล้อง รวมกันเป็ นปล้องเดียว มีหน้าที่
สร้างปลอกหุม้ ไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว อวัยวะที่สาคัญจะอยูร่ ะหว่างปล้องที่ 1 - 30

สาหรับไส้เดือนดินที่พบมากในบ้านเรา จะมี 2 ชนิด คือ พันธุข์ ้ ี


คู ้ (Pheretima posthuma ) ลาตัวสี เทา ขนาดใหญ่ยาวประมาณ 6 - 8 นิ้ว พบได้ทวั่ ไปในดินในสวน
ผลไม้ หรื อในสนามหญ้า ในชั้นดินที่คอ่ นข้างลึก กินเศษใบไม้ที่เน่าเปื่ อย และดินบางส่วนเป็ นอาหาร และ พันธุ์ข้ ีตา
แร่ (Pheretima peguana ) มีลาตัวเป็ นสี แดงออกม่วง ยาวประมาณ 2- 5 นิ้ว อาศัยอยูใ่ นมูลสัตว์ หรื อ
กองเศษซากพืชที่เน่าเปื่ อย ที่มีความชื้นสูง กินมูลสัตว์ และเศษซากพืชที่เน่าเป็ นอาหาร ทั้ง 2 ชนิดมีลกั ษณะสาคัญอื่น ๆ
ดังนี้

• Clitellum เกิดจากการรวมตัวของปล้องที่ 14 - 16
• ช่ องเปิ ดสาหรับรับสเปิ ร์ มจากตัวอื่น จานวน 3 คู่ อยูใ่ นร่ องระหว่างปล้อง 6/7, 7/8 และ 8/9 ร่ องละ 1 คู่ เรี ยก
Spermathecal pore หรื อ Seminal receptacle pore (เป็ นช่องเปิ ดของถุงรับ
สเปิ ร์ม Seminal receptacle)
• ช่ องออกไข่ มี 1 ช่อง อยูต่ รงกลางของปล้องที่ 14 ทางด้านท้อง เรี ยก Female pore
• ช่ องปล่ อยสเปิ ร์ ม จานวน 1 คู่ อยูป่ ล้องที่ 18 ทางด้านท้อง เรี ยก Male pore
• ตุ่มสาหรับยึดเกาะในระหว่ างผสมพันธุ์ จานวน 2 คู่ อยูใ่ นร่ องระหว่างปล้อง 17/18 และ 18/19 ร่ องละ 1 คู่
เรี ยก Genita papilla หรื อ Copulatory papilla
• ช่ องเปิ ดของอวัยวะขับถ่ าย แทบทุกปล้องทางด้านท้องมีช่องเปิ ดของอวัยวะขับถ่าย จานวนปล้องละ 1 คู่ เรี ยก
Nephridiopores
• ช่ องทวาร มี 1 ช่อง อยูป่ ลายสุดของปล้องสุดท้าย
.
ภาพที่ 2 ลักษณะของไส้เดือนดิน

3 การจาแนกทางอนุกรมวิธาน

เอกสารส่วนใหญ่ได้จดั ลาดับชั้นของไส้เดือนดินไว้ดงั นี้

Phylum : Annilida

Class : Oligochaeta

Family : Lumbricidae

Genus : Pheretima

Species : posthuma และ peguana (ไส้เดือนดินที่พบมาก


ในประเทศไทย)
.

ในปัจจุบนั ได้มีการจัดลาดับชั้นของพวกหนอนปล้อง (Phylum Annelida) เป็ นดังนี้

Phylum Annelida
Class Polychaeta Bristle worms, diverse,
mainly marine worms
with parapodia that have
bristles (พวกแม่เพรี ยง หนอน
ฉัตร หนอนพัด )
Subclass Oligochaeta Earthworms (ไส้เดือน)
Class Clitellata Subclass Hirudinea Leeches (ปลิง)
Subclass Branchiobdellida Leeches (ปลิง)
Class Myzostomida Parasitic worms (พาราไซต์)
Class Echiura Spoon worms

ที่มา : Fossilmuseum.net. 2011


.

