You are on page 1of 28

รายงานโครงงานเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี)

จัดทาโดย
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/8 ปี การศึกษา 2561

นาเสนอ
คุณครู ณรงค์ คากาหลง

รายงานโครงงานเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี)

วิชา วิทยาศาสตร์(ว30101)

ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2561

กลุ่มสาระรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์(การออกแบบและเทคโนโลยี)

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10

โรงเรี ยนประจวบวิทยาลัย
คานา
โครงงานฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา วิทยาศาสตร์(การออกแบบและเทคโนโลยี)
โดยมีจุดประสงค์เพื่อประกอบการศึกษาตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดั ซึ่งเนื้อหานี้มี
รายงานเกี่ยวกับ ระบบทางเทคโนโลยีที่ซบั ซ้อน , การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี , ผลกระทบ
ของเทคโนโลยี , วัสดุและเครื่ องมือพื้นฐาน , กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ , กระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม

ผูจ้ ดั ทาหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า โครงงานฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์ต่อผูส้ นใจทุกคน โดยมี


ลาดับเนื้อหาเป็ นขั้นตอนตามหลักสู ตรหนังสื อวิทยาศาสตร์(การออกแบบและเทคโนโลยี)
ทั้งหมด 6 บทตามประสงค์ของรายวิชา หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ขอน้อมรับและขออภัยมา
ณ ที่น้ ีดว้ ย
สารบัญ
บทที่ เนื้อหา

บทที่ 1

ระบบทางเทคโนโลยีทซี่ ับซ้ อน
บทนา

ระบบเช่นการทางานอย่างเป็ นระบบการคิดเป็ นระบบบางครั่งเราพูดถึงระบบต่างๆ ในร่ างกาย


มนุษย์ท้ งั ระบบย่อยอาหาร ขับถ่าย หายใจ หรื อระบบของสิ่ งต่างๆที่เราใช้ในชีวติ ประจาวัน

ระบบคืออะไร?

เป็ นคาที่ใช้เรี ยกแทนสิ่ งต่างๆ ที่มีส่วนประกอบตัง่ แต่ 2 ส่ วนขึ้นไปและทางานสัมพันธ์กนั เพื่อให้


สามารถทางานได้ตามหน้าที่เช่น ปากกา ประกอบไปด้วยด้ามจับน้ าหมึก ไส้ปากกา และหัวปากกา
โดยทัว่ ไปแล้วระบบพบได้ในธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น ระบบลาเลียงน้ าของพืช ระบบหายใจย่อยอาหาร
ของมนุษย์ ระบบทางเทคโนโลยีเป็ นระบบที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อแก้ไขปั ญหาอานวยความสะดวก เช่น ระบบ
ทางคมนาคม ขนส่ ง เช่น ระบบรถไฟฟ้า ระบบทางานของปากกาและดินสอกด ถือว่าเป็ น

ระบบทางเทคโนโลยี

จะประกอบไปด้วย ตัวป้ อน กระบวนการและผลผลิตที่สัมพันธ์กนั

ระบบทางเทคโนโลยีทซี่ ับซ้ อน

ประกอบไปด้วย ระบบย่อยทางานสัมพันธ์กนั อยู่ หากอันใดผิดพลาดจะส่ งผลต่อการทางานของ


ระบบนั้นไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค์หรื อไม่สมบูรณ์ประกอบไปด้วยระบบย่อยหลายส่ วนทางานร่ วมกัน
เป็ นระบบที่ซบั ซ้อนเช่นระบบเครื่ องปรับอากาศ ซึ่ งมีระบบย่อยอยูภ่ ายในหลายส่ วน ส่ งออกมาเป็ นอากาศ
เย็น เรี ยกว่า ผลผลิตของการทางานเครื่ องปรับอากาศ
การทางานผิดพลาดของระบบ
-ระบบที่ผดิ พลาดและสาเหตุแผ่นกรองอากาศอุดตันทาให้เครื่ องทาความเย็นทางานไม่สะดวกเลยทาให้
เครื่ องทางานอย่างไม่มีประสิ ทธิ ภาพ

-คอมเพรสเซอร์ ไม่ทางาน มีผลทาให้สารทาความเย็นจากคอยล์เย็นไม่สามารถไหลไปสู่ คอยล์ร้อน


-ระบบลดความดัน เกิดการอุดตันทาให้สารทาความเย็นไม่สามารถทางาน
-คอยล์ร้อน กรณี พดั ไม่ทางาน พัดลมไม่ทางานมาสามารถระบายความร้อนออกไปได้

แนวทางการแก้ไขความผิดพลาด

ในความผิดพลาดของระบบมีความซับซ้อนอาจเป็ นอันตรายต้องอาศัยผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านนั้น


