You are on page 1of 26

สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.

com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์


บทที่ 1 ตรรกศาสตร์ เบื้ อ งต้ น
1.1 ประพจน์
ประพจน์ คือข้อความที่อยูใ่ นรู ปของประโยคบอกเล่า หรื อประโยคปฏิเสธ ซึ่ งจะเป็ นจริ ง
หรื อเท็จอย่างหนึ่งอย่างใดเท่านั้น
เช่น หนึ่งสัปดาห์มี 7 วัน เป็ นจริ ง ถือว่าเป็ นประพจน์
หนึ่งเดือนมี 45 วัน เป็ นเท็จ ถือว่าเป็ นประพจน์
หนึ่งปี มี 15 เดือน เป็ นเท็จ ถือว่าเป็ นประพจน์
ขอให้โชคดี บอกจริ งเท็จไม่ได้ ไม่ถือว่าเป็ นประพจน์
จะไปไหนกัน บอกจริ งเท็จไม่ได้ ไม่ถือว่าเป็ นประพจน์

1.2 การเชื่อมประพจน์
หากเรามีประพจน์ย่อยหลายๆ ประพจน์ เราสามารถนาประพจน์ยอ่ ยเหล่านั้นมารวมกัน
ให้ประพจน์เดียวได้โดยใส่ ตัวเชื่อมประพจน์ เข้าไประหว่างประพจน์ยอ่ ยเหล่านั้น
ตัวเชื่อมประพจน์มี 4 ตัว ได้แก่
1) และ () 2) หรื อ ()
3) ถ้า.......แล้ว....... (  ) 4) ก็ต่อเมื่อ (  )
เช่ น ไก่มี 2 ขา และ ช้างมีงวง
เมื่ อประพจน์ถูกเชื่ อมด้วยตัวเชื่ อมประพจน์ต่างๆ ประพจน์รวมที่ ได้จะเป็ นจริ งหรื อเท็จ
ให้พิจารณาตามตารางต่อไปนี้
p q p q pq pq pq ~p
T T T T T T F
T F F T F F F
F T F T T F T
F F F F T T T
หมายเหตุ ; นิเสธของประพจน์ใด คือประพจน์ที่มีค่าความจริ งตรงกันข้ามกับประพจน์เดิมนั้น

1
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
ฝึ กทา. จงสร้างตารางต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
p q p q pq pq pq ~p
T T
T F
F T
F F

1.3 การหาค่ าความจริงของประพจน์


1(แนว En) กาหนดให้ p , q , r เป็ นประพจน์ที่มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง เท็จ และเท็จ ตามลาดับ
ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริ งเหมือนกับประพจน์ (p   q)  (r  p)

1. ( r  p )  (q  r) 2. (q   r)  (p  q)

3. (p  r )  (q r) 4. (p  q)  (r  q)

ฝึ กทา. จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์
1. F   = …………… 2.   F = ……………
3. F  ก = …………… 4. ก  F = ……………
5. F  ก   = …………… 6.   F  ก = ……………

ฝึ กทา. จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์
1. T   = …………… 2.  T = ……………
3. T  ก = …………… 4. ก  T = ……………
5. T  ก   = …………… 6.  T  ก = ……………
7. F  ก   = …………… 8.   F  ก = ……………
2
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
ฝึ กทา. จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์
1. F  T = …………… 2. F   = ……………
3.  T = …………… 4. F  ก   = ……………
5.  T  ก = …………… 6. ( F )  = …………
2. จงหาค่าความจริ งของประพจน์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้
ก. (q  r)  (s  p) ถ้า q เป็ น จริ ง ข. (q  r)  (s  p) ถ้า q เป็ นเท็จ
1. ก. จริ ง ข. จริ ง 2. ก. จริ ง ข. เท็จ
3. ก. เท็จ ข. จริ ง 4. ก. เท็จ ข. เท็จ

3. จงหาค่าความจริ งของประพจน์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้
ก. (q  r)  (s  p) ถ้า q เป็ นเท็จ และ s เป็ นจริ ง
ข. ( s  r)  (q  p) ถ้า p เป็ นจริ ง
ค. ( ~p  r)  (q  p) ถ้า p เป็ นจริ ง
1. ก. จริ ง ข. จริ ง ค. จริ ง 2. ก. จริ ง ข. จริ ง ค. เท็จ
3. ก. เท็จ ข. เท็จ ค. เท็จ 4. ก. เท็จ ข. จริ ง ค. เท็จ

4. กาหนดให้ ( p  q )  r มีคา่ ความจริ งเป็ นเท็จ แล้วค่าความจริ งของ p , q , r


คือข้อใดต่อไปนี้ ( ตอบตามลาดับ )
1. T , T , F 2. T , F , F 3. T , F , T 4. F , F , F

5(แนว En) ให้ p , q และ r เป็ นประพจน์ ถ้า (p q)  (q r) มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
แล้วประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้ มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
1. p  q 2. p  r 3. p  q 4. q   r

