You are on page 1of 25

วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565

วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 1

‘แรงงานแลกความหวัง- WHO และ ILO ผ่านมา 2 ปี ผลสำรวจพบผู้หญิง


แรงงานขายฝัน’: ‘สื่อมวลชน เรียกร้องให้มี คนทำงานด่านหน้าสู้ ออสเตรเลียเผชิญความ
ฝึกงาน’ อีกตำแหน่งงานที่ไม่ มาตรการเพื่อปกป้อง กับ COVID-19 ในจีน รุนแรงเมื่อคู่ครองตก
มั่นคงในอุตสาหกรรมสื่อ สุขภาพ 'คนทำงาน ยังขาดการคุม้ ครองที่ งานช่วง COVID-19
[หน้า 10] ทางไกล' [หน้า 14] ดี [หน้า 17] [หน้า 21]
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 2
รอบโลกแรงงาน

Toyota ตกลงจ่ายค่าเสียหายพร้อมขอ การสารวจที่ดาเนินการโดยศูนย์กฎหมาย


โทษ กรณีพนักงานเครียดงานจนฆ่าตัว สิทธิมนุษยชน (Human Rights Law
ตายเมื่อปี 2010 Centre) จากชาวออสเตรเลียจานวน

Toyota ตกลงจ่ายเงินให้กบ
ั ครอบครัวของ 1,095 คน พบว่า ร้อยละ 78 ของผูต้ อบ
พนักงานรายหนึ่งที่ฆา่ ตัวตายเมื่อปี 2021 แบบสอบถามทัง้ หมดเชื่อว่า ผูท้ ่อี าศัยและ
เนื่องจากทางานหนักเกินไปและถูกกลั่น ทางานอยู่ท่นี ่ดี ว้ ยวีซ่าชั่วคราว “ควรมีความ
แกล้งในที่ทางาน หลังศาลตัดสินเมื่อเดือน มั่นคง เพื่อที่พวกเขาจะได้วางแผนชีวิตใน
ก.ย. 2021 ให้การเสียชีวติ ของพนักงานคน แบบที่พวกเขาต้องการได้”
ดังกล่าวถือว่าเกี่ยวข้องกับงาน โดยชีว้ ่า การสารวจดังกล่าวมีขึน้ หลังรายงานที่จดั ทา
ผูต้ ายมีอาการเครียดอย่างรุนแรงจากการ โดยศูนย์คนทางานอพยพย้ายถิ่น
ทางานก่อนที่จะฆ่าตัวตาย (Migrant Workers Centre) เมื่อปี ท่ผี ่าน
ที่มา: Newsweek, 1/2/2022 มาเปิ ดเผยว่า มีความเชื่อมโยงที่เหนียวแน่น
ระหว่างการถูกเอารัดเอาเปรียบในสถานที่
ชาวออสเตรเลียเกินครึ่งหนุนปูทางให้ผู้
ถือวีซ่าชั่วคราวได้อยู่ถาวร ทางาน และผูม้ ีสถานะวีซ่าชั่วคราว โดยได้
ให้เหตุผลว่าควรที่จะมีหนทางที่มากขึน้ ใน
งานวิจยั ล่าสุดที่พบว่าชาวออสเตรเลีย
การได้เป็ นประชากรถาวรในออสเตรเลีย
ส่วนมากสนับสนุนให้มีหนทางสูก่ ารเป็ น
ประชากรถาวร สาหรับผูอ้ พยพย้ายถิ่นที่ได้ ผลสารวจล่าสุดที่ได้มกี ารสารวจเมื่อเดือน
อาศัยและทางานอยูใ่ นประเทศนีเ้ ป็ นเวลา ธ.ค. 2021 ที่ผ่านมาพบว่า ผูต้ อบ
หลายปี แบบสอบถามร้อยละ 58 เชื่อว่า ผูอ้ พยพ
ย้ายถิ่นช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลน
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 3

คนทางานในงานเฉพาะทาง และอีกร้อยละ กลุ่มอาสาสมัครกลุ่มหนึ่งได้รวมตัวกันใน


33 เชื่อว่าพวกเขาทางานที่ได้คา่ จ้างน้อยซึง่ กรุงโตเกียวในวันเสาร์ท่ี 5 ก.พ. 2022 เพื่อ
ชาวออสเตรเลียไม่ตอ้ งการที่จะทา ช่วยเหลือผูค้ นที่ตอ้ งการความช่วยเหลือ
ท่ามกลางการระบาดใหญ่ของไวรัสโคโรนา
ในบรรดาผูท้ ่ไี ด้รบั การสารวจความเห็น ร้อย
สายพันธุใ์ หม่ แต่พวกเขาแสดงความกังวล
ละ 54 เชื่อว่าผูอ้ พยพย้ายถิ่นนาความหลาย
เรื่องการขาดแคลนอาสาสมัคร เนื่องจาก
หลายทางวัฒนธรรมมายังออสเตรเลีย และ
ยอดติดเชือ้ ไวรัสโคโรนาสายพันธุใ์ หม่ท่พี ่งุ
ร้อยละ 24 เชื่อว่าผูอ้ พยพย้ายถิ่นจะชะลอ
สูงขึน้
การเข้าสู่สงั คมผูส้ งู วัยของออสเตรเลียได้
กลุ่มให้ความช่วยเหลือกลุม่ หนึ่งจัดกิจกรรม
ร้อยละ 79 ของผูต้ อบแบบสอบถามทัง้ หมด
เดือนละ 2 ครัง้ ที่สวนฮิงาชิ-อิเกบูกโู ระชูโอ
เห็นด้วยว่า “หากผูอ้ พยพย้ายถิ่นอาศัยและ
ในเขตโทชิมะ สาหรับผูค้ นที่ประสบปั ญหา
ทางานอยู่ในออสเตรเลียอยู่แล้วพวกเขา
ขาดรายได้เนื่องจากตกงานหรือรายได้
ควรที่จะมีหนทางสูก่ ารได้เป็ นประชากร
ลดลง ผูค้ นที่มาขอรับความช่วยเหลือที่
ถาวร” และร้อยละ 55 ของผูต้ อบ
กิจกรรมนีม้ ีจานวนเพิม่ ขึน้ ต่อเนื่อง
แบบสอบถามทัง้ หมดเห็นด้วยว่า “ผูอ้ พยพ
ย้ายถิ่นควรมีความสามารถในการวางแผน ทางกลุ่มแจกจ่ายเสือ้ ผ้าและอาหารโดยแยก
อนาคตของตัวเองที่น่ไี ม่วา่ จะถือวีซ่าชนิดใด วันกัน เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของการ
ก็ตาม” ติดเชือ้ โดยเริม่ ตัง้ แต่เดือน ก.พ. 2022
บรรดาอาสาสมัครได้มอบเสือ้ ผ้า อุปกรณ์
ที่มา: SBS, 3/2/2022
กันหนาว รองเท้า และสิ่งของอื่น ๆ ให้ฟรี มี
กลุ่มอาสาสมัครช่วยเหลือผู้ได้รับ ผูม้ ารับสิ่งของราว 110 คน
ผลกระทบจาก COVID-19 กาลังเผชิญ
ปั ญหาเจ้าหน้าทีไ่ ม่เพียงพอ คุณแม่เลีย้ งเดี่ยวคนหนึ่งในช่วงวัย 30 ปี ซง่ึ
ต้องเลีย้ งดูลกู 2 คนกล่าวว่า เนื่องจากยอด
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 4

ติดเชือ้ ที่กลับมาเพิ่มสูงขึน้ อีกครัง้ เธอจึงไม่ กาลังฟื ้ นคืนสู่ภาวะพร้อมเดินเครือ่ งเต็มที่


