You are on page 1of 42

เรื่องเล่าเร้าพลัง

การใช้กระบวนการ “สุนทรียปรัศนี ”
ในโครงการพัฒนาเครือข่ายเด็กไทย
ฟั นดีที่จังหวัดแพร่
~1~
โดย อรุณวรรณ แม่หล่าย (ต้า)
สำานั กงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่

การใช้กระบวนการ “สุนทรียปรัศนี ”
ในโครงการพัฒนาเครือข่ายเด็กไทย
ฟั นดีที่จังหวัดแพร่
โดย คุณอรุณวรรณ แม่หล่าย (ต้า)
สำานั กงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่

แนวคิดของการทำางานมาจากไหน ?
แนวคิดของการทำางานเรื่องนี้ก็มาจากแนวคิดของ
สำานั กงานสาธาณสุขจังหวัดแพร่ที่อยากให้ทุกคนมี
ส่วนร่วมรับผิดชอบสุขภาพเด็ก ให้ทุกคนช่วยกันดูแล
และเราเชื่อว่าครอบครัวเป็ นกุญแจสำาคัญและชุมชนก็
เป็ นคนกำาหนดสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับเด็ก ๆ ได้ และที่
สำาคัญสร้างเครือข่ายให้เด็กไทยฟั นดี ขยายผลการ
ดำาเนิ นงานส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน
วัตถุประสงค์การทำางานชิ้นนี้ ทำางานมาถ้าเป็ น
โครงนี้ก็จะเป็ นระยะที่ 2 ของการทำางาน คือเราเริ่ม

~2~
จากแนวคิดที่ให้บ้านกับโรงเรียนทำางานร่วมกัน แล้วก็
ขยายมาระยะนี้ ระยะที่ได้รับทุนจาก คทสส. ก็เป็ น
บ้าน โรงเรียนและก็ชุมชน
วิธีทำางาน จากการทำางานที่เรามีการประเมิน
การประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม งานที่เค้าทำาก็เป็ นงาน
ด้านเสริมสร้างพลัง(Empowerment) มีการเอื้อกัน
ระหว่างบ้านและชุมชน มีการใช้ศักยภาพของตัวเอง
อย่างเต็มที่ และมีเรื่องของการหนุนช่วยให้ชุมชนได้มี
รวมกลุ่มทำากิจกรรม เรียนรู้ร่วมกันและมีการเสริม
ความรู้ และเสริมทักษะชีวิตให้กับนั กเรียนและมีการ
สร้างกระแส รวมทัง้ กรประสานงานในภาคีที่
เกี่ยวข้อง โดยใช้แหล่งความรู้ในชุมชน
โดยสรุปจากกิจกรรมที่ทัง้ 2 จังหวัด เครือกล้วย
อันนี้มี 2 หวีคือสิงห์บุรีกับแพร่ งานหรือกิจกรรมที่เค้า
ทำา โดยสรุปผลงานก็ออกมาในเรื่องของการจัดการสิ่ง
แวดล้อม ตัวอย่างก็เป็ นตัวอย่างกิจกรรมที่แต่ละ
โรงเรียนเค้าออกแบบมา มีด้านนโยบาย ก็มีในเรื่อง
โรงเรียนปลอดนำ้ าอัดลมและขนมกรุบกรอบ มีการ
ออกกำาลังกายบ้าง และก็มีเรื่องบูรณาการและการ
เรียนรู้ เข้าไปในการเรียนการสอน มีตัวอย่างให้เห็น

หัวใจแห่งความสำาเร็จอย่่ตรงไหน?

~3~
ปั จจัยที่ส่งผลให้ประสบความสำาเร็จ จากมุมมอง
ของคนทำางานในส่วนกลาง ก็เป็ นเรื่องของการ
ทำาความเข้าใจในคนทำางานในทุกระดับ ร่วมกัน และ
การทำางานอย่างต่อเนื่ อง การประสานงานที่ดีและ
ชัดเจน ทีส
่ ำาคัญคือเราสร้างระบบพี่เลี้ยงที่ช่วยอำานวย
ความสะดวกในการทำางานทุกด้านแทนที่จะเป็ นการ
นิ เทศแบบสมัยโบราณ เราก็ใช้ระบบพี่เลี้ยง กิจกรรม
ที่เครือข่ายคิดและก็ทำาส่วนใหญ่ก็เป็ นการต่อยอด
ของดี หรือสินทรัพย์ที่มีอยู่ในชุมชน และเริ่มจากสิ่งที่
เค้าสนใจ

สิ่งที่ได้เรียนรู้ หลักในการทำางานในชุมชน จาก


การที่เข้าไปทำางาน สิ่งสำาคัญคือเราต้องปรับตัวให้เข้า
กับสถานการณ์ และก็ปรับตัวให้เหมาะสม และก็ต้อง
ทำางานด้วยใจ ไม่ใช่ทำาเพราะว่าเราต้องทำา สิ่งที่สำาคัญ
คือเราจะต้องรู้จักวิเคราะห์พ้ ืนที่ พูดคุย ซักถาม
สังเกต เพราะนำ ามาสู่วางแผนและพัฒนาเพื่อจะ
สามารถแก้ไขปั ญหาได้ตรงประเด็น

มีการพัฒนาเครือข่ายกันยังไง?
เรื่องการพัฒนาเครือข่าย เรามี 2 ระดับก็คือ
ภายในจังหวัดของแต่ละจังหวัดเองและมีการพัฒนา