3
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
6. ถ้า (p  q) และ [ p(q)(pq) ]  [ (pq)  (pq) ] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
และจริ ง ตามลาดับ จงหาค่าความจริ งของ p และ q
1. p = T , q = T 2. p = T , q = F
3. p = F , q = T 4. P = F , q = F

7(แนว En) ให้ p , q , r , s เป็ นประพจน์ ถ้า [ p  (q r) ]  ( s  r ) มีคา่ ความ


จริ งเป็ นจริ ง และ p  s มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. p  q มีค่าความจริ ง เป็ น จริ ง 2. q  r มีค่าความจริ ง เป็ น จริ ง
3. r  s มีค่าความจริ ง เป็ น เท็จ 4. s  p มีค่าความจริ ง เป็ น เท็จ

8(แนว En) ให้ p , q , r เป็ นประพจน์ ถ้าประพจน์ p  (q  r) มีคา่ ความจริ งเป็ นเท็จ
และ (p  q)  r มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง แล้ว พิจารณาค่าความจริ งของประพจน์ต่อไปนี้
ก. ( p  q )   r ข. p  ( q   r)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. จริ ง และ ข จริ ง 2. ก จริ ง และ ข เท็จ
3. ก เท็จ และ ข จริ ง 4. ก เท็จ และ ข เท็จ

4
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
1.4 การสร้ างตารางค่าความจริง
การสร้างตารางค่าความจริ งเป็ นวิธีการหาค่าความจริ งของประพจน์ในทุกกรณี ที่เป็ นไปได้
ตัวอย่าง จงสร้างตารางค่าความจริ งของ (p  q)  (p q)
วิธีทา รู ปแบบของประพจน์ (p  q)  (p q) ประกอบด้วยประพจน์ยอ่ ยสอง
ประพจน์คือ p , q จึงมีกรณี เกี่ยวกับค่าความจริ งที่อาจเกิดขึ้นได้ท้ งั หมด 4 กรณี
p q pq p q p q (p  q)  (p q)
T T T F F F F
T F F F T F T
F T T T F F F
F F T T T T T

ตัวอย่าง จงสร้างตารางค่าความจริ งของ ( p  q )  r


วิธีทา รู ปแบบของประพจน์ ( p  q )  r ประกอบด้วยประพจน์ยอ่ ยสามประพจน์คือ
p , q และ r จึงมีกรณี เกี่ยวกับค่าความจริ งที่อาจเกิดขึ้นได้ท้ งั หมด 8 กรณี
p q r p q (p q )  r
T T T T T
T T F T F
T F T F T
T F F F T
F T T F T
F T F F T
F F T F T
F F F F T

5
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
1.5 รู ปแบบของประพจน์ ทสี่ มมูลกัน
ประพจน์ 2 ประพจน์ จะสมมูลกันได้ก็ต่อเมื่ อค่าความจริ งของ 2 ประพจน์ น้ ัน มี ค่ า
ตรงกันทุกกรณี
ประพจน์ แต่ ละคู่ต่อไปนีส้ มมูลกันเสมอ
1) pq  qp
2) p  q  q p
3) p  ( q  r)  ( p  q )  r
4) p  ( q  r)  ( p  q )  r
5) p  ( q  r )  ( p  q )  ( p  r )
6) p  ( q  r)  ( p  q )  ( p  r)
7) (p q)  p   q
8) (p q)  p   q
9) p  q  p  q
ตัวอย่าง A  B  A  B
K  L  K  L
10)  ( p  q )   (  p  q )  p  q
11) p  q   q   p
12) p  q  ( p  q )  ( q  p)
13) p  ( q  r )  ( p  q )  ( p  r )
14) p  ( q  r )  ( p  q )  ( p  r )
15) ( q  r )  p  ( q  p )  ( r  p )
16) ( q  r )  p  ( q  p )  ( r  p )
17) p  p  p
18) p  p  p
19) p  ~p  F
20) p  ~ p  T

6
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
21) pF  F
22) pT  T
23) pT  p
24) pF  p

ฝึ กทา. จงพิสูจน์วา่ ประพจน์ต่อไปนี้สมมูลกัน


1. ( P  Q )  ( R  S ) กับ ( R  S )  ( P  Q )

2. pq กับ ( q p ) ( q  p)

3. p  ( q  p) กับ p  ( p  q )

4. p  ( qr ) กับ ( p q )  r

9(แนว Pat1) กาหนดให้ p , q , r เป็ นประพจน์ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. ประพจน์ p  (p  (qr)) สมมูลกับประพจน์ p  (q  r )
ข. ประพจน์ p  (q  r) สมมูลกับประพจน์ (q  p)  ~ (p  ~r)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด

7
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
10(แนว En) กาหนดให้ p , q และ r เป็ นประพจน์ ประพจน์ ~[(p  q)  (q  r)] สมมูลกับ
ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้
1. p  ~ (q  r) 2. ~ q  ( ~ p  r)
3. ~( p  q)  (q  r) 4. ~(p  q )  (q  ~ r )