ทราบว่าเมื่อไหร่ท่รี า้ นอาหารซึง่ เธอทางาน อีกครัง้ ระหว่างการเยือนโรงงานแห่งหนึ่งใน
อยู่ จะสามารถกลับมาเปิ ดให้บริการได้อีก รัฐเทนเนสซี ที่รบั หน้าที่ผลิตระบบชาร์จ
ที่ผ่านมาเธอดารงชีวิตด้วยเงินเก็บ และ สาหรับรถพลังงานไฟฟ้าให้กบั บริษัท
กล่าวว่าเธอไม่มใี ครให้พงึ่ พิงได้รวมถึงหวัง สัญชาติออสเตรเลียแห่งหนึ่ง พร้อมยืนยัน
ว่าจะสามารถกลับไปทางานได้ในเร็ววัน ความมุง่ มั่นของรัฐบาลชุดปั จจุบนั ในการ
เปลี่ยนให้รถยนต์ท่ใี ช้ในราชการเป็ น
กลุ่มให้ความช่วยเหลือนีร้ ะบุว่าทางกลุ่มได้
รถไฟฟ้าทัง้ หมด
จากัดจานวนเจ้าหน้าที่ในงานกิจกรรม
ดังกล่าวให้อยู่ท่ี 25 คน เพื่อป้องกันการติด ในการเยือนโรงงานแห่งนีท้ ่จี ะผลิตระบบ
เชือ้ ส่งผลให้ภาระของเจ้าหน้าที่แต่ละคน ชาร์จสาหรับรถไฟฟ้าจานวน 30,000 ตัว
หนักขึน้ ยิ่งไปกว่านัน้ เจ้าหน้าที่บางคนไม่ ต่อปี และสร้างงานใหม่ 500 ตาแหน่งให้กบั
สามารถมาร่วมงานอาสาสมัครได้เนื่องจาก คนในพืน้ ที่ ปธน.ไบเดน กล่าวว่า
ติดเชือ้ หรือมีประวัตใิ กล้ชดิ กับผูท้ ่ีติดเชือ้ สายการผลิตดังกล่าวจะ “ใช้ชิน้ ส่วน วัสดุ
ไวรัสโคโรนาสายพันธุใ์ หม่ ทางกลุ่มเป็ น เหล็กและโลหะ ของอเมริกา” และจะมีการ
กังวลว่ายอดติดเชือ้ ที่พงุ่ สูงขึน้ อาจทาให้การ ตัง้ สหภาพแรงงานขึน้ ด้วย
ดาเนินกิจกรรมของกลุม่ ถูกจากัด
ผูน้ าสหรัฐฯ ระบุว่า ความพยายามของ
ที่มา: NHK, 5/2/2022 รัฐบาลในการส่งเสริมภาคการผลิตผ่านทุก
ทิศทางนัน้ จะ “ส่งผลเป็ นคลื่นกระทบ ...
'ไบเดน' ชูภาคการผลิตอเมริกน
ั กลับ
มาแล้ว ระหว่างเยือนโรงงานใน และส่งเสริมให้มีการจ้างงานขึน้ อีกหลาย
เทนเนสซี เท่า” และว่า โรงงานผลิตต่างๆ จะเป็ นผูช้ ่วย
ผลักดันให้มีการขยายตัวของโรงผลิตเหล็ก
ประธานาธิบดีโจ ไบเดน แห่งสหรัฐอเมริกา
ธุรกิจขนาดเล็กที่จดั หาชิน้ ส่วน รวมทัง้
ประกาศยา้ ว่าภาคการผลิตของสหรัฐฯ
โครงการก่อสร้างทัง้ หลายทั่วประเทศต่อไป
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 5

ที่มา: VOA, 10/2/2022 มาเป็ นเวลาหลายเดือน และไม่ยอมเข้ารับ


เผยพนักงานในหลายประเทศเริ่มสนใจ การฉีดวัคซีนเข็มแรกตามเวลาที่กาหนด
รับเงินเดือนเป็ น Cryptocurrency มาก ทัง้ นีพ้ นักงานส่วนใหญ่ของนครนิวยอร์ก
ขึน้ จากทัง้ หมดประมาณ 370,000 คน ได้รบั
บริษัท Deel ผูใ้ ห้บริการด้านบัญชีเงินเดือน การฉีดวัคซีนตามกาหนดเวลา โดยข้อมูล
และบริการด้านการจ้างงานระดับโลก เผย ณ เดือน ก.พ. 2022 พนักงานราว 95%
ว่าจากฐานข้อมูลพนักงานประมาณ ได้รบั วัคซีนอย่างน้อย 1 โดส ซึ่งเพิ่มขึน้ จาก
100,000 คน ใน 150 ประเทศทั่วโลก พบ 84% เมื่อมีการประกาศข้อกาหนดการฉีด
ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมามีพนักงานราว 2% วัคซีนครัง้ แรกเมื่อเดือน ต.ค. 2021
ให้ความสนใจรับเงินเดือนบางส่วนเป็ น ที่มา: The New York Times, 14/2/2022
Cryptocurrency โดยกว่า 2 ใน 3 เลือกรับ
พยาบาลในรัฐนิวเซาท์เวลส์ของ
Bitcoin ทัง้ นีพ
้ นักงานที่สนใจเลือกรับ
ออสเตรเลียหยุดงานประท้วงเรียกร้อง
เงินเดือนเป็ น Cryptocurrency นัน้
ขึน้ เงินเดือน-ลดภาระงาน
ส่วนมากอยู่ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีและ
การเงิน พยาบาลในรัฐนิวเซาท์เวลส์ ซึ่งเป็ นรัฐที่มี
ประชากรมากที่สดุ ในออสเตรเลีย หยุดงาน
ที่มา: Bloomberg, 11/2/2022
ประท้วงเป็ นครัง้ แรกในรอบทศวรรษ
นครนิวยอร์กเลิกจ้างพนักงาน 1,428 หลังจากการเจรจากับรัฐบาลเรื่องแก้ปัญหา
คน เพราะไม่ยอมฉีดวัคซีน COVID-19 ขาดแคลนคนและขึน้ เงินเดือนไม่ได้ผล
นครนิวยอร์กประกาศเลิกจ้างพนักงาน พยาบาลจากโรงพยาบาลมากกว่า 150
1,428 คน โดยได้ส่งหนังสือแจ้งการเลิกจ้าง แห่ง ทั่วรัฐนิวเซาท์เวลส์เริ่มการผละงานเป็ น
ไปให้ หลังจากที่ได้ลาหยุดแบบไม่รบั ค่าจ้าง เวลา 24 ชั่วโมง โดยได้ไปรวมตัวหน้า
รัฐสภาในนครซิดนีย ์ ถือป้ายประท้วงเรื่อง
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 6

ทางานจนเหนื่อยล้า ขอขึน้ เงินเดือนไม่ต่า ผูต้ ิดเชือ้ รายใหม่มากกว่า 26,000 คน เมื่อ


กว่า 2.5% และขอให้เพิม่ สัดส่วนจานวน วันที่ 13 ก.พ. 2022 ซึ่งถือว่าสูงเป็ น 2 เท่า
พยาบาลต่อคนไข้ เพื่อลดภาระงานที่หนัก เมื่อเทียบกับช่วงการระบาดของสายพันธุ์
ขึน้ ในช่วงการระบาดของ COVID-19 เดลตา