เมื่อพบความผิดพลาดของระบบ เราสามารถตรวจสอบเบื้องต้นด้วยต้นเอง โดยใช้ความรู ้เกี่ยวกับระบบการ
ทางานของเทคโนโลยี และเมื่อพบจุดบกพร่ องของระบบที่ไม่ยากหรื อซับซ้อนเกินไป นักเรี ยนสามารถ
แก้ปัญหาได้เอง แต่หากกรณี มีขอ้ ผิดพลาดของระบบที่มีความซับซ้อน หรื ออาจมีอนั ตรายหากแก้ไขด้วย
ตัวเอง จาเป็ นต้องอาศัยผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาแก้ไข
บทที่ 2

การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
บทนา

เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได้แก่ความก้าวหน้าของศาสตร์ ต่างๆ เช่น สภาพเศรษฐกิจ


สังคม วัฒนธรรม และสิ่ งแวดล้อม

สาเหตุหรื อปัจจัยการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี

โดยทัว่ ไปเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลงได้และเกิดขึ้นอยูต่ ลอดเวลาในชีวิตประจาวัน ทาให้เกิดการ


เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง เช่น การใช้อินเตอร์ เน็ตเชื่ อมต่อและการติดต่อสื่ อสารกันได้รวดเร็ ว
และความก้าวหน้าของศาสตร์ ต่างๆ เช่นปั จจัยจากสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่ งแวดล้อม รวมทั้ง
ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นขณะนั้น ความต้องการของมนุษย์เพื่อที่จะแก้ไขปั ญหา

ตัวอย่ างการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการแพทย์และสุ ขภาพ

1) เครื่ องเป่ าความดันลม


2) หูฟังแพทย์
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีดา้ นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

บรรจุภณั ฑ์จากโฟมใช้บรรจุอาหาร

บรรจุภณั ฑ์มาเพื่อช่วยจากวัสดุธรรมชาติใช้บรรจุอาหาร

เมื่อมนุษย์ประสบปั ญหาหรื อต้องการเทคโนโลยีการทางาน ดาเนิ นชีวติ จึงสร้างพัฒนาเทคโนโลยีข้ ึนมาเพื่อ


ช่วยอานวยความสะดวก ปั ญหา หรื อ ความต้องการของมนุษย์น้ ีจึงเป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้มีการพัฒนา
เทคโนโลยี
บทที่ 3

ผลกระทบของเทคโนโลยี
บทนา

การดาเนิ นชีวติ ของมนุษย์ในยุคปั จจุบนั มีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงอยูก่ บั ความเจริ ญก้าวหน้า


ทางด้านเทคโนโลยี ซึ่งเทคโนโลยีเป็ นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้มนั่ คงและเติบโตอย่าง
ต่อเนื่อง นาไปสู่ การยกระดับคุณภาพชีวติ อย่างไรก็ตามมนุษย์จาเป็ นต้องเตรี ยมรับมือกับผลกระทบที่อาจ
เกิดการใช้

ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อมนุษย์ และสั งคม

ความเจริ ญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบ เช่นความเจริ ญก้าวหน้า


ด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุ ข แม้อยูไ่ กลก็สามารถได้รับการรักษาได้ทนั เนื่ องจากมีการ
รักษาทางการแพทย์ทางไกล ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เช่นหุ่ นยนต์และระบบ
อัตโนมัติมีการนามาใช้แทนที่มนุษย์

ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ

ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิต เช่น การมีเทคโนโลยีส่ง


ผลกระทบต่อกระบวนการผลิต เช่นการมีเทคโนโลยีการผลิตที่ทนั สมัย ช่วยให้ประหยัดต้นทุนการผลิต ผลิต
สิ นค้าได้ปริ มาณมาก และสิ นค้ามีประสิ ทธิ ภาพสู ง ส่ งผลให้มีรายได้จากการผลิตสิ นค้าได้ในปริ มาณมาก
และสิ นค้ามีสิทธิ ภาพสู ง และมีการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ ความก้าวหน้าทางด้านอุสาหกรรม ทาให้มี
แรงงานเพิ่มขึ้น อาจก่อเกิดการเสี ยดุลทางการค้า

ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่ งแวดล้อม

การพัฒนาและการสร้างเทคโนโลยี ส่ งผลให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มขึ้นอย่างมาก ก่อให้มี


การใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มมากขึ้นอย่างมาก ก่อให้เกิดปั ญหาด้านสิ่ งแวดล้อม เช่น มลพิษทางดิน น้ า
อากาศ เสี ยง หรื อการปนเปื้ อนของสารพิษ แต่ในขณะเดียวกัน เช่น เทคโนโลยีบาบัดน้ าเสี ย เป็ นการบาบัด
น้ าเสี ยให้มีสมบัติตามมาตรฐาน

ตัวอย่ างการวิเคราะห์ ผลกระทบของเทคโนโลยี

กรณีโครงการแกล้งดิน

โครงการแกล้งดินแกล้งดินเป็ นการแก้ปัญหาดินเปรี้ ยวหรื อดินที่มีความเป็ นกรดมาก จึงมีการหาแนวทางใน