1.6 สั จนิรันดร์
สั จนิรันดร์ คือประพจน์ก็มีค่าความจริ งเป็ นจริ งทุกกรณี
วิธีการตรวจสอบว่าประพจน์ ใดเป็ นสั จนิรันดร์ ( สาหรับโจทย์ทวั่ ไป )
ขั้นที่ 1 ให้สมมุติค่าความจริ งของประพจน์รวม เป็ นเท็จ
ขั้นที่ 2 หาค่าความจริ งของประพจน์ยอ่ ย ๆ
ขั้นที่ 3 พิจารณาค่าความจริ งของประพจน์ยอ่ ย
หากมีความขัดแย้งทุกกรณี จะสรุ ปว่าประพจน์รวมนั้นเป็ นสัจนิรันดร์
หากไม่ขดั แย้งแม้กรณี เดียว จะสรุ ปว่าประพจน์รวมนั้นไม่เป็ นสัจนิรันดร์
วิธีการตรวจสอบว่าประพจน์ ใดเป็ นสั จนิรันดร์ ( สาหรับหรับประพจน์ ทมี่ ีตัวเชื่อม  )
ขั้นที่ 1 พิจารณาว่าประพจน์ดา้ นซ้ายและขวาของ  สมมูลกันหรื อไม่
ขั้นที่ 2 หากประพจน์ดา้ นซ้ายและขวาของ  สมมูลกัน ประพจน์รวมจะเป็ นสัจนิรันดร์
หากประพจน์ดา้ นซ้ายและขวาของ  ไม่สมมูลกัน ประพจน์รวมจะไม่เป็ นสัจนิรันดร์
11. ประพจน์น้ ีเป็ นสัจนิรันดร์ หรื อไม่
ก. [ (p  q)  p]  p ข. ( p  q )  ( p  q)
1. ก. เป็ น ข. เป็ น 2. ก. เป็ น ข. ไม่เป็ น
3. ก. ไม่เป็ น ข. เป็ น 4. ก. ไม่เป็ น ข. ไม่เป็ น

8
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
12. ประพจน์น้ ีเป็ นสัจนิรันดร์ หรื อไม่
ก. [ ( q  p )  q ]  p ข. ( p  q )  ( p  q)
1. ก. เป็ น ข. เป็ น 2. ก. เป็ น ข. ไม่เป็ น
3. ก. ไม่เป็ น ข. เป็ น 4. ก. ไม่เป็ น ข. ไม่เป็ น

13. ประพจน์ต่อไปนี้เป็ นสัจนิรันดร์ หรื อไม่


ก. ( p  q )  (  p  q ) ข.  ( p  q )  (  p   q )
1. ก. เป็ น ข. เป็ น 2. ก. เป็ น ข. ไม่เป็ น
3. ก. ไม่เป็ น ข. เป็ น 4. ก. ไม่เป็ น ข. ไม่เป็ น

1.7 การอ้างเหตุผล
การอ้างเหตุผล คือการใช้เหตุการณ์ซ่ ึ งสมมุติวา่ จะเกิดขึ้นจริ ง มาอ้างถึงผลที่เกิดตามมา
ขั้นตอนการตรวจสอบว่ า การอ้ างเหตุผลนั้น ๆ สมเหตุสมผลหรือไม่
ขั้นที่ 1 สมมุติให้เหตุทุกเหตุเป็ นจริ ง และผลเป็ นเท็จ
ขั้นที่ 2 หาค่าความจริ งของประพจน์ยอ่ ยๆ
ขั้นที่ 3 พิจารณาค่าความจริ งของประพจน์ยอ่ ย
หากมีความขัดแย้งทุกกรณี จะสรุ ปว่าเป็ นการอ้างแบบสมเหตุสมผล
หากไม่ขดั แย้งแม้กรณี เดียว จะสรุ ปว่าเป็ นการอ้างแบบไม่สมเหตุสมผล
14. จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุผลหรื อไม่
เหตุ 1. p  q 2.  p   r
3. s  r 4.  q
ผล s
9
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
15(แนว En) พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
ก. เหตุ 1. p  (q   r ) ข. เหตุ 1. ( p  q )  r
2. q 2.  ( r  s )
3. r 3. p
ผล p ผล  q
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. และ ข. สมเหตุสมผล 2. ก. สมเหตุสมผล ข. ไม่สมเหตุสมผล
3. ก.ไม่สมเหตุสมผล ข. สมเหตุสมผล 4. ก. และ ข. ไม่สมเหตุสมผล

16. จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุผลหรื อไม่


เหตุ 1. สมชายไปว่ายน้ า หรื อ สมหญิงไปเล่นเทนนิส
2. สมหญิงไม่เล่นเทนนิส
ผล สมชายไปว่ายน้ าหรื อไปตลาด