ที่มา: CNBC, 14/2/2022 ที่มา: The Daily Star, 15/2/2022


เวียดนามจะไม่ปิดโรงงานผลิตทุก ไต้หวันให้แรงงานต่างชาติทที่ างานครบ
ประเภท แม้ยอดผู้ตดิ โรคติดเชือ้ 6 ปี ยกระดับเป็ น 'แรงงานกึ่งฝี มือ' และ
COVID-19 เพิ่มขึน
้ หากทางานในฐานะแรงงานกึ่งฝี มือครบ
5 ปี สามารถยื่นขอถิน่ ทีอ่ ยู่ถาวรได้
รัฐบาลเวียดนามระบุวา่ จะไม่ปิด
โรงงานผลิตทุกประเภท แม้ยอดผูต้ ิดโรคติด ไต้หวันประสบภาวะขาดแคลนแรงงาน
เชือ้ COVID-19 เพิ่มขึน้ หลังจากที่เคยใช้ อย่างหนัก ขณะที่กฎหมายการจ้างงาน
นโยบายล็อกดาวน์อย่างเข้มงวดเมื่อปี กาหนดแรงงานต่างชาติทางานในไต้หวันได้
2021 จนกระทบต่อห่วงโซ่อปุ ทานของ ไม่เกิน 12 ปี สภาบริหารมีนโยบายผ่อนปรน
ร้านค้าปลีกของประเทศตะวันตก ที่มี ระยะเวลาการทางานของแรงงานต่างชาติ
เวียดนามเป็ นแหล่งผลิตสาคัญของแบรนด์ โดยไม่ตอ้ งแก้กฎหมาย กระทรวงแรงงาน
ต่างๆ เช่น Nike, Zara, Apple และ วางแผนให้แรงงานต่างชาติท่มี คี ณ ุ สมบัติ
Samsung สอดคล้องกับ 3 เงื่อนไข ได้แก่ทางานใน
นอกจากนีเ้ วียดนามเริม่ ผ่อนคลาย ไต้หวันครบ 6 ปี ขนึ ้ ไป มีทกั ษะฝี มือการ
มาตรการจากัดการระบาดแล้ว โดยให้ ทางาน และนายจ้างยอมจ่ายค่าจ้างที่สงู ขึน้
โรงเรียนเปิ ดการเรียนการสอนเมื่อต้นเดือน ตามกาหนด สามารถยื่นขอยกระดับเป็ น
ก.พ. 2022 และจะยกเลิกมาตรการจากัด แรงงานกึ่งฝี มือได้ และเมื่อทางานในฐานะ
เที่ยวบินโดยสารระหว่างประเทศ แม้ว่าพบ แรงงานกึ่งฝี มือครบ 5 ปี สามารถยื่นขอถิ่น
ที่อยู่ถาวรได้
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 7

ที่มา: Radio Taiwan International, ไทย 2 คน ได้รว่ มทางานในโครงการ


18/2/2022 ก่อสร้างฟาร์มโซลาร์เซลล์รอบนอกเมือง
ทาวน์สวิลล์ (Townsville) ทางตอนเหนือ
เฮติประกาศขึน้ ค่าแรงขั้นต่าสูงสุดที่
54% หลังแรงงานประท้วง ของรัฐควีนส์แลนด์เมื่อปี 2018

รัฐบาลเฮติปรับขึน้ ค่าแรงขัน้ ต่า อัตราสูงสุด มีการพบว่า ลูกจ้างกลุ่มดังกล่าวได้รบั


ที่ 54% หลังจากมีการประท้วงหลาย ค่าจ้างวันละ $40 ดอลลาร์ พร้อมค่าอาหาร
สัปดาห์โดยคนทางานภาคการตัดเย็บ และที่พกั $42 ดอลลาร์ และได้รบั การจ้าง
เสือ้ ผ้าที่ระบุว่าว่าค่าจ้างของพวกเขาไม่ งานภายใต้วีซา่ ชั่วคราวสาหรับผูม้ ีทกั ษะ
เพียงพอต่อค่าครองชีพที่สงู ขึน้ เฉพาะทาง Subclass 400 โดยพบอีกว่า
“งานทักษะเฉพาะทางในระดับสูง” ที่พวก
แต่อตั ราการขึน้ ค่าแรงขัน้ ต่านีก้ ็แตกต่างกัน
เขาได้รบั การจ้างงานนัน้ รวมไปถึงงาน
ไปตามอุตสาหกรรม โดยเพิม่ ขึน้ มากที่สดุ
ไฟฟ้าที่ตอ้ งมีใบอนุญาต แต่ทกั ษะและ
ในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและโทรคมนาคม
คุณวุฒิของลูกจ้างเหล่านัน้ ไม่ได้รบั การ
ส่วนในภาคการผลิตเสือ้ ผ้านัน้ ได้รบั การ
ประเมิน และลูกจ้างเหล่านัน้ ไม่มี
เพิ่มขึน้ 37% เท่านัน้
ใบอนุญาตในการทางานดังกล่าว โดยทาง
ที่มา: Salt Wire, 22/2/2022 สมาชิกของสหภาพฯ ได้ระดมเงินเพื่อ
พบแรงงานไทย-ฟิ ลิปปิ นส์ใน ช่วยเหลือคนทางานกลุ่มนี ้
ออสเตรเลียได้ค่าแรงต่า จีแ้ ก้กฎหมาย ส่วนนายจ้างของคนทางานกลุ่มดังกล่าวได้
เอาผิดนายจ้าง ระบุผ่านทางนักกฎหมายว่า พวกเขาไม่ได้
สหภาพแรงงานไฟฟ้า (The Electrical ทาสิ่งผิดกฎหมาย และไม่มีภาระผูกพันที่
Trade Union) ได้แถลงต่อการไต่สวนของ จะต้องจ่ายเงิน โดยได้ยตุ เิ รื่องนีด้ ว้ ยการขึน้
คณะกรรมการวุฒิสภาว่า ลูกจ้างกลุ่ม ค่าจ้าง และจ่ายค่าจ้างย้อนหลัง
ดังกล่าวเป็ นชาวฟิ ลิปปิ นส์ 2 คน และชาว
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 8

อย่างไรก็ตาม สภาพแรงงานไฟฟ้าได้กล่าว บังคับ พยายามใช้อิทธิพลเกินควร หรือ


ต่อกับคณะกรรมการวุฒิสภาว่าถึงแม้วา่ จะ กดดันให้ผถู้ ือวีซ่าตกลงหรือยอมรับข้อตกลง
มีตวั อย่างที่เกิดขึน้ ในลักษณะนีว้ า่ กฎหมาย ในการทางานบางอย่าง” รวมถึงมีการ
ที่ได้มีการเสนอโดยรัฐบาลกลาง “ไม่มี กาหนดอานาจในการสั่งห้ามไม่ให้นายจ้าง
ข้อกาหนดใดที่จะป้องกันไม่ให้เกิด ที่ได้รบั การลงโทษ อนุญาตให้ผถู้ ือวีซ่าเข้า
เหตุการณ์เหล่านีข้ นึ ้ อีก และไม่มอี านาจใดๆ มาทางานเพิ่มเติมภายในระยะเวลาที่
ในการดาเนินการกับนายจ้างหากปั ญหา กาหนด
เกิดขึน้ อีกครัง้ ”
โดยหน่วยงานพิทกั ษ์พรมแดนออสเตรเลีย
“ตอนนีเ้ ป็ นโอกาสที่จะทาให้สิ่งเหล่านี ้ (ABF) จะได้รบั อานาจในการกากับดูแลใน
ถูกต้อง แทนที่จะกลับไปทาธุรกิจตามปกติ ส่วนของหมายเตือนให้นายจ้างปฏิบตั ิตาม
หรือจะปล่อยให้แย่กว่านัน้ ” สหภาพ ฯ ข้อกาหนด และดาเนินการใช้กฎหมายต่อ
กล่าวต่อคณะกรรมการไต่สวน การละเมิดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทางาน

“อย่างน้อยที่สดุ รัฐบาลก็ควรที่จะเร่ง รัฐบาลออสเตรเลียเชื่อว่า ร่างกฎหมาย


ดาเนินการตามคาแนะนา 22 ข้อที่รายงาน ดังกล่าวจะเสริมความแข็งแรงในการ
ของคณะทางานเพื่อคนทางานอพยพย้าย ปกป้องคนทางานอพยพย้ายถิ่น และทาให้
ถิ่น (The Migrant Workers’ Taskforce แน่ใจว่าลูกจ้างที่ปฏิบตั ิตามกฎหมายจะถูก
Report) ได้มกี ารเสนอไว้เมื่อ 2 ปี ก่อน” ช่วงชิงโอกาสโดยนายจ้างที่ไม่มคี วามเป็ น
ธรรม
“การปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือวีซา่ ในตอนนีถ้ ือเป็ น
ความอับอายระดับชาติ” ที่มา: SBS, 23/2/2022

ร่างกฎหมายดังกล่าวซึง่ ได้เสนอต่อสภาเมื่อ ปี 2021 คนทางานในสหรัฐฯ หยุดงาน


เดือน พ.ย. 2021 ที่ผ่านมา ได้มีการกาหนด ประท้วงกว่า 140,000 คน
โทษทางแพ่งและอาญา “ในกรณีการบีบ
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 9

ข้อมูลจาก ILR Labour Action Tracker แรงงานทัง้ หมดที่หยุดงานประท้วงตลอดทัง้


ของมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ ระบุว่าในปี ปี 2021
2021 คนทางานในสหรัฐฯ หยุดงาน
ที่มา: Business Insider, 23/2/2022
ประท้วงกว่า 140,000 คน จากการหยุด
งานทัง้ หมด 265 ครัง้ สาหรับเหตุผลในการ
หยุดงานประท้วงอันดับแรกคือเรือ่ งค่าจ้าง
ตามมาด้วยประเด็นทางสุขภาพและความ
ปลอดภัย โดยการหยุดงานประท้วงในเดือน
ต.ค. และ พ.ย. 2021 รวมกันมีสดั ส่วน
แรงงานที่รว่ มหยุดงาน 60% ของจานวน

ที่มา: สานักข่าวประชาไท
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 10
เรื่องจากปก
‘แรงงานแลกความหวัง-แรงงานขายฝัน’
‘สื่อมวลชนฝึกงาน’ อีกตำแหน่งงานที่ไม่มั่นคงในอุตสาหกรรมสื่อ

ในวัฒนธรรมงานสื่อมวลชนของประเทศตะวันตก แม้การฝึกงานจะเป็นพื้นที่
ให้กับสื่อมวลชนจบใหม่ได้เรียนรู้ประสบการณ์พิเศษที่หาไม่ได้จากห้องเรียน
แต่หากมองอีกมุมหนึ่งนี่คอื 'แรงงานแลกความหวัง-แรงงานขายฝัน' อีก
ตำแหน่งงานที่ไม่มีความมัน่ คงในอุตสาหกรรมสื่อ แลกกับการได้เงินที่ต่ำ
(หรือไม่ได้เลย) และการจ้างงานชั่วคราว ต้องอยู่กับการขูดรีดตนเองเพื่อเติม
เต็มความคาดหวังที่ไม่แน่ชดั ของนายจ้าง | ที่มาภาพประกอบ: IJNET
การทางานสื่อมวลชนต้องพบเจอกับช่วงเวลาของการเปลี่ยนผ่านมากมาย สื่อมืออาชีพหลาย
คนอาจย้อนความทรงจาได้วา่ งานแรกๆ ของพวกเขาส่วนใหญ่แล้วมักจะเป็ นการตามไล่ตาม
ทาข่าวการประชุมที่มีอยู่มากมายมหาศาลไม่มจี บสิน้ หรือบ้างก็ถกู เรียกตัวให้มาทางานอย่าง
เร่งด่วน ซึ่งสิง่ เหล่านีไ้ ม่ใช่อะไรที่เด็กฝึ กงานด้านอื่นๆ ได้พบเจอกัน แต่เป็ นแนวปฏิบตั ิท่เี กิดขึน้
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 11

ในวัฒนธรรมสื่อมวลชนของตะวันตก สื่อมวลชนจบใหม่หลายคนต้องผ่านการฝึ กงานลักษณะ


นีอ้ ย่างน้อย 2 ครัง้ หรือมากกว่านัน้ ก่อนที่จะได้ทางานประจาหรือออกไปเป็ นสื่อมวลชนอิสระ
(ฟรีแลนซ์)

การฝึ กงานเป็ นพืน้ ที่ให้กบั สื่อมวลชนจบใหม่ได้เรียนรูป้ ระสบการณ์พิเศษที่ไม่สามารถหาได้


จากห้องเรียน และเริ่มสร้างความสัมพันธ์กบั ผูค้ นต่างๆ ที่ได้ผลตอบแทนเป็ นแนวทางการ
ทางานและความก้าวหน้าในอาชีพในระยะยาว

แต่ตามที่หลายคนบอกเล่าว่าในหลายปี ท่ผี ่านมาการฝึ กงานกลายเป็ นส่วนสาคัญใน


อุตสาหกรรมข่าวในแง่การเล่นพวกพ้องและสร้างเครือข่ายกับชนชัน้ นา โดยที่องค์กรข่าวการ
สร้างท่อส่งตรงงานในตาแหน่งสูงให้กบั มหาวิทยาลัยชัน้ นา และกีดกันนักศึกษาที่ไม่มีสิทธิ
พิเศษคนอื่นๆ ออกไป

ต้องอยูก่ ับการขูดรีดตัวเองเพือ่ เติมเต็มความคาดหวังทีไ่ ม่แน่ชดั ของนายจ้าง

ตามที่ ‘มีเรียม กอลล์มิทเซอร์’ นักวิจยั จากมหาวิทยาลัยมอนทรีออล กล่าวถึงในบทความชิน้


ใหม่เกี่ยวกับการเรียนด้านสื่อสารมวลชน ‘Laboring in journalism’s crowded, precarious
entryway: Perceptions of journalism interns,’ ระบุว่านักศึกษามักจะมีมมุ มองต่อการ
ฝึ กงานที่ว่าเป็ นเครื่องมือที่ชว่ ยฝึกฝนความเป็ นมืออาชีพและสร้างมาตรฐานทางสื่อมวลชน ซึง่
นักศึกษาก็มกั คิดว่าเป็ นการได้รบั ความรูจ้ าก ‘กลุ่มคนที่ทางานจริง’ แลกกับการได้เงินที่ต่า
(หรือไม่ได้เลย) และการจ้างงานชั่วคราว

กอลล์มิทเซอร์ มีความเห็นไปในทางที่ตรงกันข้ามกับสิ่งที่เกิดขึน้ ในสังคมการฝึ กงาน เธอแย้ง


ว่าการฝึ กงานที่ได้คา่ จ้างต่าหรือไม่ได้เลย ทัง้ ยังมีสถานะไม่ม่นั คงและชั่วโมงการทางานที่
ยาวนาน ไม่ใช่สิ่งที่ตอ้ งแลกเพื่อการฝึ กฝน แต่การฝึ กงานที่แท้เป็ นไปเพื่อฝึ กให้อยู่กบั ความไม่
มั่นคงที่เป็ นธรรมชาติของการจ้างในอุตสาหกรรมข่าวที่พวกเขากาลังจะได้เข้าไปเป็ นส่วนหนึ่ง
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 12