การปรับปรุ งดิน ดังนั้นโครงการแกล้งดิน จึงเป็ นโครงการที่ก่อให้เกิดประโยชน์กบั ประชาชนและเกษตรกร
ส่ งผลให้เกษตรกรสามารถประกอบอาชีพ

ผลกระทบต่อ ด้านบวก ด้านลบ แนวทางป้องกันและแก้ไข


มนุษย์และสังคม ไม่ก่อให้เกิดการย้าย ใช้แรงงานในการ ใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการ
ถิ่น ปรับปรุ งดิน ทางานและมีการวางแผนการ
จัดการแรงงาน
เศรษฐกิจ มีผลผลิตและรายได้ มีตน้ ทุนในการปรับปรุ ง มีการวางแผนการดาเนินงาน
สู งขึ้น ดิน และคานวณปริ มาณสารเคมีที่
ใช้
สิ่ งแวดล้อม ดินมีสภาพเหมาะสม อาจเกิดปั ญหาสารเคมี มีการวางแผนการดาเนินงาน
ต่อการเพาะปลูก เป็ น ตกค้างในกรณี ใช้ ใช้สารเคมีอย่างรัดกุมและ
การใช้พ้นื ที่อย่างคุม้ ค่า สารเคมีมากเกินความ เหมาะสม
และเกิดประโยชน์ จาเป็ น
สู งสุ ด
กรณีการสร้ างสนามบิน

เป็ นการคมนาคมทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศที่สะดวกรวดเร็ วมากที่สุด เนื่องจากประชากร


เพิ่มขึ้นเพื่อรองรับความต้องการ เช่นพื้นที่ก่อสร้าง ขนาดพื้นที่สนามบิน ความเหมาะสมในการเดินทาง และ
งบประมานในการก่อสร้าง

ผลกระทบต่อ ด้านบวก ด้านลบ แนวทางแก้ไข


มนุษย์และสังคม -การคมนาคมขนส่ ง -มีการเวนคืนที่ดินทาให้ -หาพื้นที่ ที่เหมาะสมใน
สะดวก ขนส่ งมนุษย์ มีการย้ายที่อยู่ การสร้างสนามบิน
หรื อสิ นค้าอุปโภค -ปัญหาจราจร ปั ญหา -การเวนคนที่ดินจะต้อง
-เพิ่มทางเลือกในการ มลพิษทางเสี ยง ให้ราคาที่เป็ นธรรม
เดินทาง ใช้เวลาน้อยลง
เศรษฐกิจ -รายได้เพิ่มขึ้น -งบประมาณในการ -รัฐบาลต้องหาแหล่ง
-เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ก่อสร้างสู งรัฐบาล เงินทุนที่เหมาะสม
-เพิม่ มูลค่าสิ นค้าทาง -อาจก่อให้เกิดหนี้ -วางแผนในการ
เกษตร สาธารณะ ดาเนินงานอย่างรัดกุม
สิ่ งแวดล้อม -การบริ หารจัดการ -มลพิษทางเสี ยง -กาหนดวิธีการบินที่
ทรัพยากรเพื่อให้เกิด เนื่องจากการบิน ปลอดภัยและทาให้เกิด
ประโยชน์สูงสุ ด -มลพิษทางอากาศ เสี ยงน้อย
-มลพิษทางน้ า เนื่องจาก -นาเชื้ อเพลิงอากาศยาน
มีการปล่อยสารเคมี ชีวภาพ
-มีระบบบาบัดน้ าเสี ยที่
ทันสมัย ไม่ปล่อยน้ าเสี ย
-สนามบินต้องสร้างให้
ห่างจากที่อยูอ่ าศัย
ระยะทาง 30 กิโลเมตร
บทที่ 4

วัสดุและเครื่ องมือพืน้ ฐาน


วัสดุมีหลากหลายประเภท ทั้งจากธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น หรื อที่เรี ยกว่า วัสดุสังเคราะห์
วัสดุบางประเภทสามารถนามาใช้โดยไม่ตอ้ งแปรรู ป หรื อมีการแปรรู ปให้เหมาะสมก่อนนาไปใช้งาน
ตัวอย่างของวัสดุคือ ไม้ หิ น ดิน ทราย โลหะ เซรามิค และอื่นๆ

4.1 สมบัติของวัสดุ

วัสดุต่างๆมีสมบัติเฉพาะตัวต่างกันออกไป ดังนั้นต้องเลือกใช้วสั ดุให้เหมาะสมกับการใช้งาน


ตัวอย่างเช่น

1.สภาพยืดหยุน่ เป็ นสมบัติของวัสดุที่เปลี่ยนแปลรู ปร่ างเมื่อมีแรงกระทา และกลับคืนสู่ สภาพเดิม


เมื่อหยุดออกแรงกระทาต่อวัสดุน้ นั เช่น ยาง สปริ ง สายเคเบิล

2.ความแข็งแรง เป็ นสมบัติในการรับน้ าหนักหรื อแรงกดทับ โดยยังคงสภาพได้ไม่แตกหัก วัสดุที่