1.8 ประโยคเปิ ด
ประโยคเปิ ด คือประโยคบอกเล่าหรื อประโยคปฏิเสธที่มีตวั แปร และเมื่อแทนตัวแปรด้วย
สมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์แล้วได้ประพจน์
เช่น x + 5 > 0 เมื่อเอกภพสัมพัทธ์เป็ นเซตของจานวนเต็ม

10
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
1.9 ตัวบ่ งปริมาณ
โดยลาพังประโยคเปิ ดอย่างเดียวจะบอกค่าความจริ ง ( บอกว่าเป็ นจริ งหรื อเป็ นเท็จ ) ไม่ได้
แต่ถา้ มีวลีบ่งปริ มาณอยูด่ ว้ ย อาจสามารถบอกค่าความจริ งของประโยคเปิ ดนั้นได้
วลีบ่งปริ มาณมี 2 ตัว คือ
1) x อ่านว่า สาหรับ x บางตัว 2) x อ่านว่า สาหรับ x ทุกตัว
ตัวอย่าง x ( x + 5 = 9)
อ่านว่า “ สาหรับ x บางตัว x + 5 = 9 ” ประโยคนี้เป็ นจริ ง
x ( x + 5 = 9)
อ่านว่า “ สาหรับ x ทุกตัว x + 5 = 9 ” ประโยคนี้เป็ นเท็จ

1.10 ค่ าความจริงของประโยคทีม่ ตี ัวบ่ งปริมาณตัวเดียว


การพิจารณาค่าความจริ งของประโยคเปิ ดใดๆ ต้องพิจารณา 3 ส่ วนต่อไปนี้
1. พิจารณาตัวประโยคเปิ ด
2. พิจารณาวลีบ่งปริ มาณ
3. พิจารณาเอกภพสัมพัทธ์
ควรทราบว่า x [ P (x) ]
1) จะเป็ นจริ ง ก็ต่อเมื่อแทนค่า x ทุกค่าใน U แล้วทาให้ประโยค P(x) เป็ นจริ ง
2) จะเป็ นเท็จ เมื่อมี x ใน U แม้แต่เพียง 1 ตัว ที่ทาให้ประโยค P(x) เป็ นเท็จ
ตัวอย่าง. x ( x + 1  x2 ) กาหนด U = { 2 , 3 , 4 , ……}
อ่านว่า “ สาหรับ x ทุกตัวในเซต { 2 , 3 , 4 , …. } จะได้วา่ x + 1  x2 ”
ประโยคนี้ เป็ นจริ ง เพราะไม่วา่ ใช้เลขใดใน U มาแทน x สมการ x + 1  x2 จะ
เป็ นจริ ง
2. x ( x + 1  x2 ) กาหนด U = { 1 , 2 , 3 , 4 , ……}
อ่านว่า “ สาหรับ x ทุกตัวในเซต { 1 , 2 , 3 , 4 , …… } จะได้วา่ x + 1  x2 ”
ประโยคนี้เป็ นเท็จ เพราะหากแทนค่า x เป็ น 1 สมการ x + 1  x2 จะเป็ นเท็จ

11
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
ควรทราบว่า x [ P (x) ]
1) จะเป็ นจริ ง เมื่อมีค่า x ใน U อย่างน้อย 1 ตัว ที่ทาให้ประโยค P (x) จริ ง
2) จะเป็ นเท็จ เมื่อไม่มี x ใดๆ ใน U ที่ทาให้ประโยค P(x) เป็ นจริ ง
ตัวอย่าง 1. x (x2 > 2x) กาหนด U = { 1 , 2 , 3 }
อ่านว่า “ มี x บางตัวในเซต {1 , 2 , 3 } ที่ทาให้ x2 > 2x ”
ประโยคนี้เป็ นจริ ง เพราะหากแทนค่า x เป็ น 3 สมการ x2 > 2x จะเป็ นจริ ง
2. x (x2 > 2x) กาหนด U = { 0 , 1 , 2 }
อ่านว่า “ มี x บางตัวในเซต {0 , 1 , 2 } ที่ทาให้ x2 > 2x ”
ประโยคนี้เป็ นเท็จ เพราะไม่มีเลขใดใน U ที่ทาให้สมการ x2 > 2x จะเป็ นจริ ง
17. ถ้าเอกภพสัมพัทธ์เป็ น { –1 , 0 , 1 , 2 } ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
1. x  x2 – 1  0  2. x  x2 – 1  0 
3. x  x2 – 1 < 0  4. x  x2 + 1  0 

18(แนว En) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์ คือช่วงเปิ ด (–2 , 2) พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. ประพจน์ x [x + x2  x+ x2 และ x  x2 ] มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ข. ประพจน์ x [ x2 – x – 6  0 ] มีความจริ งเป็ นจริ ง
ข้อความต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

12
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
1.11 สมมูลและนิเสธของประโยคทีม่ ตี ัวบ่ งปริมาณ
นิเสธของฟังก์ชนั ที่ควรทราบมีดงั ตารางต่อไปนี้
นิเสธคือ
x x
P(x) ~ P(x)
 
