You are on page 1of 2

“…And to the poor of the world, we say this – remember – we’re

counting on you to keep us rich. ” จ า ก ค า ก ล่ า ว ข้ า ง ต้ น นี้


หากมองผิวเผินย่อมหมายถึงความสัมพันธ์การพึง่ พิงระหว่างกันของมนุ ษย์ในรูป
แ บ บ ทั่ ว ไ ป
แต่ตา่ งกันทีค ่ วามสัมพันธ์ดงั กล่าวเกิดจากตัวแสดงทีฝ ่ ่ ายหนึ่งเป็ นกลุม่ คนรวยและ
อี ก ฝ่ า ย เ ป็ น ก ลุ่ ม ค น จ น
ความสัม พัน ธ์ ดัง ก ล่ า ว นี้ แฝ งด้ ว ย ค วามเ ลื่ อ มล้ า และ ช่ อ ง ว่ า งของ ช น ชั้ น
เหตุผลสาคัญทีค ่ นรวยต้องพึ่งพาคนจนเพราะคนจนเป็ นคนส่วนใหญ่ทีม ่ ีความสา
ม า ร ถ ใ น ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
ในรูปแบบของการเป็ นกาลังแรงงานและกาลังการบริโภคทีเ่ อื้อประโยชน์ตอ ่ การส
ร้ า ง ผ ล ก า ไ ร ม ห า ศ า ล ข อ ง ค น ร ว ย
และผลทีต ่ ามมาคือการแบ่งชัน ้ ระหว่างคนรวยและคนจนจะนาไปสูก ่ ารลดคุณค่าแ
ล ะ ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ร ะ ห ว่ า ง กั น ( Otherness) 1
นอกจากนี้ ภายใต้ ก ารครอบง า ของอุ ด มการณ์ เสรี นิ ย ม ที่ ส นับ สนุ น self-
regulating market 2 ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร แ ข่ ง ขั น ส ะ ส ม ทุ น ข อ ง ค น ร ว ย
โ ด ย ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก ก า ร ล ด ก ฎ เ ก ณ ฑ์ ( Deregulations) 3 แ ล ะ
ก า ร ท า ใ ห้ ยื ด ห ยุ่ น ( Flexibilization) 4 เ พื่ อ ผ ล ก า ไ ร สู ง สุ ด ข อ ง ต น เ อ ง
ก่อ ให้เ กิด การขูด รี ด (Exploitation) 5 และเพิ่ม ช่อ งว่า งของความไม่เ ท่า เที ย ม
( Inequality) 6 สุ ด ท้ า ย น า ไ ป สู่ ก า ร ต่ อ ต้ า น ดั ง เ ช่ น ก ร ณี
ความขัด แย้ ง ระหว่ า ง ก ลุ่ ม ทุ น นิ ย มกับ โร งงา นผ ลิ ต เสื้ อ ผ้ า Rana Plaza
ใ น ป ร ะ เ ท ศ บั ง ก ล า เ ท ศ 7 ที่ น า ไ ป สู่ ก า ร เ กิ ด ก ร ะ แ ส โ ต้ ก ลั บ ( Counter
movement) 8 เ พื่ อ ป ก ป้ อ ง สั ง ค ม จ า ก ก า ร ท า ล า ย ล้ า ง ข อ ง ทุ น นิ ย ม
ด้วยเล่ห์เหลีย่ มของทุนนิยมทีพ ่ ยายามแสร้งทาเป็ นสร้างความสุข (Jouissance)9
ใ ห้ แ ก่ ค น จ น ด้ ว ย เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ เ รี ย ก ว่ า ว า ท ก ร ร ม ( Discourse) 10
ท า ใ ห้ ค น จ น ม อ ง ไ ม่ เ ห็ น ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น
ยิ่ ง ไปกว่ า นั้น คนจนได้ ถู ก ครอบง าและกลายเป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของเสรี นิ ย มใหม่
1
Week10 how can we end poverty Page 430
2
Week7 double movement page 543
3
Week 5 How is the world organized economically? Page 370
4
Week 5 How is the world organized economically? Page 370
5
Week 2 thomas oatley Page 36
6

7
Week6 Super exploitation 9-21
8
Week7 double movement page 543
9
10
( neoliberal subjectivity) 11

ทีป่ ราศจากการขัดขืนต่ออานาจการครอบงาของทุนนิยมท่ามกลางสภาพทีเ่ สมือน


เ ป็ น ป ก ติ 12 ซึ่ ง ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ว ง จ ร แ ห่ ง ก า ร ขู ด รี ด ด า เ นิ น ต่ อ ไ ป
รวมถึงการเพิม ่ ช่องว่างของความไม่เท่าเทียมภายใต้การสนับสนุนของรัฐบาลเสรี
นิยมใหม่ เห็นได้ชด ั เจนจากกรณี ศก ึ ษา Millennium Villages Project13 และ
the Marathon des Sables14 ดังนัน ้ ประเด็นในการศึกษาของงานเขียนชิ้นนี้
คื อ
รัฐสวัสดิการจะเป็ นตัวแสดงสาคัญในการแก้ไขปัญหาและต่อรองกับทุนนิยมเพือ ่
หยุดวงจรแห่งการขูดรีดและลดช่องว่างของความเหลือ ่ มลา้ มิใช่รฐั เสรีนิยมใหม่
ง า น เ ขี ย น ชิ้ น นี้ แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 3 ส่ ว น ส่ ว น แ ร ก ก ล่ า ว ถึ ง
บ ท บ า ท ข อ ง รั ฐ เ ส รี นิ ย ม ใ ห ม่ ที่ เ อื้ อ ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ทุ น นิ ย ม
แ ล ะ อ ธิ บ า ย ผ่ า น ก ร ณี ตั ว อ ย่ า ง : โ ร ง ง า น ผ ลิ ต เ สื้ อ ยื ด Rana Plaza
ในประเทศบังกลาเทศ รวมถึงการยกกรณีศก ึ ษา Millennium Villages Project
แ ล ะ the Marathon des Sables
ประกอบการอธิบ ายของทุนนิ ย มต่อ วงจรแห่งการขูด รีด และความไม่เท่า เที ย ม
ส่ ว น ที่ ส อ ง
อธิบายถึงรัฐสวัสดิการและบทบาทสาคัญในการแก้ไขปัญหาและต่อรองกับทุนนิย
มเพือ่ หยุดวงจรแห่งการขูดรีดและลดช่องว่างของความเหลือ ่ มลา้ และส่วนสุดท้าย
เป็ นส่วนของบทสรุปของบทความ

11
Week10 how can we end poverty Page 440
12
Week8 EIPE
13
14

You might also like