รับน้ าหนักได้มากจะมีความแข็งแรงมากกว่าวัสดุที่รับน้ าหนักได้นอ้ ย เช่น เหล็ก คอนกรี ต และอื่นๆ

3.การนาความร้อน เป็ นการถ่ายเทความร้อนภายในวัสดุ หรื อระหว่างสองวัสดุสองชิ้นที่สัมผัสกัน มี


2 ประเภทคือ ตัวนาความร้อนและฉนวนความร้อน ตัวนาความร้อนคือวัสดุที่ความร้อนผ่านได้ดี เช่น เหล็ก
อะลูมิเนียม ทองเหลือง ส่ วนวัสดุที่เป็ นฉนวนความร้อน คือวัสดุที่นาความร้อนได้ไม่ดี เช่น ไม้ พลาสติก ผ้า
และอื่นๆ
4.2 วัสดุน่ารู้

โลหะ(Metal)

วัสดุสมัยใหม่
(Modern ไม้(wood)
Material)

วัสดุผสม เซรามิค
(Composite) (Ceramic)

1.โลหะ เป็ นวัสดุที่ได้จากการถลุงสิ นแร่ ต่างๆเช่นเหล็ก โลหะ อะลูมิเนียม นิกเกิล ดีบุก และอื่นๆ โลหะที่
ได้จากการถลุงสิ นแร่ ส่ วนใหญ่จะเป็ นโลหะเนื้อค่อนข้างบริ สุทธิ์ ต้องนาไปผ่านกระบวนการปรับปรุ ง
สมบัติก่อนการใช้งาน มี 2 ประเภท คือ

1.1 โลหะประเภทเหล็ก เป็ นโลหะที่มีธาตุเหล็กเป็ นส่ วนใหญ่ นิยมใช้กนั ในวงการอุตสาหกรรม เนื่ องจากมี
ความแข็งแรง ทนทาน และสามารถเปลี่ยนแปลงคุณภาพและรู ปร่ างรู ปทรงได้หลายวิธี เช่น การหล่อ การ
กลึง การอัดรี ดขึ้นรู ป เช่น เหล็กฉาก เหล็กเส้นกลม เหล็กกล่อง และอื่นๆ

1.2 โลหะประเภทไม่ใช่เหล็ก เป็ นโลหะที่ไม่มีธาตุเหล็กเป็ นองค์ประกอบ ดังนั้นโลหะประเภทนี้ จึงไม่เกิด


สนิท ซึ่ งโลหะแต่ละประเภทมีสมบัติเฉพาะตัวต่างกัน จึงเหมาะกับการใช้งานเฉพาะด้านที่แตกต่างกัน
ตัวอย่างของโลหะที่ไม่ใช่เหล็ก เช่น สังกะสี ทอง อะลูมิเนียม และ สแตนเลส
2.ไม้ (wood) เป็ นวัสดุพ้ืนฐานที่ถูกนามาใช้อย่างแพร่ หลาย เนื่องจากไม้เป็ นธรรมชาติสวยงามแข็งแรง

ข้ อเสี ยของไม้

-เสื่ อมสภาพตามอายุ

-ดูดความชื่น

-ผุง่าย

-ติดไฟง่าย

-ทาลายโดยปลวก แมลง มอด

2.1 ไม้สังเคราะห์พลาสติก

เป็ นวัสดุทนแทนธรรมชาติที่เกิดจากผงไม้ ขี้เลื่อยไม้ หรื อเส้นใยไม้ มาผสมกับพลาสติก ซึ่ งสมบัติของไม้


สังเคราะห์พลาสติก จะขึ้นอยูก่ บั สัดส่ วนของไม้และพลาสติกมาผสมกัน

2.1.1 ไฟเบอร์ บอร์ ดความหนาแน่นปานกลาง

-เป็ นไม้สังเคราะห์ ที่ผลิตจากการบดเนื้ อไม้อ่อนที่เป็ นเส้นใย ผ่านกระบวนการอัดประสานกันเป็ นชิ้นไม้


ด้วยกาว มีลกั ษณะคล้ายไม้อดั แต่ลกั ษณะโครงสร้างของไม้จะต่างกันตามส่ วนประกอบของเศษไม้

2.1.2 พาร์ติเคิลบอร์ ด

-เป็ นไม้สังเคราะห์ผลิตจากเศษไม้หรื อขี้เลื่อย ประสานกันด้วยสารเคมีโดยผ่านกระบวนการอัดด้วยความ


ดันสู งซึ่งมีขอ้ ดี คือ ราคาถูก มีความสวยงาม แต่มีความแข็งแรงน้อย ไม่สามารถต้านทานศัตรู ไม้เช่น ความ
ชื่น แมลงกินไม้ อายุการใช้งานของไม้
2.2 ไม้สังเคราะห์ไฟเบอร์ซีเมนต์
เป็ นไม้สังเคราะห์ที่มีส่วนผสมของปูน ทรายและผงไม้โดยผ่านกระบวนการอัดขึ้นรู ป ซึ งมีความแข็งแรง
เทียบทานคอนกรี ต