และฝึ กให้เคยชินกับเงื่อนไขการทางานสื่อมวลชนที่เป็ นอยู่ แต่ขณะเดียวกันยังต้องพยายาม


เค้นตัวเองในการฝึ กงาน เพื่อหวังว่าสักวันหนึ่งพวกจะได้มีงานที่ม่นั คงและเป็ นที่พงึ พอใจ

กอลล์มิทเซอร์ ได้ขอ้ สรุปทัง้ หมดนีจ้ ากการสัมภาษณ์สื่อมวลชนรุน่ ใหม่ 10 คน ในแคนาดา


และเยอรมนี ผูซ้ ่งึ แต่ละคนเคยผ่านการฝึ กงานมาแล้วอย่างน้อย 2 ครัง้ แม้อาจจะเป็ นกลุ่ม
ตัวอย่างที่นอ้ ย แต่กเ็ ต็มไปด้วยข้อมูลและเรื่องราวเชิงลึกที่นา่ สนใจ ทาให้เธอพบว่าผูฝ้ ึ กงานที่
ขวนขวายตัง้ ใจที่ได้รบั คาแนะและการบ่มเพาะที่ดี กลับมักจะได้รบั ประสบการณ์ท่ถี กู ปฏิบตั ิไม่
ดี เช่นถูกเมินเฉยจากคนทางานที่ดจู ะไม่เคยมีเวลาให้ และบ่อยครัง้ ได้รบั คาสั่งที่ไม่มีเหตุผล
จากคนทางานตาแหน่งที่สงู กว่า เธอมองว่า ‘กลุ่มคนที่ทางานจริง’ ไม่มีประสิทธิภาพที่จะหา
รูปแบบการฝึ กงานที่สามารถพัฒนาศักยภาพ ทาให้ไม่มีการปูรากฐานที่เพียงพอให้ผมู้ า
ฝึ กงานได้มีบรรทัดฐานและคุณค่าที่ดีของการเป็ นสื่อมวลชน

กลายเป็ นว่าพวกเขาต้องอยู่กบั การขู่รีดตัวเอง จากการที่พวกเขาบังคับให้พวกเขาเองทางานที่


ยากๆ เพื่อเติมเต็มความคาดหวังที่ไม่แน่ชดั ของนายจ้าง

“มันบ่งบอกได้ว่า” เธอกล่าว “เป็ นคนฝึ กงานเอง ไม่ใช่นายจ้างที่พยายามทางานหนักเพื่อให้


การฝึ กงานนัน้ บรรลุจดุ ประสงค์ท่มี นั ควรจะเป็ น”

ผูฝ้ ึ กงานหลายคนจาเป็ นต้องใช้ทรัพยากรของตัวเองเพื่อให้ผา่ นการฝึ กงาน ไม่วา่ จะเป็ นการที่


หลายคนต้องทางานเสริม ใช้รถของตัวเองในการทางาน หรือต้องยืมรถพ่อแม่ใช้ การไม่
สามารถเข้าถึงทรัพยากรของผูฝ้ ึ กงาน เป็ นการสร้างช่องว่างให้ทางเศรษฐกิจและสังคมระหว่าง
ผูฝ้ ึ กงานบางคน กับอุตสาหกรรมที่พวกเขาหวังจะเข้าไปทางาน

'แรงงานแลกความหวัง-แรงงานขายฝั น'

กอลล์มิทเซอร์ ได้ใช้แนวคิด ‘แรงงานแลกความหวัง’ (hope labor) และ ‘แรงงานขายฝัน’


(aspirational labor) เพื่อมาอธิบายว่าทาไมผูฝ้ ึ กงานถึงยอมรับสภาพการจ้างงานแบบนี ้ ที่
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 13

เป็ นเหมือนการเบียดเสียดกันเข้าไปทางานในระดับมืออาชีพ ผูฝ้ ึ กงานยอมรอคอยโดยหวังว่า


ประสบการณ์ท่พี วกเขาได้รบั จะทาให้ได้งานที่คา่ จ้างสูงขึน้ และมีความมั่นคงมากขึน้

แต่กอลล์มิทเซอร์ บอกว่าแล้วพวกเขาจะได้เรียนรูว้ า่ จริงๆ แล้วการฝึ กงานเป็ นการเรียนรูเ้ พื่อให้


เคยชินกับรูปแบบของสภาพการจ้างงานในอุตสาหกรรมข่าว ซึง่ การได้ทางานในรูปแบบที่ผู้
ฝึ กงานต้องการนัน้ อาจจะไม่เกิดขึน้ เลย มันทาให้เห็นภาพที่ว่าการทางานสื่อมวลชนในช่วง
เริ่มต้นนัน้ ต้องทางานอยูใ่ นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ภายใต้การบีบรัดจากสภาพเศรษฐกิจที่
โกลาหลนัน้ มันเป็ นอย่างไร

ทีม่ า
Journalism internships are an education — in precarious work (MARK
CODDINGTON AND SETH LEWIS, NiemanLab, 16 November 2021)

เผยแพร่ครัง้ แรกในเว็บไซต์สานักข่าวประชาไท
รายงานพิ เศษ
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 14

WHO และ ILO เรียกร้องให้มีมาตรการเพื่อ


ปกป้องสุขภาพ 'คนทำงานทางไกล'

องค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO)


เรียกร้องให้มีการกำหนดมาตรการเพื่อปกป้องสุขภาพของคนงานในขณะ
ทำงานทางไกล | ที่มาภาพประกอบ: ILO

จากรายงาน new technical brief on healthy and safe teleworking อันเป็ นความร่วมมือ
ระหว่างองค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ที่ได้ระบุถึง
ประโยชน์ท่ไี ด้รบั จากการทางานทางไกล ได้แก่ ความสมดุลระหว่างชีวิตและการทางานที่ดีขึน้
สามารถจัดตารางเวลาการทางานและการออกกาลังกายที่ยืดหยุน่ ได้ ลดเวลาการจราจรและ
การเดินทางซึ่งจะช่วยมลภาวะทางอากาศ การทางานทางไกลยังสามารถนาไปสู่ผลผลิตที่
สูงขึน้ และต้นทุนการดาเนินงานที่ต่าลงสาหรับหลายๆ บริษัท
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 15

"ในช่วงเกือบ 2 ปี นบั ตัง้ แต่เริ่มมีการระบาดใหญ่ เป็ นที่ชดั เจนว่าการทางานทางไกลสามารถ


ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพได้ง่าย แต่ก็อาจส่งผลกระทบร้ายแรงได้เช่นกัน" ดร.มาเรีย เนรา
ผูอ้ านวยการฝ่ ายสิง่ แวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสุขภาพของ WHO กล่าว

อย่างไรก็ตามรายงานฉบับนีเ้ ตือนว่าหากไม่มกี ารวางแผน การจัดองค์กร สุขภาพและความ


ปลอดภัยอย่างเหมาะสม การทางานทางไกลอาจจะส่งผลต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต และ
สวัสดิภาพทางสังคมของผูป้ ฏิบตั งิ าน เพราะการทางานทางไกลสามารถนาไปสู่การแยกตัว
โดดเดี่ยว ความเหนื่อยหน่าย อาการซึมเศร้า การบาดเจ็บของกล้ามเนือ้ และกระดูก อาการ
ปวดตา การสูบบุหรี่และการดื่มแอลกอฮอล์เพิ่มขึน้ การนั่งและหน้าจอเป็ นเวลานานอาจทาให้
เกิดโรคอ้วน รวมถึงประเด็นความรุนแรงในครอบครัว