ในปั จจุบนั มีการจาแนกไส้เดือนดินทัว่ โลกได้ 4,000 กว่าชนิด สายพันธุ์ที่นามาใช้กาจัดขยะ


อินทรี ยท์ างการค้ามีประมาณ 15 ชนิด ซึ่งอาศัยอยูใ่ นขยะอินทรี ยแ์ ละมูลสัตว์ เช่น สายพันธุ์ Eisenia
hortenis, Eisenia andrei, Eisenia foetida, Eudrilus eugeniae,
Lumbricus rubellus, Pheretima peguana, Pheretima posthuma,
Lumbricus terrestris, Polypheretima elongate, Dendrobaena veneta,
Perionyx excavatus เป็ นต้น

4 การจาแนกเพศไส้ เดือนดิน

ไส้เดือนดินเป็ นสัตว์ที่มีต่อมเพศทั้งสองเพศในตัวเดียวกัน คือ ในตัวเดียวจะมีท้ งั รังไข่และอัณฑะ


เจริ ญอยู่ แต่โดยทัว่ ไปจะไม่เกิดการผสมระหว่างไข่และสเปิ ร์มในตัวเอง เนื่องจากตาแหน่งของอวัยวะสื บพันธุ์ท้ งั สอง
เพศไม่สมั พันธ์กนั และมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ไม่พร้อมกัน ไส้เดือนดินจึงต้องมีการแลกเปลี่ยนสเปิ ร์มซึ่งกันและกัน

• อวัยวะสื บพันธุ์เพศผู้ จะมีถุงอัณฑะ (Testes) อยูใ่ นปล้องที่ 11 และ 12 ปล้องละ 1 คู่ จะสร้างสเปิ ร์มแล้ว
เก็บไว้ในถุงพัก เรี ยก Seminal vesicle (Vesicular seminalis) ซึ่งอยูข่ า้ ง ๆ ถุง
อัณฑะ และมีต่อมสร้างน้ าหล่อเลี้ยงสเปิ ร์ม เรี ยก Prostate gland มีลกั ษณะเป็ นแผ่นแบนแผ่ออก อยู่
บริ เวณปล้องที่ 18 - 20 มีท่อนาสเปิ ร์ม (Vas deferens) รับสเปิ ร์มจากปากกรวยไปเปิ ดที่ช่องสื บพันธุ์
เพศผู ้
• อวัยวะสื บพันธุ์เพศเมีย จะมีรังไข่ (Ovaries) อยูใ่ นปล้องที่ 13 จานวน 1 คู่ ทาหน้าที่สร้างไข่่ รังไข่
แต่ละข้างมีท่อนาไข่(Oviduct) รับไข่จากปากกรวยไปเปิ ดที่ช่องสื บพันธุ์เพศเมีย

5 การแพร่ พนั ธุ์ของไส้ เดือนดิน

ถึงแม้ไส้เดือนดินแต่ละตัวมีท้ งั สองเพศในตัวเดียวกัน แต่กจ็ ะมีการจับคูผ่ สมพันธุ์กนั โดยปกติ


ไส้เดือนดินจะผสมพันธุ์กนั ในช่วงกลางคืน ไส้เดือนดินสองตัวมาจับคูส่ ลับหัวสลับหางกันโดยใช้ดา้ นท้องแนบ
ติดกัน ให้ตาแหน่งของช่องปล่อยสเปิ ร์ม (ปล้องที่ 18) ของตัวหนึ่ง ตรงกับช่องรับสเปิ ร์มของอีกตัวหนึ่ง (ปล้องที่ 7 หรื อ
8) โดยมีปุ่มสาหรับยึดเกาะในระหว่างผสมพันธุ์กบั เมือกบริ เวณไคลเทลลัมยึดซึ่งกันและกันไว้ แล้วแต่ละตัวจะปล่อย
สเปิ ร์มของตัวเอง ไปเก็บไว้ในถุงรับสเปิ ร์ม (Seminal receptacle) ของอีกตัวหนึ่งทีละคูจ่ นครบทุกคู่ แล้ว
ไส้เดือนดินทั้งสองจะแยกออกจากกัน