-ส่ วนใหญ่ใช้ในการก่อสร้างได้หลายอย่าง สามารถใช้ได้ท้ งั ภายในภายนอกอาคาร

3. เซรามิค

-เซรามิคเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ทาจากวัตถุดิบในธรรมชาติ เช่น ดิน หิ น ทราย และธาตุต่างๆนามาผสมกันหลัง


จากนั้นนาไปเผาเพื่อความแข็งแรง และคงรู ป

ถ้วยตราไก่ทาจาก เซรามิค
ประเภทของกระจก

ประเภทของกระจก รายละเอียด ผลิตภัณฑ์


เป็ นกระจกที่พบได้ทวั่ ไปมีความ
แข็งแรงน้อย ผิวกระจกเป็ นรอย
กระจกแผ่น
ขีดง่าย นิยมใช้เป็ นกรอบรู ปใช้
สาหรับเครื่ องเรื อน

เกิดจากการฉาบโลหะเงินลงไป
ด้านใดด้านหนึ่งของกระจกเงา
ทัว่ ไปต้องมีผวิ เรี ยบเสมอกัน
กระจกเงา
สามารถสะท้อนภาพวัตถุได้

กระจกที่มีสารเคลือบสะท้อน
แสงไว้ที่ผวิ หน้า ทาให้สามารถ
สะท้อนแสงได้ 20-30 % ช่วยลด
กระจกสะท้อนแสง
ความร้อนภายในอาคาร

เป็ นกระจกที่แข็งแรงกว่ากระจก
ธรรมดา 5-10 เท่า เมื่อกระจกแตก
กระจกนิรภัย
จะกระจายออกเป็ นเม็ดเล็กๆ
คล้ายเม็ดข้าวโพด
เป็ นกระที่แข็งแรงกว่ากระจก
ธรรมดา 2-3 เท่า เมื่อกระจกแตก
กระจกกึ่งนิรภัย จะมีลกั ษณะเป็ นปากปลาฉลาม
ยึดติดกับกรอบไม่ร่วงหล่น

เป็ นการนากระจกตั้งแต่ 2แผ่นมา


ประกบกันโดยบรรจุฉนวนไว้
กระจกฉนวนความร้อน ด้านในเพื่อให้มีการเก็บรักษา
อุณาภูมิภายในได้
วัสดุผสม

วัสดุผสมเป็ นวัสดุที่มีต้ งั แต่ 2 ชนิดขึ้นไปเข้าด้วยกันโดยวัสดุที่ผสมเข้ากันด้วยกันจะต้องละลายซึ่ งกันและ


กัน ซึ่ งวัสดุที่มีปริ มาณมากกว่าจะเรี ยกว่าเป็ นวัสดุหลัก และมีวสั ดุอีกชนิดหรื อหลายชนิดที่กระจายหรื อ
แทรกตัวอยูอ่ ยูใ่ นเนื้อวัสดุหลัก เรี ยกว่าวัสดุเสริ มแรง

4.1) วัสดุเชิงประกอบพอลิเมอร์
- เป็ นการเสริ มแรงให้พอลิเมอร์ โดยเติมเส้นใย เสริ มแรง เช่นเส้นใยแก้ว ไฟเบอร์ กลาส เส้นใย
คาร์ บอน เส้นลวด โลหะ ลงในพอลิเมอร์ ซ่ ึ งเป็ นวัสดุหลัก ส่ วนใหญ่ทาเพื่อผลิต หลังคารถกระบะ ถังน้ าใหญ่

4.2) วัสดุเชิงประกอบโลหะ
- วัสดุผสมกลุ่มนี้ มีโลหะเป็ นวัสดุหลัก เช่นอะลูมิเนียม ส่ วนวัสดุเสริ มแรงของคอมโพสิ ตกลุ่มนี้
เป็ นวัสดุเซรามิค หรื อสารเสริ มแรงโลหะ

4.3) วัสดุเชิงประกอบเซรามิค
- เซรามิคเป็ นวัสดุที่มีความทนทานต่อการใช้งานที่อุณหภูมิสูง ไม่นาความร้อน ทนทานต่อการกัด
กร่ อน แต่เปราะและหักง่ายดังนั้นจึงมีการผสมสารเสริ มแกร่ ง
เครื่ องมือสาหรับการตัด

1) คีมปากแหลม

-เป็ นคีมขนาดเล็กที่มีปากเล็กยาวใช้สาหรับ บีบ ดัด องศาของวัตถุขนาดเล็กที่ไม่แข็งมากคีม

ปากยาวควรใช้ในงานเล็ก

2) คีมตัดปากเฉียง

-เป็ นเครื่ องมือสาหรับการตัดวัสดุชิ้นเล็กที่ไม่แข็งเช่น สายไฟ เส้นลวด นอกจากนี้ยงั สามรถใช้จบั