~4~
เครือข่ายข้ามจังหวัด ภายในจังหวัดเราเริ่มจากพัฒนา
กระบวนการทำางานภายในจังหวัด คือ เริ่มจากแนว
การทำางานเป็ นทีม ใช้คำาว่า “พหุภาคี” คือ ภาคีที่มา
จากหลากหลาย เช่น ผู้ปกครอง อสม. เจ้าหน้ าที่
สาธารณสุข ความหลากหลายคือความงดงาม ยอมรับ
ความหลากหลายในแต่ละอาชีพและก็มาทำางานร่วม
กัน หมายความว่าเป็ นกลุ่มคนที่จุดประกายความคิดที่
จะทำาให้เกิดการพัฒนา โดยที่เค้าก็จะเริ่มสร้าง
ประสบการณ์ให้กับคนด้วยกัน คือเน้ นสินทรัพย์ที่คน
ก็หมายความว่า ความดี ความมีวัฒนธรรมอะไรต่าง
ๆ ของดีที่มีอยู่ในชุมชนทุกรูปแบบ เราเริ่มจากสิ่งดี ๆ
เหล่านี้ที่มีอยู่ พอเราได้มาแล้ว เราก็มาแลกเปลี่ยน
ทุกกระบวนการก็จะมาแลกเปลี่ยน เครือข่ายก็จะเกิด
สัมพันธ์ที่เพิ่มขึ้น ๆ
การพัฒนาเครือข่ายข้ามจังหวัดก็หมายความว่า
ให้สิงห์บุรีจะแลก ๆ กันในการพัฒนาเครือข่าย เพราะ
ว่าเราเป็ นคนจัดโอกาสให้เค้าได้พบปะ พูดคุย แลก
เปลี่ยน
การพัฒนาเครือข่ายให้เข้มแข็งนั น
้ เราก็เริ่มจาก
การสร้างการมีส่วนร่วม ร่วมคิดร่วมทำาอย่างแข็งขัน
คือเริ่มต้นจากรูปแบบ และความต้องการของคนใน
ชุมชน และก็การทำางานของคนในชุมชนเกิดจาก
สำานึ กที่ดีเลยทำาให้เกิดความเข้มแข็ง

~5~
ตอนแรกก็ไม่รู้ว่าจะต้องทำาอะไร อ๋อทำาเครือข่าย
จริง ๆ ชื่อเดิมเป็ นเครือข่ายผู้ปกครอง ทำายากมาก คือ
โครงนี้เราเริ่มทำาเมื่อปลายปี 2549 ต้นปี 2550 คือ
จริง ๆ เรามีคนอยู่ เราเริ่มมาจากเครือข่ายเด็กไทยไม่
กินหวาน ก็คือมี จ.แพร่ เป็ นจังหวัดนำ าร่องในปี 2547
้ เรามีอยู่ 4 โครงและเริ่มมาขยายเมื่อปี 2548
ตอนนั น
อีก 4 โครง แล้วก็มีปัญหาว่าเราสามารถที่จะพัฒนา
งานในแต่ละโครงที่ทำาอยู่ประจำาในโรงเรียนมันชัด แต่
ที่ไม่ชัดคือทำาความเข้าใจในเรื่องชุมชน ใช้คำาว่า
“พหุภาคี ส่ส
ู ุนทรียสนทนา ประสานความคิด เนรมิต
สุขภาพโรงเรียน”

ไปไงมาไงถึงได้มีกระบวนการ “สุนทรียปรัศนี ”?
ตอนแรกก็ไม่คุ้นเลย ว่าเป็ นยังไงคำาว่า“สุนทรีย
ปรัศนี ” เราก็ยังงงมาก เราก็มอง ๆ
อาจารย์เค้าก็บอกว่าไม่อยากให้เราเริ่มใหม่ ใน
สิ่งที่เราไม่มี อยากให้เราเริ่มในสิ่งที่เรามี โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง สิ่งที่ดีทส
ี่ ุด ที่เรามีแล้วภาคภูมิใจ
ไม่เป็ นไรเรามีอยู่ 15 คนมีโรงเรียนอีกตัง้ 10
โรง มีโรงเรียนที่ชนะการประกวดอีก 3 โรงด้วยซำ้า
สบายมาก ทำาแล้ว พอเริ่ม อย่างทีบ
่ อก เราเริ่มจาก
เครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน เราจะทำาเป็ น 2
แนวคิดคือแนวคิดในเรื่องของ การส่งเสริมสุขภาพ
ตามที่เราอยากให้คนมีสุขภาพดี และแนวคิดอีกจุด
~6~
หนึ่ งคือแนวคิดของโรงเรียนสร้างสุข มองในจุดนี้ว่า
ถือเป็ นการจัดกระบวนการที่สามารถจัดกระบวนการ
เรียนรู้ แต่พอเราทำาไปสิ่งที่เราขาดคือเรื่องของชุมชน
พอดีโครงการหรู ๆ เข้ามาพอดี เราก็เลยคิดว่าอาจารย์
ก็มาเฉลยให้ว่า จริง ๆ แล้วถ้าเราจะมองคำาว่า “ชุมชน
ของเรา” เรามองมาจากอะไร
ถ้าเรามองจากรากฐานที่เข้มแข็งเราต้องมอง
จากมุมกว้าง มีอะไรไหมในนั น
้ เราต้องมองในเรื่อง
ของกระบวนการที่เกิดขึ้นในชุมชนก่อนที่เราจะลงไป
เค้าทำาอะไรอยู่ไหม แล้วเราก็ต้องดูว่ามันมีอะไรที่เป็ น
พลังอยู่ในชุมชนของเค้า ที่เราจะไปเชื่อมต่อไปจับได้
จะส่งผลให้เราเห็นความสามารถของเค้า แล้วเรา
สามารถจะไปช่วยพัฒนาศักยภาพตรงนั น
้ ได้อย่างไร
แต่ถ้าเริ่มมองชุมชนแบบเดิม ๆ คือแคบ ตื้น
สำาเร็จรูป ที่ผ่านมา เรามองชุมชนแบบสำาเร็จรูป คิด
ว่าเค้าโง่ เพราะโง่จึงเจ็บ เพราะเจ็บจึงจน เพราะ
จนจึงโง่อีก อันนี้มองแบบเดิม ๆ และเราคิดว่า เราทำา
แบบนี้จะต้องเป็ นแบบนี้ มองเฉพาะในมุมมองของเรา
เอง แล้วเราก็คิดว่าเค้าไม่มีใช่ไหม มันเป็ นศูนย์เราก็
ต้องไปเติมให้มันเต็ม อันนี้ก็มองแบบเดิม เราถ้าถาม
ว่าเราเชื่อใช่ไหมว่ามุมมองที่มาจากชุมชนมองตนเอง
ถ้าเวลาที่เราใส่สิ่งเหล่านี้ เข้าไปมันสามารถที่จะสร้าง
สิ่งเหล่านี้ได้จริงใช่ไหม หรือเราเชื่อว่าชุมชนเค้ามี