ดร.เนรา ยังระบุว่าการระบาดใหญ่ของ COVID-19 ได้นาไปสู่การทางานทางไกลที่เพิ่มขึน้ ซึง่


ถือเป็ นการเปลี่ยนลักษณะการทางานครัง้ ใหญ่ในเพียงชั่วข้ามคืน ทัง้ นีเ้ ป็ นที่ชดั เจนว่าการ
ทางานทางไกลสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพได้และอาจส่งผลกระทบร้ายแรงได้
เช่นกันคล้ายกับการแกว่งของลูกตุม้ ซึ่งขึน้ อยู่กบั ว่ารัฐบาล นายจ้าง และคนทางาน จะร่วมกัน
หรือไม่ในการกาหนดให้มีบริการอาชีวอนามัยที่คล่องตัวและสร้างสรรค์เพื่อเป็ นแนวปฏิบตั ิท่ี
เป็ นประโยชน์ต่อคนทางาน

"เพื่อปรับตัวสู่ความปกติใหม่ เรามีโอกาสที่จะได้กาหนดนโยบาย แนวทางปฏิบตั ิ และบรรทัด


ฐานใหม่เพื่อให้แน่ใจว่าคนทางานทางไกลหลายล้านคน จะมีงานที่ดีมีคณุ ค่า มีความสุข และ
มีประสิทธิผล" ดร.เนรา กล่าว

รายงานฉบับนีแ้ นะนาว่านายจ้างควรรับประกันว่าคนทางานได้รบั อุปกรณ์ท่เี พียงพอในการ


ทางานทางไกล มีการให้ขอ้ มูล แนวทางและการฝึ กอบรมที่เกี่ยวข้องเพื่อลดผลกระทบด้านจิต
สังคมและสุขภาพจิตจากการทางานทางไกล ฝึ กอบรมผูจ้ ดั การในการจัดการความเสีย่ งที่มี
ประสิทธิภาพ และการส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทางาน มีการให้ 'สิทธิในการตัดการเชื่อมต่อ'
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 16

และวันพักผ่อนที่เพียงพอ บริการด้านอาชีวอนามัยต้องมีการสนับสนุนทัง้ ด้านสรีรศาสตร์และ


สุขภาพจิต แก่พนักงานที่ทางานทางไกล เป็ นต้น

รายงานเสนอคาแนะนาเชิงปฏิบตั ิสาหรับการจัดระบบ telework เพื่อตอบสนองความต้องการ


ของทัง้ คนงานและองค์กร ซึ่งรวมถึงการอภิปรายและพัฒนาแผนงานการทางานทางไกลส่วน
บุคคลและการชีแ้ จงลาดับความสาคัญ มีความชัดเจนเกี่ยวกับระยะเวลาและผลลัพธ์ท่ี
คาดหวัง ตกลงร่วมกันในระบบเพื่อส่งสัญญาณความพร้อมในการทางาน; และสร้างความ
มั่นใจว่าผูจ้ ดั การและเพื่อนร่วมงานเคารพระบบ

สถานประกอบการที่มีพนักงานเสิรฟ์ ทางโทรศัพท์ควรพัฒนาโปรแกรมพิเศษสาหรับการทางาน
ทางไกล การรวมมาตรการสาหรับการจัดการงานและประสิทธิภาพเข้ากับเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารและอุปกรณ์ท่เี พียงพอ และบริการด้านอาชีวอนามัยสาหรับสุขภาพ
ทั่วไป การสนับสนุนด้านสรีรศาสตร์และจิตสังคม

ทีม่ า
Crucial changes needed to protect workers’ health while teleworking (ILO, 2
February 2022)

เผยแพร่ครัง้ แรกในเว็บไซต์สานักข่าวประชาไท
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 17
ทุกข์คนทำงาน
ผ่านมา 2 ปี คนทำงานด่านหน้าสู้กับ COVID-19
ในจีนยังขาดการคุ้มครองที่ดี

แม้จะผ่านมา 2 ปีแล้ว แต่คนทำงานด่านหน้าสู้กับ COVID-19 ในจีนยังคง


ขาดการคุ้มครองด้านแรงงานที่ดี | ที่มาภาพประกอบ: RFA
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 18

สื่อ 'China Labour Bulletin' ที่จบั ตาประเด็นแรงงานในจีน เผยว่าหลังจากมีการยืนยันพบ


ผูป้ ่ วย COVID-19 ในเมืองซีอานเมื่อวันที่ 9 ธ.ค. 2564 รัฐบาลท้องถิ่นได้ประกาศปิ ดเมือง
ระหว่างวันที่ 22 ธ.ค.2564 - 24 ม.ค. 2565 การล็อกดาวน์ท่ยี าวนานหนึ่งเดือนนี ้ ได้เผยให้เห็น
ถึงการที่เมืองต่างๆ ต้องพึ่งพาคนทางานด่านหน้าที่มีรายได้ต่าและแทบจะไม่มีการคุม้ ครอง
ด้านแรงงานเลย

กลยุทธ์การป้องกันการแพร่ระบาดเป็ นศูนย์ของจีนนัน้ ต้องพึง่ พาสถานที่กกั กันโรคเป็ นอย่างยิ่ง


ซึ่งส่วนใหญ่แล้วใช้โรงแรม เพื่อป้องกันไม่ให้ COVID-19 แพร่กระจายไปในหมู่ประชากรในวง
กว้าง คนทางานด่านหน้าในโรงแรมเหล่านีไ้ ม่เพียงแต่เผชิญกับความเสี่ยงสูงในการติดเชือ้ แต่
ยังได้รบั ค่าจ้างต่าและมีความมั่นคงทางการเงินเพียงเล็กน้อยเท่านัน้

บัญชีโซเชียลมีเดียที่โพสต์กรณีการติดเชือ้ ในซีอานเมื่อวันที่ 9 ธ.ค. 2564 เผยให้เห็นว่า


คนทางานด่านหน้ายังไม่มคี วามพร้อมสาหรับงานนี ้ รวมทัง้ ยังต้องเผชิญกับความบีบคัน้ ทาง
เศรษฐกิจอีกด้วย

'เซียง' คนทางานด่านหน้าที่เพิ่งจบการศึกษาพยาบาล และเพิ่งได้รบั การฝึ กอบรมเพียง 2 วัน


ก่อนถูกส่งไปทางานในโรงแรมจินเฉิง ซึ่งเป็ นโรงแรมกักกันที่กาหนดไว้ในซีอาน เขารับผิดชอบ
ในการฆ่าเชือ้ ในห้อง ส่งอาหาร และเก็บขยะ เขาทางานให้กบั 2 ทีมพร้อมกัน เนื่องจากบริษัท
ผูร้ บั เหมาต้องการลดต้นทุน ผูร้ บั เหมายังปกปิ ดโรงแรมว่าได้จา้ งนักศึกษาหรือคนทางานที่มี
ประสบการณ์นอ้ ยมาทางาน

เซียงได้รบั เงินค่าจ้าง 150 หยวนต่อวัน ในจานวนนีผ้ รู้ บั เหมาจะหักไป 30 หยวน เมื่อวันที่ 4


ธ.ค. 2564 เขาย้ายกระเป๋ าเดินทางสาหรับผูก้ กั ตัวที่เพิ่งเช็คอิน หลังจากเสร็จสิน้ ภารกิจนี ้ เซีย
งพบว่าชุดป้องกันของเขามีรูร่วั 2 รูท่บี ริเวณแขน ความกว้างประมาณสองนิว้ แม้วา่ กฎด้าน
ความปลอดภัยจะระบุว่าเขาควรเปลี่ยนชุดป้องกันทันที แต่ผจู้ ดั การโรงแรมไม่ตอ้ งการให้เขา
ทาเช่นนัน้ แม้กระทั่งนาตัวเขาไปกักตัว
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 19