เมื่อไส้เดือนดินที่ได้มีการรับสเปิ ร์มมาแล้วจะวางไข่ บริ เวณ clitellum จะมีการสร้างเมือกหนา


ขึ้นมาแล้วเริ่ มแข็งตัวคล้ายเป็ นปลอก จากนั้นไส้เดือนดินจะเริ่ มขยับตัวถอยหลัง ทาใ้้หป้ ลอกเคลื่อนตัวไปทางด้าน
หัว ในขณะเดียวกันจะมีการปล่อยไข่ออกมาจากช่องออกไข่ (ปล้องที่ 14) ปลอกจะรับไข่เคลื่อนไปจนถึงช่องรับ
สเปิ ร์ม (ปล้องที่ 7 หรื อ 8) ก็จะได้รับการผสมจากสเปิ ร์มที่รับมาเก็บไว้ ปลอกจะถูกดันให้เคลื่อนต่อไปจนหลุดออกไป
ทางหัว ปลายทั้งสองด้านของปลอกจะปิ ดแล้วแข็งตัวได้เป็ นถุงไข่ (Cocoon) รู ปไข่สีน้ าตาลแกมเหลือง ขนาด
ประมาณ 1 - 2 มิลิเมตร มีไข่อยูภ่ ายใน 3 - 5 ใบ ใช้เวลาประมาณ 4 - 8 สัปดาห์ จะฟักตัวออกมา

.
ภาพที่ 3 ลักษณะการสร้างถุงไข่ (Cocoon) ของไส้เดือนดิน

ที่มา : Ruppert and Barnes. (1994)


.
ภาพที่ 4 ลักษณะถุงไข่ (Cocoon) ของไส้เดือนดิน

ที่มา : Aqualandpetsplus.com.
(2005)
.

6 การเพาะเลีย้ งไส้ เดือนดิน

ปั จจุบนั นี้การเพาะเลี้ยงไส้เดือนดินมีความก้าวหน้าอย่างมาก โดยเฉพาะที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัด


เชียงใหม่ ประสบผลสาเร็ จในการเลี้ยงไส้เดือนดินเพื่อกาจัดขยะอินทรี ย ์ ที่สามารถดาเนินการได้อย่างจริ งจัง เป็ น
ต้นแบบที่สามารถนาไปดาเนินการในพื้นที่ต่าง ๆ ได้ ลักษณะการเลี้ยงไส้เดือนดินที่ให้ผลดีทาได้ดงั นี้
• การเตรี ยมโรงเรื อน เป็ นโรงเรื อนบ่อซิเมนต์ที่มีหลังคากันฝนและพรางแสง เนื่องจากไส้เดือนดินไม่ชอบแสง
สว่าง ในบริ เวณบ่อเลี้ยงควรมีตาข่ายปิ ดด้านบน หรื อใช้ตาข่ายกั้นบริ เวณด้านข้างรอบโรงเรื อนเพือ่ ป้ องกันศัตรู
ของไส้เดือน
• บ่อเลี้ยงไส้เดือน มีความกว้างประมาณ 1 เมตร ความยาวแล้วแต่ตอ้ งการ และมีความลึกไม่เกิน 0.5 เมตร
• บ่อเก็บน้ าหมักมูลไส้เดือนดิน ควรสร้างบริ เวณด้านข้างโรงเรื อนหรื อด้านหลังโรงเรื อน ขนาดไม่ใหญ่มาก
นัก เพื่อรับน้ าหมักจากบ่อเลี้ยงไส้เดือนดินให้ไหลไปรวมได้ง่าย
• การเตรี ยมวัสดุรองพื้นเพื่อเป็ นที่อาศัยของไส้เดือนดิน ใช้วสั ดุอินทรี ยส์ ด เป็ นวัสดุรองพื้นหนาประมาณ 6 นิ้ว
โดยเน้นส่วนที่เป็ นผักสี เขียว และวัชพืช หรื อหากเป็ นการเลี้ยงเพือ่ กาจัดขยะก็จะมีการใช้ขยะสดด้วย แล้วโรย
ทับด้วยปุ๋ ยคอกหนาประมาณ 2 นิ้ว โรยปูนขาวให้ทวั่ ผิวบน แล้วให้ความชื้นพอเปี ยกชุ่มแต่ไม่ให้มีน้ าขัง ทิ้งไว้
ประมาณ 2-3 วัน จะพบว่าเกิดขบวนการหมัก สังเกตได้โดยมีความร้อนที่สูงขึ้น ทิ้งไว้อีกประมาณ 4 -
6 สัปดาห์ ความร้อนที่เกิดขึ้นหมดไป วัสดุรองพื้นที่ผา่ นการหมักที่สมบูรณ์จะไดุ้้มีสีเข้มจนเป็ นสี น้ าตาล มี
ลักษณะร่ วนซุยไม่มีกลิ่นเหม็น
• การเลี้ยง เมื่อเตรี ยมวัสดุรองพื้นได้แล้ว จึงเริ่ มปล่อยไส้เดือนดินลงเลี้ยง ควรปล่อยในอัตราไส้เดือนดิน 1
กิโลกรัม ต่อพื้นที่ 1 - 5 ตารางเมตร แล้วแต่เงินทุน หรื อวัตถุประสงค์ในการเลี้ยง (ถ้าเลี้ยงเพื่อกาจัดขยะของ
ชุมชน ควรปล่อยไส้เดือนดิน 1 กิโลกรัม ต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร จะช่วยกาจัดขยะสดได้เร็ วมาก)
• การให้อาหาร ใช้เศษผักสี เขียว และวัชพืช โรยไปตามหน้าวัสดุรองพื้นในอัตรา 120 - 150 กรัม ต่อน้ าหนัก
ตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน (12 - 15 เปอร์เซ็นต์ของน้ าหนักตัว) แต่ถา้ เป็ นไส้เดือนดินสายพันธุ์ต่างประเทศจะต้องให้
อาหารเป็ น 2 เท่า ใช้เวลาประมาณ 4 – 6 สัปดาห์ จะมีปริ มาณไส้เดือนดินเพิ่มขึ้นประมาณเท่าตัวของ
จานวนที่ปล่อย
.
ภาพที่ 5 ลักษณะของบ่อเลี้ยงไส้เดือนดิน

ที่มา : รักบ้านเกิด.คอม. 2554


.
ภาพที่ 6 ลักษณะการเลี้ยงไส้เดือนดินกาจัดขยะอินทรี ย ์ ที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ที่มา : Ryt9.com. (2553)

7 การเพาะเลีย้ งไส้ เดือนดินเพื่อเป็ นอาหารปลาสวยงาม

การเพาะเลี้ยงไส้เดือนดินที่นาเสนอในหัวข้อนี้ เป็ นการเพาะเลี้ยงไส้เดือนดินพันธุ์ข้ ีตา


แร่ (Pheretima peguana ) ที่ขดุ พบในบริ เวณบ้าน ซึ่งมีความยาวลาตัวประมาณ 4 - 5 นิ้ว นามาเลี้ยงใน
ดินในกะละมัง หรื อถังพลาสติก แล้วให้อาหารปลาเป็ นอาหาร เลี้ยงไว้ประมาณ 3 - 4 เดือน จะมีไส้เดือนเกิดขึ้นเป็ น
จานวนมาก โดยทั้งหมดจะมีขนาดความยาวลาตัวเพียง 2 - 3 เซนติเมตร ซึ่งอาจเกิดจากความหนาแน่นของไส้เดือน ที่
เกิดอยูใ่ นภาชนะที่ใช้เลี้ยงซึ่งมีขนาดค่อนข้างเล็ก ทาให้ไส้เดือนดินที่มีจานวนมากไม่สามารถเติบโตจนมีขนาด 4 - 5 นิ้ว
ได้ แต่ก็สามารถมีความสมบูรณ์เพศได้ สามารถผสมพันธุ์ทาให้เกิดลูกไส้เดือนจานวนมากอย่างต่อเนื่องได้ตลอด