~7~
ของดีอยู่แล้วเพียงแต่เราไปเติมให้เต็ม นี่คือมุมมอง
แบบเก่า ๆ ทีเ่ คยทำา ใน เรื่อง ผู้ปกครองเครือข่าย
สุนทรียปรัศนี เป็ นกระบวนการที่เรียกว่า“เรา
ไปค้นหาสิ่งดี ๆกัน ก่อน” ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องอะไร
อะไรก็ได้ ไม่จำาเป็ นจะต้องเป็ นเรื่องสุขภาพ แล้วเราก็
ร่วมชื่นชมในสิ่งที่เขามี เสร็จแล้วเราก็เข้าไปต่อยอด
ให้เค้า ให้เขาขยายสิ่งที่ดีไปยังสิ่งอื่น ๆ และให้เค้า
รู้สึกว่าสิ่งเหล่านั น ์ รีของเค้าเอง
้ เป็ นเกียรติและศักดิศ
โดยการร่วมกันคิดถึงอนาคตดี ๆ ทีอ
่ ยากจะเจอ และ
ร่วมกันออกแบบจะทำากันยังไง โดยวิธีสน
ุ ทรียะ คือ
เราเริ่มจากคำาพูดที่ดี ๆ เราจะไม่ถามว่า อะไร ทำาไม
ใช่เหรอ เป็ นจริงเหรอ เราจะเริ่มด้วย อ๋อ จริงหรือ
อุุย! ดูดีจังเลย เหมือนกับว่าใครก็ตามที่มาเริ่มกับเรา
แล้วบอกว่า ทำาไมหน้ าตาแปลก ๆ ตลกเนอะ แต่ง
หน้ าอย่างนี้เหรอ แต่เป็ น วันนี้หน้ าตาดูแจ่มใสกว่า
เมื่อวานอีกนะ แล้วสุดท้ายร่วมกันทำาอะไรที่ดี ๆ
สร้างสรรค์สิ่งที่ดี ๆ

มีการขยายผลจากโครงการเดิมกันยังไง?
กระบวนการที่เราใช้ในส่วนของการขยาย ด้วย
การคิดด้วยกัน วางแผนด้วยกัน ลงมือทำาด้วยกัน
สุดท้ายก็คือสะท้อนความคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ไป
ด้วยกัน จะต่อกันเหมือนเส้นไหม พันกันไปเรื่อย ๆ
~8~
ด้วยกระบวนการแนวคิดแบบนี้ เรียกว่า การเสริม
สร้างพลังชุมชน
เราคิดว่าองค์กรของเรานั น
้ มีดีอยู่ เพียงแต่ว่า
้ เราจะหยิบมาใช้อย่างไรโดยการใช้ 4 ตัว
ในสิ่งที่ดีนัน
คือ 1)เอื้ออำานวยให้ผู้คนมาสนทนากันอย่างมีความสุข
2) ก่อกระแส จุดประกายทำาให้ผู้คนได้เห็นสิ่งดี ๆ ที่
ตัวเองและชุมชนมีอยู่ 3)ประสานกลุ่ม องค์กร หรือ
เครือข่าย ทำาให้เกิดพลังที่จะร่วมกันคิดร่วมกันตัดสิน
ใจ และ 4)ให้กำาลังใจสนั บสนุน ให้กลุ่มทำากันเองจน
สำาเร็จ อันนี้คือแนวคิดใหม่ จะเห็นว่าไม่มีคำาว่าลงมือ
ทำาตัง้ แต่ต้น เรายังไม่ลงมือทำา แต่เราไปเพื่อให้เกิด
การเสริมสร้างในเรื่องของศักยภาพชุมชน เสริมสร้าง
องค์กรอิสระทีอ
่ ย่่ในชุมชน เสร็จแล้วสุดท้ายเค้าก็ต้อง
มาเป็ นเครือข่ายเรา
มันก็คือคำาที่ว่า สร้างเครือข่ายให้เข้มแข็ง จาก
อะไร จากปั จเจกชนนิ ยมสุดขัว
้ หรือเปล่า หรือว่าเราจะ
สร้างจากจิตสำานึ กสาธารณะที่เราอยากจะทำาในสิ่งที่
เราคิดร่วมกันหรือว่ามองเห็นด้วยกัน