ต่อมาเซียงมีผลตรวจเป็ นบวกและเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เพื่อนร่วมงานคนอื่นๆ ที่


โรงแรมจินเฉิงก็ติดเชือ้ COVID-19 เช่นกัน รวมถึง 'จาง' รูมเมทของเซียง แต่ผจู้ ดั การโรงแรม
ของเซียงไม่ได้ไปเยี่ยมเซียงเพื่อถามว่าเซียงเป็ นอย่างไรบ้าง แม้ว่าเขาจะติดเชือ้ ระหว่างทางาน
ก็ตาม

เมื่อเซียงขอเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลและค่าอาหาร กลับไม่มคี าตอบจากฝ่ ายบริหาร เซียง


เปรียบเทียบว่าเขาถูก "เตะออกไปให้พน้ ตัว ราวกับลูกฟุตบอล" รวมทัง้ คาขอเงินเดือนของเขาก็
ไม่ได้รบั การตอบสนองด้วยเช่นกัน

ขณะอยู่ในโรงพยาบาล เขาต้องเผชิญกับการโจมตีทางออนไลน์จากผูจ้ ดั การของเขาที่ไม่เต็ม


ใจที่จะรับผิดชอบต่อความเจ็บป่ วยนี ้ ในภาพหน้าจอของ WeChat ที่เขาโพสต์ออนไลน์ 'ซู่'
ผูจ้ ดั การของเขาได้ตาหนิโดยกล่าวว่างานของเขานัน้ "ต่าต้อย"

ผูจ้ ดั การยังปกป้องการกระทาของตัวเองในการออกไปกินฮอทพอทในขณะที่พนักงานหน้างาน
ถูกกักตัวอยู่ในบริเวณโรงแรม - โดยกล่าวว่า "ไม่ใช่เรื่องกงการอะไรของคุณ"

ส่วนผูจ้ ดั การอีกคนเสนอให้เซียงยืมเงิน 3,000 หยวน แต่ตอ้ งคืนหลังจากที่รกั ษาตัวหายแล้ว

เซียงโพสต์ในบัญชีโซเชียลของเขาว่า "ทาไมฉันไม่ได้รบั เงินเดือนขณะอยู่ในโรงพยาบาล?


ทาไมพวกเขาถึงต้องเอาเงินจากพนักงานที่เหน็ดเหนื่อยจากการทางาน"

กรณีของเซียง เป็ นอีกหนึ่งตัวอย่างที่คนทางานด่านหน้าในซีอานต้องเผชิญกับความทนทุกข์


ทรมาน มีพนักงานทาความสะอาด 4 คน ถูกไล่ออกเพราะเอาอาหารมาจากเจ้าของแฟลตมา
กินประทังชีวิตเพียงเพราะพวกเขาจะหิวโหยก็ตาม แรงงานต่างถิ่นที่ติดอยูใ่ นซีอานพบว่าพวก
เขาได้รบั การแจกจ่ายเครื่องอุปโภคบริโภคแย่กว่าที่คนในท้องถิ่นได้รบั คนทางานสัญญาจ้าง
ชั่วคราวไม่มีแม้เงินที่จะซือ้ อุปกรณ์ทาอาหารเองได้ ต้องกินเพียงบะหมี่กึ่งสาเร็จรูปเท่านัน้ แม้
รัฐบาลท้องถิ่นจะมีการแจกจ่ายผักให้ชาวบ้าน แต่ละคนก็ได้จานวนน้อยนิดเท่านัน้
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 20

2 ปี หลังการระบาดใหญ่ของ COVID-19 China Labour Bulletin ชีว้ า่ รัฐบาลทุกระดับในจีน


ควรให้คณ ุ ค่าและปกป้องคนทางานด่านหน้าและเรียนรูจ้ ากความผิดพลาดในอดีต
ตัวอย่างเช่นการระบาดของสนามบินหนานจิงในฤดูรอ้ นปี 2564 ก็มีสาเหตุมาจากการปฏิบตั ิท่ี
ไม่เหมาะสมของคนทางานด้านสุขาภิบาลที่จา้ งงานมาโดยผูร้ บั เหมาและทางานหนักเกินไป

นอกจากนี ้ China Labour Bulletin ยังตรวจสอบบทบาทของสหภาพแรงงานเมื่อครัง้ การล็อก


ดาวน์ในอู่ฮ่นั ในต้นปี 2563 จากการสืบสวนพบว่าคนทางานด่านหน้าขาดการคุม้ ครองด้าน
สุขภาพและความปลอดภัยที่ดี ทัง้ ที่สิ่งเหล่านีค้ วรมีความสาคัญสูงสุด และคนทางานต้องการ
ผูส้ นับสนุนที่มีประสิทธิภาพอย่างสหภาพแรงงาน เพราะไม่เพียงจาเป็ นสาหรับคนทางานด่าน
หน้าเท่านัน้ แต่มนั คือการเพิม่ ศักยภาพในปกป้องประชาชนทั่วไปและต่อสูก้ บั การแพร่กระจาย
ของ COVID-19 และอันตรายอื่นๆ ที่ตามมา

โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนทางานด่านหน้าในลักษณะสัญญาจ้างเหมา พวกเขาได้รบั การ


ช่วยเหลือหรือการสนับสนุนเพียงเล็กน้อยเท่านัน้ พวกเขากลีบเป็ นเป็ นหนึ่งในกลุ่มคนทางานที่
ได้รบั ค่าจ้างต่าสุด และยังต้องเผชิญกับการเลือกปฏิบตั ิและความไม่ม่นั คงทางเศรษฐกิจ กาล็
อกดาวน์เมืองซีอานได้เผยให้เห็นว่าการเพิกเฉยต่อการคุม้ ครองแรงงานอย่ างโจ่งแจ้งทาให้
คนทางานและประชากรทั่วไปตกอยู่ในความเสี่ยงมากเพียงใด

ทีม่ า
First local Covid-19 case in Xi’an outbreak highlights lack of labour protections for
frontline workers (China Labour Bulletin, 31 January 2022)

เผยแพร่ครัง้ แรกในเว็บไซต์สานักข่าวประชาไท
รายงานพิ เศษกุมภาพันธ์ 2565 หน้า 21
วารสารคนทำงาน

ผลสำรวจพบผู้หญิงออสเตรเลียเผชิญความ
รุนแรงเมื่อคู่ครองตกงานช่วง COVID-19

การศึกษาชิ้นใหม่แสดงความเชื่อมโยงระหว่าง 'ความรุนแรงในครอบครัว-การ
ตกงาน-แรงกดดันทางเศรษฐกิจ' ช่วงการระบาดใหญ่ของ COVID-19 พบ
ผู้หญิงออสเตรเลียมักจะเผชิญความรุนแรงในครอบครัวซ้ำเติมเมื่อคู่ครอง
ของพวกเธอตกงาน | ที่มาภาพประกอบ: Marco Verch Professional
Photographer (CC BY 2.0)
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 22

การสารวจออนไลน์ผหู้ ญิงออสเตรเลีย 10,000 คน จากองค์กรวิจยั ความปลอดภัยสตรี


แห่งชาติของออสเตรเลีย (National Research Organisation for Women's Safety) ที่ทาการ
สารวจระหว่างเดือน ก.พ.-เม.ย. 2564 แสดงให้เห็นว่าเมื่อคูค่ รองของพวกเธอตกงาน ผูห้ ญิง
มักจะประสบกับความรุนแรงเป็ นครัง้ แรก จากนัน้ ก็จะเริม่ ทวีความรุนแรงขึน้

