ที่มา: สานักข่าวประชาไท
วารสารคนทำงาน มิถนุ ายน 2565 หน้า 17
เรื่องจากปก
วิทยาลัยชุมชนในสหรัฐฯ ช่วยเติมเต็ม
ช่องว่างทักษะแรงงาน
วิทยาลัยชุมชนในสหรัฐฯ มีหลักสูตรระยะสั้นที่ผลิตแรงงานที่มีทักษะ
ช่วยแก้ปัญหาขาดแคลนแรงงาน ภาคธุรกิจในท้องถิ่นได้แรงงานที่
ตรงกับความต้องการ แต่นักศึกษาที่จบหลักสูตรระยะสั้นในบางสาขา
ก็ยังคงเผชิญกับปัญหาค่าแรงต่ำเมื่อออกไปประกอบอาชีพ | ที่มา
ภาพ: AACC
วารสารคนทำงาน มิถนุ ายน 2565 หน้า 18
สร้างทักษะใหม่ให้คนทางานสู่ตลาดแรงงาน
พาร์แฮมระบุว่าแม้วิทยาลัยชุมชนหลายแห่งเปิ ดสอนหลักสูตรอาชีวศึกษามาเป็ น
เวลานาน แต่ความพยายามทางกฎหมายในการจัดโปรแกรมการศึกษาให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของตลาดแรงงานที่ทวีความเข้มข้นมากขึน้ หลังจากภาวะเศรษฐกิจ
ถดถอยในปี 2551
ในบรรดามลรัฐและวิทยาลัยชุมชนที่ขยายหลักสูตรระยะสัน้ รัฐเวอร์จิเนียมักถูกอ้างเป็ น
ต้นแบบ ก่อนเกิดการระบาดของโควิด-19 โครงการ FastForward ของรัฐเวอร์จิเนียได้
ผลิตผูช้ ่วยพยาบาล พนักงานขับรถ และคนทางานที่มีความต้องการสูงอื่นๆ ในหลักสูตร
วิทยาลัยชุมชน 6-12 สัปดาห์
ตัวอย่างเช่นที่วิทยาลัยชุมชนโคโรราโดแห่งออโรรา มีหลักสูตรกลไกพลังงานดีเซล
ระยะเวลา 1 ปี ที่พฒั นาขึน้ โดยความร่วมมือกับสมาคมการค้าในท้องถิ่น มีอตั ราการ
จ้างงานนักศึกษาหลังจบหลักสูตรเกือบ 100% ในปี นี ้ วิทยาลัยคาดว่าจะเปิ ดตัว
หลักสูตรช่างยนต์ดีเซลและการก่อสร้าง ที่เป็ นพันธมิตรกับภาคธุรกิจในท้องถิ่น
ยังต้องเผชิญความท้าทาย
ทีม่ า
States Look to Community Colleges to Fill Labor Gap (Caitlin Dewey, Stateline,
14 April 14 2022)
Number of community colleges in the United States in 2022, by type (Erin
Duffin, Statista, 31 March 2022)
“Community College คืออะไร และมีขอ้ ดี อย่างไร แล้วทาไมถึงเลือกเรียน
Community College เหมาะสาหรับใคร” (S&K International Education, เข้าถึงข้อมูล
เมื่อ 30 พฤษภาคม 2565)
เผยแพร่ครัง้ แรกในเว็บไซต์สานักข่าวประชาไท
รายงานพิ เศษ
วารสารคนทำงาน มิถนุ ายน 2565 หน้า 26
นศ.จบใหม่ในญี่ปุ่นลาออกจากงานแรก
ภายใน 3 ปีกว่า 30%
ทีม่ า
“Not a Good Match”: Almost One in Three Japanese Graduates Quit First Job
Within Three Years (Nippon.com, 24 May 2022)
เผยแพร่ครัง้ แรกในเว็บไซต์สานักข่าวประชาไท
วารสารคนทำงาน มิถนุ ายน 2565 หน้า 29
ทุกข์คนทำงาน
'โรงงานสีเขียว' แต่กลับละเลย 'คนทำงาน' ตัวอย่าง
จากโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่บังกลาเทศ
พนักงานหญิงของโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปแห่งหนึ่งในเมืองกาซิปูร์
ประเทศบังกลาเทศ | ที่มาภาพ: Solidarity Center
- โรงงานสีเขียวบางแห่ง ดาเนินการไม่สอดคล้องกับการปกป้องสิทธิแรงงาน
- ความอ่อนแอของคนทางานตัดเย็บเสือ้ ผ้าต่อความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมและการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะยิ่งเพิม่ ขึน้ หากประเด็นสิทธิแรงงานและความต้องการขัน้
พืน้ ฐานของพวกเขายังไม่ได้รบั การแก้ไขโดยรัฐบาลและนายจ้าง
- โรงงานหลายแห่งจะไม่อนุญาตให้คนทางานมีการจัดตัง้ เพื่อทาการศึกษาประเด็น
สิ่งแวดล้อม ขัดขวางการศึกษาว่าการผลิตผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
อย่างไร และความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมนัน้ เชื่อมโยงกับสุขภาพและความเป็ นอยู่ท่ดี ี
อย่างไร
- กลไกการตรวจสอบและติดตามที่เป็ นทางการมองข้ามผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศต่อคนทางานในโรงงาน
- หากไม่มขี อ้ กาหนดในการนาไปใช้และกระบวนการดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐานเป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่กาหนดโดยแบรนด์ระดับโลกดูเหมือนจะมีอยูเ่ ฉพาะใน
กระบวนการที่เรียกว่า "การฟอกเขียว" เท่านัน้
วารสารคนทำงาน มิถนุ ายน 2565 หน้า 33
"หากไม่มีสหภาพแรงงานเพื่อปกป้องผลประโยชน์และเสรีภาพในการแสดงออก ไม่มีโรงงานใด
ที่จะถูกพิจารณาว่าเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อมอย่างเหมาะสม” ซอนยา มิสทรี ฝ่ ายการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของ Solidarity Center กล่าว
ทีม่ า
‘THE FACTORY IS GREEN, THE JOB IS NOT’—BANGLADESH GARMENT WORKER
(Carolyn Butler, Solidarity Center, 20 April 2022)
เผยแพร่ครัง้ แรกในเว็บไซต์สานักข่าวประชาไท
รายงานพิ เศษมิถนุ ายน 2565 หน้า 34
วารสารคนทำงาน
“ผูน้ าองค์กรจะถูกท้าทายให้มองหาวิธีสนับสนุนพนักงานและหาจุดสมดุลเพื่อหลีกเลี่ยง
ปั ญหา” เขากล่าว
เผยแพร่ครัง้ แรกในเว็บไซต์สานักข่าวประชาไท
วารสารคนทำงาน มิถนุ ายน 2565 หน้า 37
ที่มาภาพปก: AACC
Covid-19 impact: 50% of global youth depressed, 17% out of jobs, says ILO
(Business Standard, 13 August 2020)
เผยแพร่ครัง้ แรกในเว็บไซต์สานักข่าวประชาไท
วารสารออนไลน์คนทำงานมีวัตถุประสงค์
เพื่อเป็นสื่อกลางในการสื่อสารด้านแรงงาน
ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในการเผยแพร่-ทำซ้ำ รับ
ข่าวสาร-ข้อมูลหรือส่งข่าวด้านแรงงานทาง
อินเตอร์เน็ตได้ที่:
workazine@gmail.com
ติดตามวารสารคนทำงานย้อนหลังได้ที่:
http://prachatai.com/labour/newsletter
http:// www.workazine.com
facebook.com/workazine