มันมีอะไรมาทำาให้คิดเปลี่ยนไปจากเดิม ?
แนวคิดการทำางานในเครือข่ายนี้เราก็คิดมาจาก
ว่า ทุกองค์กรจะต้องเป็ นไท การที่เราลงไปทำางานเรา
จะต้องมองว่าทุกอย่างเป็ นอิสระทางความคิด เราให้

~9~
เกียรติซ่ ึงกันและกัน แล้วเราต้องร่วมกันคิดร่วมกัน
ตัดสินใจตัง้ แต่แรก แล้วต้องค้นหาว่าสิ่งที่เราไปทำาใน
ชุมชน เค้ามีอะไรดี เรียกว่า“มองบวก”ตรงนี้สำาคัญ
เพราะว่า.......
หากเรามองลบเริ่มจาก ไปค้นหาแต่รอยโรค ฟั น
เขามี24 ซี่ เราเห็นฟั นดีก็มองผ่านเลยไป พอเจอฟั นผุ
ก็เริ่มขานเลยว่าเจอฟั นผุแล้ว เจอแล้ว 2 ซีผ
่ ุนิดหน่ อย
เราก็บอกว่า นี่ แหละเพราะไม่แปรงฟั นน่ ะสิ กินขนม
หวานเยอะเลยเป็ นยังงี้ ? แบบนี้เรียกว่า“มองลบ”
แล้วตำาหนิ เลยนะ
หากเรามองในมุมใหม่ เออ ฟั นหนูดีตัง้ 22 ซี่
แน่ ะ ทำายังไงถึงดูแลได้ดี เก่งจัง 2 ซี่ที่ผุ เนี่ ยะนะ
ดูแลให้ดีแปรงฟั นให้บ่อยขึ้นอีกนิ ด แล้วกินขนมลดลง
อีกหน่ อย หน้ าหนูน้อยก็จะบาน เป็ นกระด้งเละละ
มิตรภาพก็เจริญงอกงาม เอาให้ไกลยิ่งไปกว่านั น

หากเราเริ่มถามว่าหนูเคยทำาอะไรมาดี ๆ ให้กับฟั นที่
งดงามของหนู 22 ซีท
่ ี่ไม่ผุนี้บ้าง หนูน้อยจะรู้สึก เขื่อง
ขึ้นมาทันทีเลยล่ะ เห็นไหม ? แล้วเล่าให้เราและพวก
เพื่อนๆด้วยกันฟั งว่า เคยได้ทำาอะไรมาดี ๆ เป็ นคุ้ง
เป็ นแควทีเดียว ความรู้สึกภาคภูมิใจที่เกิดขึ้นในตัว
หนูน้อย เป็ นเพราะคำาถามที่เราตัง้ ใหม่ เริ่มจากถามดี
ก่อนตังหาก ไกลตัวเด็กออกไปอีก ไปถึงชาวบ้านโน่ น
ไปตัง้ คำาถามที่ทำาให้เขามีกำาลังใจบ้างว่า เขาเคยทำา

~ 10 ~
อะไรดีๆ ร่วมกันมาแล้วบ้างในเรื่องการดูแลสุขภาพ
ของตัวเอง หรือของดีในชุมชนของเขา ให้เขาเล่าสู่
กันฟั ง และเปลี่ยนเรียนรู้ในสิ่งที่เขาภาคภูมิใจกัน
ตอนนี้แหละ ภูมปั ญญาดัง้ เดิมก็จะหลัง่ ไหลออกมา ว่า
เขามีอันโน้ นอันนี้ เป็ นที่สนุกสนาน บรรยากาศก็
สดชื่นรื่นรมย์ ยิ่งหากให้เขาได้มีโอกาสได้ผลัดกัน
แสดงความชื่นชมกันและกันอีกในเวลาที่มีจำากัดนี่
แหละ เช่นว่า ทีเ่ ล่าให้ฟังแล้วเรารู้สึกว่า เขาเก่งยังไง
ดียังไง ตัวอย่างเช่น เยีย
่ มจริง ๆ สุดยอด! นายแน่
มาก ! ความรู้สึกของผู้เล่าก็ยิ่งดีเป็ นทวีคุณ หน้ าบาน
เป็ นกระด้งฟั ดข้าวเลยละ
หากพวกเราร่วมที่จะมองสิ่งที่เป็ นอยู่เดิมของ
เค้า มองในมุมมองใหม่งดงาม ถึงแม้ว่ามันจะขี้เหร่
บ้างก็อย่าไปใส่ใจ หรือเอามาพูดมองข้ามไปเลย เราก็
ต้องพยายามมองให้เห็นด้วยว่า ชุมชนเองมีอะไรที่เค้า
มีค่าบ้าง คุณค่าในตัวของเค้า เราจะได้อาสาสมัครมา
ทำางานเคียงข้างเราอีกเยอะแยะ นี่ ก็เป็ นเรี่องดีใน
ประเด็นของการมีส่วนร่วม และนี่ ก็คือภาคีเครือข่ายที่
เราได้ผ่านกระบวนการ“การมอง” ที่เรียกกว้างขวาง
ออกไปอีก เชื่อมโยงจากตัวคน เข้าถึงชุมชนเลยที
เดียว เช่นเริ่มจากเดิมที่เคยมองแค่ “บวร” คือ บ้าน
วัด โรงเรียน แต่ตอนนี้เรามีการเติม บ้าน วัด
โรงเรียน แล้วเติมคำาว่า “สาธารณสุข” เข้าไปด้วย