นอกจากที่พวกเธอจะตกงานแล้ว โดยผูห้ ญิง 1 ใน 3 (ร้อยละ 31) ในแบบสารวจถูกเลิกจ้าง


ตกงาน หรือต้องลดค่าจ้างหรือลดชั่วโมงการทางาน ในช่วง 12 เดือนแรกของการระบาดใหญ่
และประมาณ ร้อยละ 25 ระบุว่าคู่ครองของพวกเธอตกงาน

ผูห้ ญิง 1 ใน 10 คน เคยประสบกับความรุนแรงทางร่างกายจากคูค่ รองในปัจจุบนั หรืออดีต


ร้อยละ 8 ถูกกระทารุนแรงทางเพศ และร้อยละ 32 เคยประสบกับพฤติกรรมล่วงละเมิดทาง
อารมณ์

สาหรับผูห้ ญิงที่เคยประสบกับความรุนแรงจากคู่รกั เป็ นครัง้ แรก ส่วนใหญ่กลุ่มที่ค่คู รองของ


พวกเธอไม่ได้ทางานหรือตกงาน มีแนวโน้มที่จะประสบกับความรุนแรงทางร่างกายมากกว่า
ผูห้ ญิงที่ค่คู รองมีงานทาอยูถ่ ึง 2 เท่า

ส่วนผูห้ ญิงที่มีประวัติถกู กระทารุนแรงในครอบครัว มีโอกาสประสบกับความรุนแรงทาง


ร่างกายบ่อยครัง้ หรือรุนแรงขึน้ ถึง 4 เท่า หากคู่ครองตกงาน และมีแนวโน้มสูงที่จะเผชิญความ
รุนแรงทางอารมณ์ถงึ 2 เท่า

การสารวจนีย้ งั พบว่าความเครียดจากปั ญหาทางการเงินมีส่วนเกี่ยวข้องในการที่ผหู้ ญิงจะ


ประสบกับความรุนแรงทางร่างกายเพิม่ ขึน้ 3 เท่า

แอนโธนี่ มอร์แกน ผูจ้ ดั การฝ่ ายวิจยั ของสถาบันอาชญวิทยาแห่งออสเตรเลีย (Australian


Institute of Criminology) ระบุวา่ มีปัจจัยหลายประการที่มีส่วนทาให้เกิดความรุนแรงใน
ครอบครัวช่วง COVID-19
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 23

"มันเป็ นการบรรจบกันของปั ญหาทางการเงิน การสูญเสียงาน ความกดดันที่เพิม่ ขึน้ ในแง่ของ


การดูแลเด็ก มีปัจจัยหลายอย่างมารวมกัน" เขากล่าว

ความสัมพันธ์ท่สี าคัญประการหนึ่งที่เกิดกับคูค่ รองที่มคี วามรุนแรงครัง้ แรกคือสถานการณ์ท่มี ี


ความไม่สมดุลในความมั่นคงทางเศรษฐกิจระหว่างชายหญิง

ในคู่ท่ผี หู้ ญิงที่เป็ นคนหาเลีย้ งครอบครัว ผูห้ ญิงมีแนวโน้มที่จะประสบกับความรุนแรงทาง


ร่างกาย 1.7 เท่า และมีแนวโน้มที่จะประสบความรุนแรงทางเพศ 1.6 เท่า และมีแนวโน้มที่จะ
ประสบกับความรุนแรงทางอารมณ์มากกว่าผูห้ ญิงที่คคู่ รองที่หารายได้เท่าๆ กันหรือผูช้ ายหา
รายได้มากกว่า 1.5 เท่า

มอร์แกนกล่าวว่าความเหลื่อมลา้ ทางเศรษฐกิจระหว่างผูห้ ญิงกับคูข่ องเธอมีความสัมพันธ์กบั


การใช้ความรุนแรงครัง้ แรกแต่ไม่เกิดซา้ เป็ นไปได้ว่าแนวโน้มว่าความไม่สมดุลทางการเงินมี
ส่วนทาให้ผชู้ ายแสดงพฤติกรรมรุนแรง

ส่วนเฮย์ลยี ์ ฟอสเตอร์ ซีอีโอของ Full Stop Australia ซึง่ เป็ นองค์กรช่วยเหลือเหยื่อความ


รุนแรงในครอบครัว ระบุวา่ ว่าการระบาดใหญ่ของ COVID-19 ไม่ได้เป็ นจุดเริ่มของการสร้าง
ความรุนแรงในครอบครัว แต่หากไปช่วยเพิม่ ความรุนแรงขึน้ ต่างหาก

"มันถูกทาทาให้รุนแรงขึน้ ซึ่งก่อนหน้านัน้ มันมีสถานการณ์ท่ไี ม่เหมาะสมอยูแ่ ล้ว" เธอกล่าว

นอกจากนีป้ รากฎการณ์ท่ผี ชู้ ายที่หาเงินได้นอ้ ยกว่าผูห้ ญิงแล้วมีพฤติกรรมรุนแรงต่อคูค่ รองนัน้


ฟอสเตอร์มองว่าทัศนคติของชุมชนที่มองว่าผูช้ ายควรจะเป็ นคนหาเลีย้ งครอบครัวนัน้ เป็ น
ปั ญหา

"ทัศนคติเหล่านีเ้ ราต้องช่วยกันแก้ไขโดยทั่วกัน" ฟอสเตอร์กล่าว


วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 24

ด้านนาตาลี วอร์ด รัฐมนตรีกระทรวงความปลอดภัยและป้องกันความรุนแรงในครอบครัวแห่ง


รัฐนิวเซาท์เวลส์ กล่าวว่ารัฐบาลได้ลงทุน 484.3 ล้านดอลลาร์ฯ เพื่อช่วยเหลือผูห้ ญิงและเด็กที่
หนีจากความรุนแรงในครอบครัว

"บริการด้านที่อยู่อาศัยและบริการสนับสนุนมีบทบาทสาคัญ ดังนัน้ ผูท้ ่ถี กู ทารุณกรรมใน


ครอบครัวสามารถเริ่มต้นชีวติ ต่อไปด้วยความรูส้ กึ ปลอดภัยและได้รบั การสนับสนุน" เธอกล่าว
ทีม่ า
Study of 10,000 women finds link between job losses in COVID-19 pandemic and
domestic violence (Catherine Hanrahan and Kathleen Calderwood, ABC NEWS, 31
January 2022)

เผยแพร่ครัง้ แรกในเว็บไซต์สานักข่าวประชาไท
วารสารคนทำงาน กุมภาพันธ์ 2565 หน้า 25

ที่มาภาพปก: IJNET
Covid-19 impact: 50% of global youth depressed, 17% out of jobs, says ILO
(Business Standard, 13 August 2020)

เผยแพร่ครัง้ แรกในเว็บไซต์สานักข่าวประชาไท

วารสารออนไลน์คนทำงานมีวัตถุประสงค์
เพื่อเป็นสื่อกลางในการสื่อสารด้านแรงงาน
ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในการเผยแพร่-ทำซ้ำ รับ
ข่าวสาร-ข้อมูลหรือส่งข่าวด้านแรงงานทาง
อินเตอร์เน็ตได้ที่:
workazine@gmail.com
ติดตามวารสารคนทำงานย้อนหลังได้ที่:
http://prachatai.com/labour/newsletter
http:// www.workazine.com
facebook.com/workazine

You might also like