 
 
 
= 

19(แนว En) นิเสธของข้อความ x [P(x)  Q(x)] คือข้อความในข้อใดต่อไปนี้


1. x [ P(x)  Q(x) ] 2. x [ P(x)  Q(x) ]
3. x [ P(x)  Q(x) ] 4. x [ Q(x)  P(x) ]

20(แนว มช) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็ นเซตของจานวนจริ งบวก


นิเสธของ z m x x  m   1x  z คือประพจน์ในข้อใด
1. z m x x  m   1x  z
2. z m x x  m   1x  z
3. z m x x  m   1x  z
4. z m x x  m  1x  z

13
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
21(แนว En) นิเสธของประโยคสัญลักษณ์ x y xy x + y  0 คือข้อใด
1. x y  x + y  0  xy
2. x y  xy  x + y  0 
3. x y  xy  x + y  0 
4. x y  xy  x + y  0 

22(แนว En) พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. ถ้าให้ประพจน์ p เป็ นจริ ง q เป็ นเท็จ แล้ว
 (p q)  q   p มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ข. นิเสธของประพจน์ x P(x)  Q (x)  x R(x) คือ
x  P(x)  Q (x)  x R(x)
ข้อใดถูก
1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด

1.12 ค่ าความจริงของประโยคทีม่ ตี ัวบ่ งปริมาณสองตัว


ประโยคที่มีตวั บ่งปริ มาณสองตัว สามารถเขียนได้ 8 รู ปแบบ ได้แก่
xy [P(x, y)] xy[P(x , y)] xy[P(x, y)] xy[P(x , y)]
yx [P(x, y)] yx[P(x , y)] yx[P(x, y)] yx[P(x , y)]

14
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
การหาค่าความจริ งของประโยคเหล่านี้ เราจะอาศัยบทนิยามต่อไปนี้
บทนิยาม ประโยค xy [P(x, y)] มีคา่ ความจริ งเป็ นจริ ง ก็ตอ่ เมื่อ แทนตัวแปร x และ y
ด้วยสมาชิก a และ b ทุกตัวในเอกภพสัมพัทธ์ แล้วทาให้ P(a , b) เป็ นจริ งเสมอ
ประโยค xy [P(x, y)] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ก็ต่อเมื่อ แทนตัวแปร x และ y
ด้วยสมาชิก a และ b บางตัวในเอกภพสัมพัทธ์ แล้วทาให้ P(a , b) เป็ นเท็จเสมอ
บทนิยาม ประโยค xy [P(x, y)] มีคา่ ความจริ งเป็ นจริ ง ก็ตอ่ เมื่อ แทนตัวแปร x และ y
ด้วยสมาชิก a และ b บางตัวในเอกภพสัมพัทธ์ แล้ว P(a , b) เป็ นจริ ง
ประโยค xy [P(x, y)] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ก็ต่อเมื่อ แทนตัวแปร x และ y
ด้วยสมาชิก a และ b ทุกตัวในเอกภพสัมพัทธ์ แล้ว P(a , b) เป็ นเท็จ
บทนิยาม ประโยค xy [P(x , y)] มีคา่ ความจริ งเป็ นจริ ง ก็ต่อเมื่อ แทนตัวแปร x
ด้วยสมาชิก a ทุกตัวในเอกภพสัมพัทธ์ แล้วทาให้ประโยค y [P(a , y)] เป็ นจริ ง
ประโยค xy [P(x , y)] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ก็ต่อเมื่อ แทนตัวแปร x
ด้วยสมาชิก a บางตัวในเอกภพสัมพัทธ์ แล้วทาให้ประโยค y [P(a , y)] เป็ นเท็จ
บทนิยาม ประโยค xy [P(x , y)] มีคา่ ความจริ งเป็ นจริ งก็ต่อเมื่อแทนตัวแปร x
ด้วยสมาชิก a บางตัวในเอกภพสัมพัทธ์ แล้วประโยค y [P(a , y)] เป็ นจริ ง
ประโยค xy [P(x , y)] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ก็ต่อเมื่อ แทนตัวแปร x
ด้วยสมาชิก a ทุกตัวในเอกภพสัมพัทธ์ แล้วประโยค y [P(a , y)] เป็ นเท็จ
23(มช 56) ข้อใดมีค่าความจริ ง เมื่อเอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจานวนจริ ง
1. xy [ y2 = x ] 2. xy [ x + y = y ]
3. xy [ x + y = 0 ] 4. xy [ x < y  x2 < y2 ]

15
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
เฉลยบทที่ 1 ตรรกศาสตร์ เ บื้ อ งต้ น
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบ ไม่ สมเหตุผล 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบ สมเหตุผล
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 2.