~ 11 ~
กลายเป็ น “บวรสุข” ตอนนี้มี “อบต”.ด้วย แล้วจะ
เอาไปใส่ตรงไหน ก็บอกว่าไม่เป็ นไร อาจจะเป็ น “บวร
อบตเป็ นสุข” มีอบต. อยู่ตรงกลาง เราคิดว่าภาคี
เครือข่ายที่เราน่ าจะทำาด้วย ก็จะมี ครู ผู้บริหารที่เป็ น
ภาคีเครือข่าย แต่ข้างล่าง หน่ วยงานท้องถิ่นกับ
ชุมชนเริ่มเข้ามาแล้ว อบต. กำานั น ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำา
ชุมชน ผู้ปกครอง ปราชญ์ชาวบ้าน แล้วก็ชุมชนต่าง ๆ
สุดท้ายก็คือพระ เป็ น ผู้นำาการเปลี่ยนแปลง ที่ดี
มากเลย เพราะว่า
พระสงฆ์ท่านจะเป็ นผู้ใหญ่ในตำาบล เป็ นผู้ใหญ่ใน
หมู่บ้านที่ผู้คนเคารพนั บถือ
ดังนั น
้ เรื่องโจทย์ของผู้ปกครองเครือข่าย หาก
เราคิดกันแต่คำาว่าผู้ปกครอง มันแคบ เราก็คิดกันว่า
เป็ นเพียงแค่ผู้ดูแลเด็กเท่านั น
้ แต่ผู้ปกครองในมุม
มองจริง ๆ มันไม่ใช่แค่ผู้ปกครองที่อยู่ดูแลเด็ก แต่
หมายความว่าคนที่อยู่ใกล้ชิดเด็ก ผู้สร้างอนาคตให้
เด็กด้วย คนที่อยู่ในละแวกบ้านเด็ก คนที่มีสท ์ ะ
ิ ธิจ
เอื้อเฟื้ อต่อเด็ก สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีให้แก่เด็ก เป็ น
แบบอย่างที่ดีเข้าไปอีก ไม่ว่าจะเป็ นในเรื่องของท้อง
ถิ่นเอง ในเรื่องของพระ ในเรื่องของชุมชน ญาติพี่
น้ อง อันนี้ล่ะคือภาคีเครือข่ายผู้ปกครอง ในมุมมอง
ใหม่

~ 12 ~
วิธีการทำางานบริการสุขภาพมีความแตกต่างไปจาก
เดิมยังไง?
เมื่อก่อนเราจะทำางานกันแบบว่าเรามีข้อมูลอยู่
ในมือ เราไปค้นหาปั ญหาของชาวบ้าน แล้วใส่ความ
รู้สึกเป็ นเจ้าเข้าเจ้าของเข้าไปอีก เราเริ่มเครียดแล้ว
เพราะว่าข้อมูลของเรามีอยู่มีแต่เรื่องที่แย่ ๆ ของชาว
บ้านทัง้ นั น
้ อย่ากระนั น
้ เลย จำาเราจะต้องลงไปแก้
ปั ญหาตรงนั น
้ เลย โดยที่ไม่ได้ถามพื้นที่หรือว่าถามผู้
เกี่ยวข้องว่าจริง ๆ ว่าเขารู้สึกยังไง เขาจะเอากันยังไง
มันไปเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง มันเกี่ยวข้องกับสุขภาพ
จิตอย่างไร เกี่ยวโยงกับ เรื่องโรคฟั นผุอย่างไร เกี่ยว
โยงกับเรื่องมลภาวะอย่างไร ซึ่งก็คือ ไปบริการรักษา
เขา เยียวยาเขา ครูที่โรงเรียนพอเห็นเราก็บอกเลย
ว่า ยกให้เราไปจัดการ ยกห้องเรียนให้ด้วยไปสอนไป
สัง่ ยังไงก็สุดแท้แต่ ครูได้เวลาจะไปทำางานอื่นละ
ผอ.โรงเรียนก็บอกว่า ผมยกให้หมอทัง้ โรงเรียนเลย
เอาละสิ มีแค่โรงสองโรงที่ไหนล่ะ มีเป็ นสิบ ๆ โรง แค่
ไปตรวจแล้วบริการแบบด่วน ๆ ทุกโรงเรียนกว่าจะถึง
คราวเจอกันอีกหนก็ปาเข้าไปเกือบปี ดูแลอะไรกัน
หวัดไหว กลับมานั ง่ ปวดหัวที่โรงพยาบาลก็ไม่มีใคร
ใส่ใจ อยากช่วยเขาบอกว่างานที่โรงพยาบาลก็หนั ก
เหลือแสนแล้ว ก็ได้แต่ก้มหน้ าก้มทำาไป ตามมีตาม