-เป็ นเครื่ องมือสาหรับการตัดวัสดุชิ้นเล็กที่ไม่แข็งเช่น สายไฟ เส้นลวด
นอกจากนี้ยงั สามรถใช้จบั หรื องอวัสดุได้

3) เลื่อยรอ

-เป็ นเครื่ องมือสาหรับตัดแต่งไม้มีฟันละเอียด ทาให้ผิวหน้าเรี ยบหรื อการตัดแต่งหิ้ วหน้าที่ถูกตัด


4) เลื่อยจิกซอ

-เป็ นเลื่อยไฟฟ้าใช้สาหรับตัดไม้ที่ทางานโดยใช้ใบเลื่อย ซึ่ งมีฟันละเอียดเคลื่อนที่ข้ ึนลงและตัดชิ้นงาน


ไปตามต้องการ

5) เลื่อยตัดเหล็ก

- เป็ นสาหรับตัดเหล็กหรื อโลหะต่างๆโดยใช้ใบเลื่อยฟันละเอียดแล้วมี น็อตหางปลาไว้ใช้สาหรับ


ขันใบเรื่ อยให้แน่นและตึงก่อนใช้

6) เลื่อยวงเดือน

- เป็ นเครื่ องมือมีประโยชน์มากในงานตัดทั้งตัดตรงและ


เอียง ตัดซอยและเซาะรอยชิ้นงาน

7) เลื่อยไฟเบอร์

- เป็ นเครื่ องมือตัดเร็ วสู งที่นิยมใช้มากในงานซ่ อมและงานผลิตเกือบทุกชนิ ดเนื่ องจากมีความ


สะดวก
บทที่ 5

กลไกล ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์


5.1 กลไกล
-มนุษย์รู้จกั การการนาอุปกรณ์บางประเภทเข้ามาช่วยในการทางานและช่วยอานวยความสะดวกตั้งแต่
อดีต เช่น รอก พื้นเอียง คาน และได้พฒั นามาเป็ นกลไกลต่างๆโยประยุกต์ใช้เป็ นส่ วนประกอบในการ
ก่อสร้าง

5.1.1 เฟื อง
-เฟื องเป็ นชิ้นส่ วนเครื่ องกลที่มีรูปร่ างโดยทัว่ ไปเป็ นจานแบบรู ปทรงกลม ส่ วนขอบมีลกั ษณ์เป็ น
แฉก เฟื องผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ส่งกาลังในลักษณะการบิด
ประเภทของเฟื อง ลักษณะการใช้งาน

เฟื องตรงเป็ นเฟื องที่ใช้งานมากที่สุดเป็ นเฟื องฟันที่


ขนานกันแกนหมุนและใช้ได้ท้ งั การส่ งกาลังการ
หมุนจากเพลหนึ่งไปอีกเพลาหนึ่งเปลี่ยนขนาด
แรงบิด
เฟื องตรง

เฟื องสะพานมีลกั ษณะเป็ นแท่งยาวตรง มีฟันเฟื อง


อยูด่ า้ นบนสบอยูก่ บั ส่ วนที่เป็ นฟันเฟื องของเฟื อง
สะพาน

เฟื องสะพาน

มีลกั ษณะเช่นเดียวกับเฟื องตรง แต่ฟันเฟื องจะอยู่


ด้านในวงกลม และต้องใช้คู่กบั เฟื องเล็กกว่าจะสบ
อยูภ่ ายในเฟื องวงแหวน

เฟื องวงแหวน

มีรูปทรงคล้ายกรวยมีท้ งั แบบเฟื องตรง และแบบ


เฟื องเฉี ยงเป็ นเฟื องสองตัวที่สบกันในลักษณะแนว
เพลาของเพลาทั้งคู่

เฟื องดอกจอก
อุปกรณ์ ไฟฟ้า
1) มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรง

- เป็ นมอเตอร์ ที่ตอ้ งใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง เช่น เซลล์ไฟฟ้า หรื อแบตเตอรี่ มอเตอร์ ประเภทนี้
สามารถควบคุมการหมุนให้หมุนตามเข็มนาฬิกาหรื อหยุดหมุนได้ง่าย อัตราความเร็ วอยูก่ บั
แรงเคลื่อนไฟฟ้าหรื อความต่างศักย์ไฟ

2) มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ

-มอเตอร์ ที่ตอ้ งใช้กบั แหล่งจ่ายไฟฟ้าที่ในบ้านเรื อน ในชี วติ ปะจาวันมีลกั ษณะการเคลื่อนไหวแบบหมุน


เช่น เครื่ องซักผ้า พัดลม เครื่ องปั่ น
ประเภทของมอเตอร์ และการนาไปใช้

ประเภทของอุปกรณ์ อุปกรณ์ การนาไปใช้

เป็ นมอเตอร์ ขนาดเล็กมีกาลัง


มอเตอร์แบบหนึ่งเฟส พิกดั ต่ากว่า 1 แรงม้า จะใช้กบั
ความต่างศักย์ 220 โวลต์

เป็ นมอเตอร์ที่ใช้งานในการ
อุตสาหกรรม
มอเตอร์แบบสามเฟส

แผงควบคุมขนาดเล็ก

แผงควบคุมขนาดเล็ก ซึ่ งบรรจุความสามารถที่คล้ายคลึงกับระบบคอมพิวเตอร์ โดยในแผงควบคุมได้รวม