จากการทดลองเพาะเลี้ยงไส้เดือนดินมาหลายปี พบว่าสิ่ งที่เป็ นปั ญหาในการเลี้ยงไส้เดือนดินอย่างยิง่


คือ การที่จะควบคุมความชื้นของวัสดุเลี้ยงให้คงอยู่ เพื่อให้ไส้เดือนส่วนใหญ่มีชีวติ อยูไ่ ด้ เพราะหากลืมรดน้ า หรื อไม่
อยูบ่ า้ นประมาณ 5 - 7 วัน จะพบว่าดินหรื อวัสดุเลี้ยงจะแห้งเกือบสนิท ทาให้ไส้เดือนส่วนใหญ่ตายไป จึงได้
ทดลองหาทางควบคุมความชื้นในภาชนะเลี้ยง ไม่วา่ จะเป็ นการเจาะรู ดา้ นล่างหรื อด้านข้างของภาชนะเลี้ยง ก็ยงั พบว่าไม่
สามารถควบคุมความชื้นในการเลี้ยงไส้เดือนดินได้ดีพอ แต่ก็พยายามดาเนินการมาเรื่ อย จนกระทัง่ พบวิธีการที่คิดว่า
ค่อนข้างเหมาะสม ที่ดาเนินการง่าย และไม่ทาให้ภาชนะเลี้ยงเสียหาย ประกอบกับทาให้เกิดไส้เดือนดินเป็ นจานวน
มาก เกิดต่อเนื่องได้ตลอด และเป็ นไส้เดือนดินขนาดเล็ก คือมีขนาดความยาวลาตัวเพียง 2 - 3 เซนติเมตร ซึ่งเหมาะสม
ที่จะใช้ในการเลี้ยงปลาสวยงามขนาดเล็กได้อย่างดี มีวธิ ีการ ดังนี้

• เตรียมภาชนะหรื อบ่ อเลีย้ ง มีขนาดไม่ตอ้ งใหญ่มากนัก อาจเป็ นกะละมังหรื อลังพลาสติกก็จะทาให้เคลื่อนย้าย


สะดวก
• เตรียมดินหรื อวัสดุเลีย้ ง เป็ นดินที่ค่อนข้างมีเนื้อเป็ นดินเหนียว (ไม่ควรเป็ นดินร่ วนหรื อดินทราย) หรื อเป็ น
วัสดุที่ได้จากการหมักมูลสัตว์กบั เศษพืช และวัชพืชก็ได้ แต่ตอ้ งใช้เวลาหมักจนหมดจนหมดกลิ่นและความ
ร้อน
• การใส่ ดนิ หรื อวัสดุเลีย้ ง ทาได้ 2 แบบ คือ

1 ปรับดินหรื อวัสดุเลี้ยงให้มีความลาดเอียง (ดังภาพ)

2 ใส่ขวดสาหรับสังเกตุระดับน้ า แล้วใส่ดินให้เกือบเสมอปากขวด (ดังภาพ)

• การใส่ นา้ เพื่อปรับความชื้น ให้เทน้ าลงบนผิวหน้าดินส่วนใหญ่เพื่อให้น้ าค่อย ๆ ซึมผ่านลงไปในดิน และจะ