~ 13 ~
เกิด ใครอย่ามาตอแยกับเราอีกกันแล้วกัน จะวีนให้น่า
ดูเลยล่ะ
แต่พอเราได้แนวคิดในการทำางานแบบใหม่ ลง
ไปในชุมชนจริง ๆ เราเริ่มมองกว้างขึ้น แทนที่จะเห็น
แต่ซี่ฟันเด็ก ๆ กับแผนคราบจุลินทรีย์ เราจะมองเห็น
ว่าวิถีชีวิตเค้าเป็ นอย่างไร พอเริ่มลงไปเก็บข้อมูล
แบบใหม่ ก็ได้มองเห็นความงดงามของชุมชน ว่า
ชุมชนที่เราเข้าไปมีดีอะไร แล้วเราเอาที่ดี ๆ มาเชื่อม
โยงกันอย่างไร ถึงขนาดว่ามีคนไปนั ง่ คุยกับคนที่เค้า
ทำาประตูขาย หลังจากสัมภาษณ์กันคุยกันแล้ว ซื้อ
ประตูกลับบ้านด้วยจากสิงห์บุรี เพราะว่าในภาพที่เห็น
นั น
้ เราเริ่มเข้าใจว่าการทำางานในชุมชน ไม่ใช่มีแค่เจ้า
หน้ าที่สาธารณสุข ทันตบุคลากร เท่านั น
้ จะทีมงาน
สุขภาพที่ประกอบด้วยครู อบต. ผู้ปกครอง อสม. เรา
เรียนรู้และทำางานร่วมกันเป็ นทีม
เราทำาแผนที่ “แผนที่สินทรัพย์ชุมชน” หรือ
แผนที่เดินดิน เป็ นแผนที่ที่มีชีวิต ให้เราได้เห็นว่าใน
ชุมชนมีอะไรดีๆอยู่ตรงไหน? คนทำางานอยู่ตรงไหน?
เป้ าหมายเราอยู่ตรงไหน ? กัลยาณมิตรเราเครือข่าย
เราอยู่ตรงไหน? เป็ นเครือข่ายกันยังไง? ทำางานด้วย
กันยังไง? ทีเ่ ราคิดๆฝั น ๆร่วมกันมันเขียนออกมา
หน้ าตาเป็ นยังไง เอามาเชื่อมโยงกับงานของเรา
อย่างไร

~ 14 ~
แผนที่เดินดินนี่มันต่างไปจากแผนที่ทาง
ราชการของเราตัง้ เยอะแยะแน่ะ !! ที่พวกเราเคยทำา
ก็คือมีแต่วาดเส้น บอกทิศทาง ตำาแหน่งแห่งหนของ
สถานที่ ที่สำาคัญเท่านัน
้ เอง แต่แผนที่เดินดินนี่มัน
“พ่ดได้”ด้วยตัวของมันเองว่า มีอะไรดี ๆ อย่่ตรง
ไหน อย่่กันยังไง ?
วิธีทำาก็ง่ายๆเอาตัวเองเข้าไปสัมผัส เริ่มจาก
“ตาเรา” เห็นอะไรดี ๆบ้าง? อ้อที่หลังบ้านนั น
่ เขา
ตากผ้าอ้อม แสดงว่ากำาลังมีลูกเล็กนะ เออนี่ เขาปลูก
สมุนไพรกันเป็ นรัว
้ เลยแฮะ “หู” ล่ะได้ยินชาวบ้านพูด
ว่ายังไง มีความไว้วางใจกัน เห็นอกเห็นใจกันไหม?
สามัคคีกันไหม? ยกย่องกันไหม? เห็นหัวกันไหม
ระหว่างที่ทำางานด้วยกัน ? “ปาก” ถามชาวบ้านให้
เขาตอบเราด้วยความภาคภูมิใจได้ยังไง ? “ลิ้น” ไป
ชิมว่ามีอะไรอร่อยๆ ในย่านนั น
้ “จมูก”ไป ดมกลิ่น
ดอกไม้หอม ๆ ไอดินหอม ? “กาย” เดินขึ้นบ้านโน้ น
ลงบ้านนี้รู้สึก เป็ นยังไง หรือว่าไปนวดมาแล้วฝี มือ
เป็ นยังไง ใครเป็ นหมอนวดมือดี? .
“ใจ” เรื่องนี้สำาคัญมาก ที่ได้มากในเรื่องนี้จาก
การปฏิบัติก็คือพ่อครูสอนเราว่า สัมผัสที่มีค่าลำ้าลึก
ของชาวบ้านนั น
้ คือการเห็นภาพของตัวเอง ครอบครัว
และชุมชนของเขาด้วย“ใจ” ของเขาเอง อะไรล่ะที่

~ 15 ~
เขาอยากจะเห็นมันเกิดขึ้นกับตัวเอง กับคนที่เขารัก
หรือชุมชนที่เขาอยู่ ?
หากเราถามเขาว่า “แม่เฒ่า อยากเห็นอะไรที่
จะเกิดขึ้นกับลูกหลาน ในอีก 5-10 ปี ข้างหน้ า ? ”
หรือ “หลวงพ่ออยากเห็นหมู่บ้านของเราเป็ นยังไง”
เราจะได้วิสัยทัศน์ ของชาวบ้าน ตัง้ แต่เรื่องของ
การพัฒนา การทำามาหากิน ถนนหนทาง บ้านช่องห้อง
หอ วัดวาอาราม ลูกเต้าเหล่าหลาน การพัฒนาที่
สามารถกำาหนดได้เองของชาวบ้านไม่ใช่ของ
ข้าราชการที่มาแล้วก็ไป
แล้วอะไรมันจะวิเศษไปกว่านี้อีกหากเรานำ ามา
เขียนหรือวาดไว้ในแผนที่เดินดิน มันท้าทายคนทำา
มากเลยล่ะว่าเราจะมีฝีมือทำากันยังไง?
ในส่วนของแผนที่ หากเราอ่านมันหรือนำ ามันไป
ใช้เมื่อเขียนเสร็จแล้ว เราจะมีความรู้สึกว่า “โอ้โฮ! นี่
นะหรือคือสถานี อนามัย หรือว่าศูนย์บริการ
ประชาชน” เป็ นจุดที่เค้าโยงมา เป็ นเส้นสายยัว
้ เยี้ย
เต็มไปหมด เจ้าบ้านเป็ นผู้นำาธรรมชาติ เมื่อทำางาน
ต้องไปที่นี่ เจ้าบ้านนั น
้ เป็ นประธานแม่บ้านเป็ นผู้นำา
เครือข่าย เส้นสายที่เขียนไว้โยงใยไปรอบทิศแสดงว่า
มีงานที่เขาทำา เกี่ยวข้องกับคนโน้ นคนนี้ในย่านนั น