16
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
ตะลุยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย
บทที่ 1 ตรรกศาสตร์ เบื้ อ งต้ น ชุ ด ที่ 1
1.1 ประพจน์
1.2 การเชื่อมประพจน์
1.3 การหาค่ าความจริงของประพจน์
1(แนว En) กาหนดให้ p , q , r เป็ นประพจน์ที่มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง เท็จ และเท็จ ตามลาดับ
ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริ งเหมือนกับประพจน์ (p   q)  (r  p)
1. ( r  p )  (q  r) 2. (q   r)  (p  q)
3. (p  r )  (q r) 4. (p  q)  (r  q)
2(En 38) ให้ p , q และ r เป็ นประพจน์ ถ้า (p  q)  (q  r) มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
แล้วประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริ งเป็ น จริง
1. p  q 2. p  r 3. p  q 4. q  r
3(En48 มี.ค.) ให้ p , q , r , s เป็ นประพจน์
ถ้า [ (p  q )  r]  (q  s) มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
และ (p  s)  r มีค่าความจริ งเป็ นเท็จแล้ว
ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริ งเป็ น เท็จ
1. p  q 2. q  r 3. r  s 4. s  p
4(En45 มี.ค.) ให้ p , q , r , s เป็ นประพจน์ ถ้า [ p  (q  r) ]  s  r มี ค่าความจริ ง
เป็ นจริ ง และ  p  s มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. p  q มีค่าความจริ ง เป็ นจริ ง 2. q  r มีค่าความจริ ง เป็ นจริ ง
2. r  s มีค่าความจริ ง เป็ นเท็จ 4. s  p มีค่าความจริ ง เป็ นเท็จ
5(แนว มช) ถ้าประพจน์ [ p  (q  r) ]  (q  r) มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ แล้วค่าความจริ ง
ของประพจน์ p , q , r ตามลาดับคือ.......... ( ตอบตามลาดับ )
1. T , T , F 2. T , F , F 3. T , F , T 4. F , F , F

17
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
6(En43 ต.ค.) ให้ p , q , r และ t เป็ นประพจน์ ถ้าประพจน์ (p  q)  (r  s) มี ค่าความ
จริ งเป็ นเท็จแล้ว ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
1. (p  r)  (s  t) 2. (p  s)  (q  t)
3. (p  s)  (r  t) 4. (r  p)  (s  t)
7(En46 มี.ค.) ให้ p , q และ r เป็ นประพจน์ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้า [(p  ~r)  q]  ~(p  q) เป็ นเท็จ แล้ว (p  q)  r เป็ นจริ ง
ข. ถ้า q  ~r เป็ นเท็จแล้ว [p  (q  r) ]  ~q เป็ นเท็จ
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด
8(En44 มี.ค.) กาหนดให้ p , q , r เป็ นประพจน์
ถ้าประพจน์ p  (q  r) มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ และ
( p  q )  r มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง แล้ว
พิจารณาค่าความจริ งของประพจน์ต่อไปนี้
ก. (p  q)  ~r ข. p  ( q  ~r)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก จริ ง และ ข จริ ง 2. ก จริ ง และ ข เท็จ
3. ก เท็จ และ ข จริ ง 4. ก เท็จ และ ข เท็จ
9(แนว Pat1) กาหนดให้ p , q , r เป็ นประพจน์ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้า p  r มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง แล้ว p และ p  [ (q  r)  p] มีค่าความจริ ง
เหมือนกัน
ข. ถ้า p มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ แล้ว r และ (p  q)  r มีค่าความจริ งเหมือนกัน
ข้อใดต่อไปนี้เป็ นจริ ง
1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด

18
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
10(แนว PAT1) ให้ p , q และ r เป็ นประพจน์ใดๆ โดยที่ ~p  q มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. (p  r )  (~q  p) มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ข. (p  r)  [ (p  r)  q ] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
ข้อสรุ ปใดถูกต้อง
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก . ถูก ข. ผิด 3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

1.4 การสร้ างตารางค่าความจริง


1.5 รู ปแบบของประพจน์ ทสี่ มมูลกัน
11(En 35) ประพจน์ที่สมมูลกับประพจน์ p  q คือประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้
1. (p  q )  (q  ~p ) 2. (~q  ~p)  (~q  p )
3. (p ~q )  (q  ~p ) 4. (p  ~q)  (~p  ~q )
12(En 37) ประพจน์ใดต่อไปนี้สมมูลกับประพจน์ (p  r)  (q  r)
1. (p  q)   r 2. (p  q)  r
3. (p  q)  r 4. (p  q)  r
13(En41 ต.ค.) ประพจน์ ~p  (q  (r  p)) สมมูลกับประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้
1. (~p)  q  r 2. p  (~q)  r
3. p  q  (~r) 4. p  (~q)  (~r)
14(En42 มี.ค.) กาหนดให้ p , q และ r เป็ นประพจน์
ประพจน์ ~ [ (p  q)  (q  r ) ] สมมูลกับประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้
1. p  ~ (q  r) 2. ~q  ( ~ p  r)
3. ~ ( p  q)  (q  r) 4. ~(p  q)  (q  ~ r )
15(แนว PAT1) กาหนดให้ p , q , r เป็ นประพจน์ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ประพจน์ p  ( p  (q  r) ) สมมูลกับประพจน์ p  (q  r )
ข. ประพจน์ p  (q  r) สมมูลกับประพจน์ (q  p)  ~ (p  ~ r)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
19
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด
16(En41 เม.ย.) ถ้า p , q , r เป็ นประพจน์โดยที่ ~p  q และ (p  q)  r มีค่าความ
จริ งเป็ นจริ งทั้งคู่พิจารณา
ก. p  (~r  q) มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ข. (q  ~r)  p มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด

1.6 สั จนิรันดร์
17(แนว PAT1) กาหนดให้ p และ q เป็ นประพจน์ ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้เป็ นสัจนิรันดร์
1. [(p  ~q ) ]  ~p]  (p  q) 2. [(p  q )  ~q]  (p  q)
2. ( p  q )  (q  p) 4. (~p  ~q )  (p  q)

1.7 การอ้างเหตุผล
18(En41 ต.ค.) พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้ เมื่อ p , q และ r เป็ นประพจน์
ก. เหตุ 1. p  ( p   q ) ข. เหตุ 1.  p  r
2. p  q 2.  r  s
ผล q 3.  s
ผล p
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก สมเหตุสมผล ข สมเหตุสมผล 2. ก สมเหตุสมผล ข ไม่สมเหตุสมผล
3. ก ไม่สมเหตุสมผล ข สมเหตุสมผล 4. ก ไม่สมเหตุสมผล ข ไม่สมเหตุสมผล

20
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
19(En42 มี.ค.) พิจารณาการให้เหตุผลต่อไปนี้
ก. เหตุ : 1. p  (q  r) ข. เหตุ : 1. p  (q  ~ s)
2. p 2. p  s
3. ~ t  q ผล : q
ผล : r  t
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก และ ข สมเหตุสมผล 2. ก สมเหตุสมผล แต่ ข. ไม่สมเหตุสมผล
3. ก ไม่สมเหตุสมผล แต่ ข สมเหตุสมผล 4. ก และ ข ไม่สมเหตุสมผล
20(En 40) พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
ก. เหตุ : 1. p   q ข. เหตุ : 1. p  q
2. q  r 2. q  r
3.  r 3. r  s
ผล : p ผล : s
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก และ ข สมเหตุสมผล 2. ก สมเหตุสมผล แต่ ข ไม่สมเหตุสมผล
3. ก ไม่สมเหตุสมผล แต่ ข สมเหตุสมผล 4. ก และ ข ไม่สมเหตุสมผล
21(En 39) พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
ก) เหตุ 1. p  q ข) เหตุ p  (r  s)
2. q  s ผล p  (r  s)
3. s
ผล  p  s
ข้อความใดต่อไปนี้ถูก
1. ก และ ข สมเหตุสมผลทั้งคู่
2. ก และ ข ไม่สมเหตุสมผลทั้งคู่
3. ก สมเหตุสมผล แต่ ข ไม่สมเหตุสมผล
4. ก ไม่สมเหตุสมผล แต่ ข สมเหตุสมผล

21
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
22(En42 ต.ค.) พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
ก. เหตุ 1. p (q   r) ข. เหตุ 1. (p  q)  r
2. q 2. (r  s)
3. r 3. p
ผล p ผล  q
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข สมเหตุสมผล 2. ก สมเหตุสมผล แต่ ข ไม่สมเหตุสมผล
3. ก ไม่สมเหตุสมผล แต่ ข สมเหตุสมผล 4. ก และ ข ไม่สมเหตุสมผล
23(En46 ต.ค.) พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
ก. เหตุ ข. เหตุ
1. p  q 1. P(x)  ~Q(x)
2. (q  r)  (s  p) 2. Q(x)  R(x)
3. p  ~r
ผล s  ~ r ผล P(x)  R(x)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก และ ข สมเหตุสมผลทั้งคู่
2. ก สมเหตุสมผล แต่ ข ไม่สมเหตุสมผล
3. ก ไม่สมเหตุสมผล แต่ ข สมเหตุสมผล
4. ก และ ข ไม่สมเหตุสมผลทั้งคู่
24(En43 มี.ค.) กาหนดให้ เหตุ 1. p  q
2. p  (r  s)
3. q  t
4.  t
ผลในข้อใดต่อไปนี้ทาให้การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
1. s  r 2. s   r 3. r   s 4. r  s