สามารถสังเกตระดับน้ าที่ขงั อยูท่ ี่พ้นื ก้นบ่อได้
• การปล่ อยไส้ เดือนดินลงเลีย้ ง การปล่อยไส้เดือนดินลงเลี้ยงจะปล่อยไม่มากนัก คือ สามารถปล่อยประมาณ 50 -
100 ตัว ต่อตารางเมตร เช่น กะละมัง เส้นผ่าศูนย์กลาง 60 เซนติเมตร จะมีพ้นื ที่ใกล้ปากกะละมังเท่ากับ 0.28
ตารางเมตร [คานวนจาก พื้นที่วงกลม = ¶ r ² = 22/7 x 0.3 x 0.3 = 0.28 ตารางเมตร (0.3 มาจาก
เส้นผ่าศูนย์กลาง 60 เซนติเมตร ดังนั้น รัศมี หรื อ r จึงเท่ากับ 30 เซนติเมตร แปลงให้มีหน่วยเป็ นเมตร เพราะ
ต้องการเป็ นตารางเมตร จึงได้เป็ น 0.3 เมตร)] จากพื้นที่ 0.28 ตารางเมตรของกะละมัง จะปล่อยไส้เดือนดินลง
เลี้ยง เท่า้ักบั 14 - 28 ตัว หรื อถ้าใช้ลงั พลาสติก ขนาด กว้าง 39 เซนติเมตร ยาว 58 เซนติเมตร จะมีพ้นื ที่ใกล้
ปากลังเท่ากับ 0.23 ตารางเมตร [คานวนจาก พื้นที่สี่เหลี่ยม เท่ากับ กว้าง x ยาว = .39 x
.58 = 0.23 ตารางเมตร (แปลงหน่วย เซนติเมตร ใ้หี เ้ ป็ น เมตร)] จากพื้นที่ 0.23 ตารางเมตรของ
กะละมัง จะปล่อยไส้เดือนดินลงเลี้ยง เท่า้ักบั 12 - 24 ตัว [ใช้ไส้เดือนดินไม่มาก ทาให้สามารถขุดหาตามขอบ
สนามหญ้า หรื อโคนต้นไม้ภายในบ้านได้]
• การให้ อาหาร จะใช้อาหารที่มีระดับโปรตีนค่อนข้างสูง หาซื้อง่าย และเก็บรักษาง่าย ซึ่งอาหารดังกล่าว
ได้แก่ ้่อาหารปลาดุก อาหารปลานิล อาหารสัตว์ เช่น อาหารไก่ไข่ อาหารเป็ ดไข่ อาหารที่กล่าวมานี้ปัจจุบนั
มีจาหน่ายตามร้านขายอาหารสัตว์ทวั่ ไป และสามารถซื้อปลีกตั้งแต่ 1 กิโลกรัม ขึ้นไป ซื้อมาเพียง 1 หรื อ 2
กิโลกรัม ก็ใช้เลี้ยงไส้เดือนดินได้นานเป็ นเดือน วิธีการให้อาหาร จะใช้สามง่ามที่ใช้พรวนดินขุดเปิ ดหน้าดิน
ประมาณ 1 ใน 4 ของพื้นที่หน้าดินทั้งหมด ลึกลงไปประมาณ 2 เซนติเมตร แล้วใช้อาหารประมาณ 1 - 2 ช้อน