เต็มไปหมด และนี่ คอ
ื ความเชื่อมโยงที่จะสามารถนำ า
ไปใช้ทำางานด้วยกันกับชุมชนในอนาคต

~ 16 ~
แค่นี้ก็พอเป็ นเบาะแสว่าหากเราจะลงไปทำางาน
ร่วมกับชุมชน เช่นหากเราจะทำาโครงการส่งเสริมการ
มีส่วนร่วมของชาวบ้านให้มาพัฒนาสุขภาพฟั นกันเอง
เราจะไปหาใครก่อน
แล้วจากนั น
้ หนทาง วิธีการจะตามมายังไง จะ
เป็ นยังไงต่อไปคาดเดาได้เลย รับรองไม่โดดเดี่ยว
แน่ นอน ถ้าพูดถึงเรื่องสุขภาพเค้าให้ความสำาคัญเรื่อง
ตรงนี้ แต่ถ้าพูดถึงในเรื่องของสินทรัพย์ทางชุมชน
หรือว่าผู้ที่เป็ นผู้นำาทางอาชีพ เค้าโยงมาตรงนี้ชมรมผู้
สูงอายุ มีประโยชน์ มากเลย เวลาเราใช้ตรงนี้ไปเชื่อม
ต่อในการกิจกรรมในโรงเรียนได้ง่าย
แล้วมันมีอะไรที่สุนทรียะ เกี่ยวอะไรกับเรื่อง
โครงการเรื่องฟั นของเรา เครือข่ายของเรา ตอนที่เรา
ไปถอดบทเรียนกันในชุมชน ก็คิดว่าทำาไมชุมชนนี้ เค้า
เอาเรื่องของการปั ่ นฝ้าย ปั ่ นด้าย มาทำาเสื้อผ้า แล้วมัน
มาโยงอะไรกับงานเด็กไทยไม่กินหวาน อันนี้เป็ นงาน
ด้านสุขภาพในช่องปากเด็ก คุณยายตอบได้น่าสนใจ
มากคือ ถ้าเด็กเค้ารู้จักในเรื่องของวัฒนธรรมพื้นเมือง
พื้นดิน เค้ามาใช้เวลาว่างตรงนี้ มันก็จะเกิดการเชื่อม
โยงของคน 2 ฝ่ าย และในขณะที่เค้าทำาเค้าไม่ได้
เรียนรู้แค่เรื่องฝ้าย แต่เค้าจะโยงไปถึงเรื่องชีวิตที่ผ่าน
มา การดำาเนิ นการของชีวิตที่ผ่านมา ถ้าเด็ก ๆ เค้า
ไม่รู้การใช้ชีวิตหรือเค้าใช้ชีวิตแบบฉาบฉวย มันจะ

~ 17 ~
เป็ นอย่างไร คือมันเป็ นช่องว่างในการสอน ดีมากเลย
ไม่ต้องเสียเวลามายืนหน้ าชัน
้ สอน เค้าสามารถสอนใน
ขณะปั ่ นด้ายไปด้วย
หากยายหลานได้มาสนทนากันในเวทีธรรมชาติ
ที่บ้านของคุณยายเรื่องสุขภาพปากฟั นดี ก็เป็ นเวที
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งชุมชนเค้าเอาวัฒนธรรมมาโยง
กันในเรื่องของการนำ าเสนอเกี่ยวกับภูมิปัญญาเกี่ยว
กับสุขศึกษาและเกี่ยวกับทันตะของเรา
ตัวอย่างที่เห็นอยู่ในรูปนี่ เป็ นประเพณีการขับ
เพลงซอของทาง จ.แพร่ แล้วเค้าใช้เหมือน
กับ“Dancer” มีจินตลีลาประกอบเพลง แต่ว่าเพลงซอ
จะเป็ นเพลงเกี่ยวกับการรักษาสุขภาพฟั น เป็ นเพลงที่
สอนตัง้ แต่การแปรงฟั น การเลือกปรับประทานอาหาร
ที่มีประโยชน์ และไม่มีประโยชน์ เป็ นเพลงซอพื้นบ้าน
ที่สามารถสื่อไปได้ทุกกลุ่ม
เราเคยถูกชาวบ้านตัง้ คำาถาม แล้วทำาให้พวกเรา
หูตาสว่างอยู่เรื่องหนึ่ งก็คือเคยมี พี่ ๆ ผู้ที่ลงไปเก็บ
ข้อมูลเอง เค้าบอกว่าตอนที่ไปเก็บข้อมูล เค้าคิดว่าคำา
ว่า “เมี่ยง” เป็ นแค่สิ่งที่กินแล้วทำาให้ฟันดำา แต่
ภูมิปัญญาชาวบ้านลึกซึ้งกว่านั น
้ ชาวบ้านเค้าถามว่า
หมอเคยเห็นคนเคี้ยวเมี่ยงแล้วฟั นผุไหม? ฟั นไม่สวย
ก็จริงแต่ฟันไม่ผุ เราก็เห็นว่าจริง เพียงแต่ว่าฟั นมัน
ไม่สวยเท่านั น
้ เอง ปรากฏว่าบ้านที่เราไป ผู้ที่อายุเกิน