เอา ซีพีย,ู หน่วยความจา และพอร์ ต ซึ่ งเป็ นส่ วนประกอบหลักสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์ เข้าไว้ดว้ ยกัน
โดยทาการบรรจุเข้าไว้ในตัวถังเดียวกัน
เป็ นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ตวั ควบคุมขนาดเล็กที่สามารถโปรแกรมได้ เรี ยกว่า ไมโครคอนโทรลเลอร์
(microcontroller) ทางานร่ วมกับวงจรเชื่ อมต่อและโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม
ใช้งานและสื่ อสารข้อมูล โดยปั จจุบนั มรแผงตัวควบคุมขนาดเล็กหลายประเภท เช่น

แผงวงจร IPST-Link

แผงวงจร IPST MicroBOX


บทที่ 6

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

6.1 ขั้นระบุปัญหา ( problem identification )

การระบุปัญหาเป็ นการทาความเข้าใจสถานการณ์ของปั ญหาหรื อความต้องการนั้นๆ อย่างละเอียด


โดยวิเคราะห์เงื่อนไขหรื อข้อจากัดของสถานการณ์เพื่อตัดสิ นใจเลือกปั ญหาหรื อความต้องการที่จะ
ดาเนินการแก้ไข แล้วกาหนดขอบเขตของปั ญหาให้ชดั เจน ซึ่ งจะนาไปสู่ การหาแนวทางในการแก้ปัญหา
ต่อไป การระบุปัญหาและกาหนดขอบเขตของปั ญหาให้มีความชัดเจนเราสามารถนาเทคนิคหรื อวิธีการ
ต่างๆมาช่วยในการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อให้ทราบถึงองค์ประกอบและสาเหตุของปั ญหา เช่น การวิเคราะห์
องค์ประกอบของปั ญหาด้วยการหาสาเหตุของปั ญหาด้วยผังก้างปลา ( fishbone diagram )

6.2 ขั้นรวบรวมข้ อมูลและแนวคิดทีเ่ กีย่ วข้ องกับปัญหา ( related information search )

เมื่อระบุและกาหนดขอบเขตของปั ญหาที่ตอ้ งการแก้ไขได้แล้ว การดาเนินการต่อไปคือการรวบรวม


ข้อมูลและความรู ้ทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับปั ญหาหรื อความต้องการเช่นความรู ้ดา้ นคณิ ตศาสตร์ เทคโนโลยีใน
ขั้นนี้ควรมีการจดบันทึกผลการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเพื่อพัฒนาแนวทางในการแก้ปัญหา ซึ่ง
ก่อนการรวบรวมข้อมูลควรมีการกาหนดประเด็นในการสื บค้น ซึ่ งอาจเริ่ มจากการตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่ งที่
จาเป็ นต่อการแก้ปัญหาภายใต้ขอบเขตของปั ญหาที่ระบุบไว้ โดยใช้เทคนิคที่ เรี ยกว่า การระดมสมอง
(brainstorming )

6.3 ขั้นตอนแบบวิธีการแก้ปัญหา ( Solutiondesign )

หลังจากที่ได้รวบรวมข้อมูลตามประเด็น จึงนาข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปั ญหามาประยุกต์


เพื่อออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา แนวทางหนึ่งที่ช่วยให้การออกแบบวิธีการแก้ปัญหาชัดเจนคือ การใช้
เทคนิคจาแนก หน้าที่ และ คุณสมบัติ ที่จาเป็ นและควรมีต่อการออกแบบปั ญหานั้น เช่น การใช้เทคนิค
6.3.1 การวิเคราะห์ องค์ ประกอบพืน้ ฐานทีจ่ าเป็ นต่ อการแก้ปัญหาด้ วย ( function analysis
diagram )

เพื่อให้การออกแบบเครื่ องช่วยฟังได้อย่างเหมาะสม จึงต้องมีการวิเคราะห์องค์ประกอบพื้นฐานที่


จาเป็ นต่อการพัฒนาเครื่ องช่วยฟัง เช่น ชิ้นส่ วนที่จาเป็ นต้องมีในอุปกรณ์และหน้าที่ในการใช้งานซึ่ งวิธีการ
หนึ่งเพื่อให้ได้ขอ้ มูลนี้คือการวิเคราะห์ดว้ ย ( function analysis diagram )

6.3.2 การสร้ างทางเลือกในการแก้ปัญหา

เมื่อได้ขอ้ มูลองค์ประกอบพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการพัฒนาแนวทางการแก้ปัญหาแล้วขั้นตอนต่อมาคือ


การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาให้มีรายละเอียดที่ชดั เจนขึ้นและอาจสร้างไว้หลายแนวทาง จากนั้นจึง
ตัดสิ นใจเลือกแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับเงื่อนไขและขอบเขตของปั ญหามากที่สุด โดยพิจารณาจาก
ปั จจัยด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อดี ข้อเสี ย

6.4 ขั้นการวางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา ( planning and development)

ก่อนการลงมือสร้างชิ้นงานควรมีการวางแผนโดยกาหนดลาดับขั้นตอนของการสร้างชิ้นงานหรื อ
พัฒนาวิธีการตามที่ได้ออกแบบไว้ มีการกาหนดเป้ าหมายและเวลาในการดาเนินงาน รวมทั้งผูร้ ับผิดชอบ
งานในแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจ จากนั้น จึงลงมือสร้างชิ้นงานหรื อพัฒนาวิธีการตามที่ได้ออกแบบไว้

6.5 ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ไขปัญหาหรื อชิ้นงาน ( testing


evaluation and design improvement )

การทางานในขั้นตอนนี้คือการทดสอบและประเมินผลการทางานของชิ้นงานหรื อวิธีการว่าสามารถ
แก้ปัญหาตามที่ได้ระบุไว้หรื อไม่สามารถทางานหรื อใช้งานได้หรื อไม่ มีขอ้ บกพร่ องอย่างไรผลที่ได้จาก
การทดสอบอาจถูกนามาใช้ในการปรับปรุ งแก้ไขและพัฒนางานให้มีประสิ ทธิ ภาพในการแก้ปัญหามากขึ้น

6.6 ขั้นนาเสนอวิธีการแก้ ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรื อชิ้นงาน ( presentation )


เป็ นขั้นตอนในการทางานที่นาเสนอข้อมูลให้ผอู ้ ื่นเข้าใจเกี่ยวกับภาพรวมของกระบวนการทางาน
ตั้งแต่แนวคิดในการแก้ปัญหา ขั้นตอนการแก้ปัญหา รวมทั้งผลของการแก้ปัญหาและแนวทางการปรับปรุ ง
แก้ไขให้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น สามารถทาได้หลายวิธี เช่น การเขียนรายงาน การทาแผ่นนาเสนอผลงาน
บรรณานุกรม

สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี,กระทรวงศึกษาธิการ


เทคโนโลยี(การออกแบบเทคโนโลยี). พิมพ์ครั้งที่ 2. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; กรุ งเทพฯ 146
หน้า. 2561.
Henry, H. & Neal, S.(2007) . Teachnology Interactions. Illinois, USA: McGraw-Hill Education.

ศักดิ์สิทธิ์ กิตตินนั ทน์. (2557). ถ้วยตราไก่เซรามิค. สื บค้น 9 กันยายน 2561,จาก https://encrypted-


tbn0.gstatic.com

ธรณ์ ธารงนาวาสวัสดิ์. (2555). เครื่ องมือพื้นฐาน. สื บค้น 9 กันยายน 2561,จาก https://realmartonline.com

Kwazo, H.A., Huhamad, M.U., Tafida, G.M. & Mohamed, S. (2014).Environmental Impact of
Technologies. Academic Journal of Interdisciplinary Studies, 3(7), 83-68.

เกษม จันทร์ แก้ว. (2554). การประเมินผลกระทบสิ่ งแวดล้อมขั้นสู ง. กรุ งเทพฯ:สานักพิมพ์


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .

จิรากรณ์ คชเสนี . (2551). มนุษย์กบั สิ่ งแวดล้อม. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทวีศกั ดิ์ แก้วประดับ. (2556). เอกสารประกอบการเรี ยนวัสดุก่อสร้าง. วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่สานักงาน


คณะกรรมการการอาชีวศึกษา. สื บค้น 20 กุมภาพันธ์ 2560, จาก
http://www.itech.Ipru.ac.th/civil/weppage/artid/Building-Materials.html

วิชญ์ บรรณหิรัญ. (2556). เครื่ องเป่ าความดันลมเพื่อเปิ ดขยายทางเดินหายใจ. สื บค้น 20 มิถุนายน 2560, จาก
http://www.nksleepcare.com/cpap-therapy

วินเลียม เอฟ สมิท. (2541). วัสดุวศิ วกรรม [Principles of materials science and engineering](แม้น อมรสิ ทธิ์
และสมชัย อัครทิวา, ผูแ้ ปลและเรี ยบเรี ยง). กรุ งเทพฯ:สานักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล. (ต้นฉบับพิมพ์ ปี ค.ศ.1999).

ซูซาน เทอร์ เนอร์ (2550). 94 เครื่ องมือสาหรับผูบ้ ริ หารยุคใหม่ [Tools for Success] (ศุลีพร บุญบงการ,ผูแ้ ปล
ศรชัย จาติกวนิช, ผูเ้ รี ยบเรี ยง). กรุ งเทพฯ:สานักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล.
สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2558).

หนังสื อเสริ มการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ทางการงานอาชีพและเทคโนโลยี การออกแบบและ


เทคโนโลยี

(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

You might also like