โต๊ะโรยลงไป จากนั้นจึงคุย้ ดินที่เปิ ดออกไปมาปิ ดกลบทับอาหาร (ไม่ควรใช้เสี ยมหรื อพลัว่ เล็ก เพราะ้้เสี ยม
หรื อพลัว่ จะตัดโดนตัวไส้เดือนดิน ทาให้ไส้เดือนดินที่เลี้ยงตายได้) แล้วรดน้ าบริ เวณหน้าดินให้ชุ่ม การเติม
อาหาร ประมาณ 2 - 3 วัน ใช้สามง่ามขุดเปิ ดหน้าดินบริ เวณที่ให้อาหารไว้แล้ว เพื่อดูวา่ อาหารเดิมหมด
หรื อไม่ ถ้ายังไม่หมดก็กลบดินไปตามเดิม ถ้าหมดก็เติมอาหารลงไปอีก ทาเช่นนี้ซ้ าที่เดิมประมาณ 3 - 4
ครั้ง ครั้งที่ 4 หรื อ 5 เมื่อขุดเปิ ดหน้าดินลองดมกลิ่นดินที่ติดสามง่ามขึ้นมา หากดินมีกลิ่นเหม็นบูดของ
อาหาร ก็ควรเปลี่ยนบริ เวณที่ให้อาหารใหม่ ทาเช่นนี้ไปเรื่ อย ๆ
• การตรวจสอบความชุ่มชื้นของดิน ถึงแม้จะเห็นว่ามีน้ าขังอยูใ่ นบริ เวณที่ใช้ตรวจสอบระดับน้ า แต่ก็ควร
ตรวจสอบความชุ่มชื้นบริ เวณผิวหน้าดินทุกวัน โดยใช้สามง่ามขุดผิวหน้าดินลงไปเล็กน้อย หากดินยังคงชื้น
อยู่ ก็ไม่ตอ้ งเพิ่มน้ า แต่ถา้ ดินเริ่ มแห้งก็รดน้ าลงไปที่หน้าดินบ้าง
• ระยะเวลาในการเลีย้ ง จากระยะเวลาเริ่ มต้นการเลี้ยง ในช่วงแรกจะใช้เวลามากหน่อย เพื่อให้เกิดไส้เดือนดิน
เป็ นจานวนมาก ซึ่งอาจต้องใช้เวลา 4 - 6 เดือน ขึ้นกับจานวนไส้เดือนดินเริ่ มต้นที่ปล่อยลงเลี้ยง และความ
สมบูรณ์ของตัวไส้เดือนดิน เมื่อมีไส้เดือนดินเกิดมากพอแล้ว จะสามารถจับไส้เดือนดินออกไปเลี้ยงปลาได้วนั
ละประมาณ 300 - 500 ตัวเป็ นอย่างน้อย
• วิธีการจับไส้ เดือนดิน เมื่อต้องการตัวไส้เดือนดินไปใช้ ก็ขดุ ดินบริ เวณผิวหน้าดินให้เป็ นก้อนซึ่งจะเห็นว่ามีตวั
ไส้เดือนดินอยูม่ าก นาดินดังกล่าวไปวางในจานเล็ก ๆ แล้วนาไปแช่น้ าในถาด หรื อกะละมัง ประมาณ 1
ชัว่ โมง ไส้เดือนดินจะหนีน้ าท่วมออกจากดินไปอยูใ่ นถาด หรื อกะละมัง จึงค่อย ๆ ยกจานดินไปเทคืนลงถัง
เลี้ยง จากนั้นเทน้ าในถาด หรื อกะละมัง ผ่านกระชอนผ้าตาถี่ ก็จะได้ไส้เดือนไว้สาหรับเลี้ยงปลา