22
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
1.8 ประโยคเปิ ด
1.9 ตัวบ่ งปริมาณ
1.10 ค่ าความจริงของประโยคทีม่ ตี ัวบ่ งปริมาณตัวเดียว
25(En47 ต.ค.) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์ คือช่วงเปิ ด (–2 , 2) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ประพจน์ x [x + x2  x+ x2 และ x  x2 ] มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ข. ประพจน์ x [ x2 – x – 6  0 ] มีความจริ งเป็ นจริ ง
ข้อความต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
26(En45 มี.ค.) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้าเอกภพสัมพัทธ์ คือเซต U = (0 , 1)  (2 , ) แล้วประพจน์
x x – 12 2  41 หรื อ x – 12  1 
มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ข. ถ้า p , q , r เป็ นประพจน์แล้ว p  (q  r) สมมูลกับ (p  q)  (p  r)
ข้อใดต่อไปนี้เป็ นจริ ง
1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด
27(En44 มี.ค.) เอกภพสัมพัทธ์ในข้อใดที่ทาให้ขอ้ ความ
( x [x2  2x + 3] )  (y [y2 – 4 > 0] )
มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
1. [–3 , 0] 2. [–1.5 , 1.5] 3. [–1 , 2] 4. [–0.5 , 2.5]

1.11 สมมูลและนิเสธของประโยคทีม่ ตี ัวบ่ งปริมาณ


28(En43 มี.ค.) นิเสธของข้อความ x [ P(x)  Q(x) ] คือข้อความในข้อใดต่อไปนี้
1. x [ P(x)  Q(x) ] 2. x [ P(x)  Q(x) ]
3. x [ P(x)  Q(x) ] 4. x [ Q(x)  P(x) ]
23
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
29(En 40) นิเสธของข้อความ
x y  (xy = 0  x  0)  (y = 0) 
สมมูลกับข้อความในข้อใดต่อไปนี้
1. x y  (xy = 0  x = 0)  y  0 
2. x y  (xy  0  x = 0)  y = 0 
3. x y  xy = 0  x  0  y  0 
4. x y  xy  0  x = 0  y = 0 
30(En 39) นิเสธของข้อความ x y  xy  0  (x  0  y  0) 
คือข้อความในข้อใดต่อไปนี้
1. x y (xy  0)  (x  0  y  0)
2. x y (xy  0)  (x  0  y  0)
3. x y (xy  0)  (x  0  y  0)
4. x y (xy  0)  (x  0  y  0)
31(En41 เม.ย.) ข้อความข้างล่างนี้ขอ้ ใด ไม่ใช่นิเสธของข้อความ x [P(x)  ~Q(x)]
1. x [~P(x)  Q(x)] 2. x [P(x)  Q(x)]
3. x [~Q(x)  ~Px)] 4. x [P(x)  ~Q(x)]
32(แนว Pat1) กาหนดให้ P(x) และ Q(x) เป็ นประโยคเปิ ด
ประโยค x [ P(x) ]  x [ ~ Q(x) ] สมมูลกับประโยคในข้อใดต่อไปนี้
1. x[~P(x)]  x [ Q(x)] 2. x[Q(x)]  x [~ P(x)]
3. x[P(x)]  x[Q(x)] 4. x [~ Q(x)]  x[ P(x)]
33(En47 ต.ค.) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้าประพจน์ [ p  (q  r) ]  (r  s) มีค่าความจริ งเป็ นเท็จแล้ว p  q  s มีค่า
ความจริ งเป็ นเท็จ
ข. นิเสธของข้อความ x y [ (x  y)  (x2  y) ] คือ xy [(x  y)  (y  x2)]
ข้อความใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
24
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
34(En45 มี.ค.) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้า p , q เป็ นประพจน์ โดยที่ p มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง และ q  (p  q)
เป็ นสัจนิรันดร์แล้ว q มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ข. นิเสธของข้อความ x [(P(x))  Q(x)  (R(x))]
คือข้อความ x [Q(x)  (P(x)  (R(x))]
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

1.12 ค่ าความจริงของประโยคทีม่ ตี ัวบ่ งปริมาณสองตัว


35(En48 มี.ค.) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้าเอกภพสัมพัทธ์คือ เซตของจานวนเต็ม แล้ว
ข้อความ m n [5m + 7n = 1] มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ข. นิเสธของข้อความ x y [(x2 – 2x  y – 2)  (y  sin x)]
คือ x y [(x2 – 2x < y – 2 )  (y < sin x)]
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
36(แนว Pat1) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ให้เอกภพสัมพัทธ์ คือเซตของจานวนเฉพาะบวก
ข้อความ x y [ x2 + x + 1 = y ] มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ข. นิเสธของข้อความ x [ P(x)  [Q(x)  R(x)] ]
คือ x [ P(x)  ~Q(x)  ~R(x) ]
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด

25
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 1 ตรรกศาสตร์
37(แนว Pat1) กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือเซต { –2 , –1 , 1 , 2 } ประโยคในข้อใดต่อไปนี้ มี
ค่าความจริ งเป็ นเท็จ
1. xy  x  0  x= y + 1  2. xy x  y  – (x + y)  0 
3. xy  x + y = 0  x – y = 0  4. xy x<y  x>y



เฉลยตะลุยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย
บทที่ 1 ตรรกศาสตร์ เบื้ อ งต้ น ชุ ด ที่ 1

1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 1.


5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 2. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 3.
37. ตอบข้ อ 4.



26

You might also like