หมายเหตุ 1. ไม่ควรใช้เศษผักเป็ นอาหาร เพราะจะต้องใช้ในปริ มาณค่อนข้างมาก และเศษผักจะเป็ นตัวการ


ที่ทาให้เกิดน้ าขึ้นมาก ที่ผเู ้ ลี้ยงไส้เดือนดินส่วนใหญ่ มีการเก็บน้ าส่วนนี้จากบ่อเลี้ยง และเรี ยกน้ าที่ได้น้ ีวา่ "นา้ หมักมูล
ไส้ เดือนดิน" บางรายก็อธิบายว่าเป็ นน้ าที่ไส้เดือนดินขับถ่ายออกมา ซึ่งทีจ่ ริงแล้ วเป็ นนา้ ทีเ่ กิดจากการเน่ าสลายของเศษ
ผัก วัชพืช และขยะอินทรีย์ทใี่ ส่ ลงไปเลีย้ งไส้ เดือนดิน

2. หลังจากเวลา 4 - 6 เดือนเมื่อเกิดไส้เดือนมากแล้ว จะสามารถเลี้ยงไส้เดือนดินอย่าง


ต่อเนื่องไปได้เรื่ อย ๆ โดยมีการดูแลแค่การให้อาหาร และความชื้น หากผูเ้ ลี้ยงไม่อยูห่ รื อขาดการดูแล ไป 10 - 20
วัน ผิวหน้าดินจะแห้ง ไส้เดือนดินส่วนใหญ่ก็จะไม่ตาย เพราะสามารถลงไปอยูใ่ นดินที่มีความชื้นด้านล่างได้ เมื่อผู ้
เลี้ยงกลับมาให้น้ าและอาหาร ไส้เดือนดินก็จะกลับขึ้นมาให้เก็บเกี่ยวได้ภายใน 1 - 3 วัน
.
.

ภาพที่ 7 ลักษณะการเลี้ยงไส้เดือนดินในกะละมัง
.
ภาพที่ 8 ลักษณะการเลี้ยงไส้เดือนดินในถังพลาสติค
.
ภาพที่ 9 แสดงภาพตัดขวางลักษณะการใส่ดินในภาชนะเลี้ยงไส้เดือนดิน
.
..

ภาพที่ 10 ลักษณะการเลี้ยงไส้เดือนดินในถังพลาสติคโดยใช้ขวดสังเกตุระดับน้ า

หมายเหตุ การใช้ขวดสังเกตุระดับน้ า จะช่วยให้มีพ้นื ที่ผิวดินในการเลี้ยงไส้เดือนดินมากกว่า


.
ภาพที่ 11 ลักษณะระดับน้ าในขวดสังเกตุระดับน้ า
.
ภาพที่ 12 แสดงภาพตัดขวางลักษณะการใส่ดินในภาชนะเลี้ยงไส้เดือนดินโดยใช้ขวดสังเกตุระดับน้ า
.
ตัดปากขวดด้านบนออก

ใช้ขวดพลาสติกเปล่า ความจุ 1-2 ลิตร


เจาะช่องทางด้านท้ายขวด กว้างพอควร 1-2 แถว

ห่อปิ ดท้ายขวดตรงบริ เวณที่เจาะด้วยผ้าไนล่อน

ภาพที่ 13 แสดงการทาขวดสังเกตุระดับน้ าก่อนใส่ลงในภาชนะเลี้ยงไส้เดือนดิน


.
ภาพที่ 14 ลักษณะผิวดินในบ่อเลี้ยงจะเห็นรู และไส้เดือนดินขนาดเล็กที่โผล่ข้ ึนมา
.
ภาพที่ 15 เมื่อขุดผิวดินลงไปประมาณ 1 เซนติเมตร จะเห็นไส้เดือนดินขนาดเล็กสี ขาว และสี แดง
.
ภาพที่ 16 เมื่อขุดผิวดินลงไปประมาณ 3-5 เซนติเมตร จะพบไส้เดือนดินขนาด3-6 เซนติเมตรที่มี clitellum
สมบูรณ์
.
ภาพที่ 17 ลักษณะการเติมน้ าเพื่อรักษาความชื้น
.
ภาพที่ 18 หลังการเติมน้ า 5-15 นาที ลูกไส้เดือนดินสี ขาวจะขึ้นมารวมกลุ่มเพื่อหนีน้ า
.
เปิ ดหน้าดินลึกลงไปประมาณ 1-2 เซนติเมตร โรยอาหาร

เกลี่ยดินกลับลงมาปิ ดทับอาหาร เติมน้ าเพื่อเพิม่ ความชุ่มชื้น และช่วยทาให้อาหารมีความนุ่ม

ภาพที่ 19 ขั้นตอนการให้อาหารในภาชนะเลี้ยงไส้เดือนดิน
.
ภาพที่ 20 แสดงความหนาแน่นของไส้เดือนดินในภาชนะเลี้ยง
.
ภาพที่ 21 แสดงความหนาแน่นของไส้เดือนดินในภาชนะเลี้ยง

You might also like