~ 18 ~
50 ปี เวลายิ้มจะมีฟันสีน้ำ าตาลทัง้ หมู่บ้าน แต่ฟันไม่ผุ
นี่ คือที่น่าอัศจรรย์สิ่งที่เราได้มา

้ ?
มีอะไรเปลี่ยนแปลงไปบ้างหลังจากนั น
ปี ต่อมา เราลองใช้กระบวนการ“ร่วมกันคิด ร่วม
กันทำา”แบบนี้ในโครงไม่กินหวานแต่เป็ นเครือข่ายผู้
ปกครอง เราก็ลองเอาไปทำาในตำาบลที่เค้ามีวัฒนธรรม
เด่น ๆ แล้วโยงกิจกรรมงานทางทันตะเข้าไปภายหลัง
ปรากฏว่าที่ ต.วังหงส์ นี่ เค้าทำาได้ดีมาก เค้าไม่มีทันต
บุคลากรในพื้นที่เลยแม้แต่คนเดียว มีแต่เจ้าหน้ าที่
สาธารณสุข เราใช้เครือข่ายผู้ปกครองเป็ นตัวผลักงาน
ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการไปหาการไปหา
สินทรัพย์ในตำาบล เค้าเข้าร่วม สมัครเข้าร่วมประกวด
โรงเรียนส่งเสริมทันตะเป็ นปี แรก โดยใช้กระบวนการ
ภาคีเครือข่ายเข้ามาจับ ในกิจกรรมที่โรงเรียนอาจารย์
้ มีชอบอยู่ 2 อย่าง อย่างที่ 1 ชอบ
บอกว่าคนม.6 นั น
ร้องเพลง กับอีกอย่างคือชอบเต้น เค้าจะถามเลยว่า
ในงานนี้มีใครมาจาก ต.วังหงส์บ้างยกมือขึ้น เด็กเค้า
ก็จะชอบร้องเพลงกันตัง้ แต่เด็กเล็ก เราก็สอดแทรก
งานสุขศึกษาของเราเข้าไปเป็ นกิจกรรมเรื่องการ
แปรงฟั นเข้ากับจังหวะเพลง รณรงค์ให้เด็กรู้จักแปรง
ฟั น โดยชื่อกิจกรรมหรูมากเลยชื่อ “ภัตตาคารหงส์

~ 19 ~
ฟ้ า”เอาเป็ นว่า เด็กกินอาหารกลางวัน ปกติมากเลย
แต่ข้างบนเป็ นเหมือนภัตตาคารเลย มีโฆษณา มีเล่น
ตลก มีการแสดง แต่เกี่ยวกับเรื่องการรักษาสุขภาพ
ฟั นหมดเลย แม้แต่โฆษณาขายสินค้าของเค้า ว่า
แปรงสีฟันของเค้ามันทำามาจากต้นข่อย ต้นข่อย
เป็ นต้นไม้ยืนต้นอยู่ใน มันเป็ นสินทรัพย์ที่มีอยู่ใน
ชุมชนของเค้า แล้วเด็กก็พูดได้อย่างสนุกสนาน เป็ น
ภาษาของเค้า ทัง้ เพลง ภาษา คำากลอน เด็กที่นัง่ ฟั ง
ข้างล่างตัง้ แต่เด็กอนุบาล เค้าร้องเพลงที่ครูแต่งได้
หมดเลย เพราะว่ามันเป็ นวัฒนธรรม เค้ามีความสุข
มันเป็ นความสุขที่เริ่มจากสิ่งที่เค้ามีอยู่ในชุมชน แล้ว
ไม่น่าเชื่อว่าเค้าส่งประกวดปี แรก แล้วเค้าก็ได้รับ
รางวัลระดับเขตด้วย เป็ นปี ที่ จ. ลำาปาง จะไม่ให้เรา
ผ่าน เป็ นปี ที่ จ.เชียงใหม่เกลียดเรามาก เพราะเราส่ง
3 หมวดเราได้รางวัลหมดเลย ทัง้ 3 หมวด เป็ นความ
ลับอยู่นาน แต่เราก็เอาความลับมาเปิ ดเผยท่าน
วันนี้เรามาบอกท่านได้เต็มปากว่า เราเริ่มจากสิ่ง
เหล่านี้ที่เรียกว่า “สุนทรียปรัศนี ” “สินทรัพย์หรือขุม
พลังชุมชน” พอมาปี หลัง ๆ เราเริ่มเห็นชัดเจนมาก
เลย จ.แพร่มีทัง้ หมด 311 โรงเรียน ทัง้ ในเขตของ
สพฐ. เขตเทศบาล เขตองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
เมื่อวันที่ 9 กันยายน ทีผ
่ ่านมา ท่านรองผู้ว่าราชการ
จ.แพร่ ท่านพงศ์ศักดิไ์ ด้มาเป็ นประธาน เนื่ องจากว่า

~ 20 ~
เรามีสมัชชาสุขภาพ เมื่อเดือน พฤศจิกายน ปี 2550
และท่านผู้ว่าเองรับปากในเรื่องของนโยบายปลอดนำ้ า
อัดลมจังหวัดในโรงเรียนประถมศึกษา แต่ปรากฏว่า
วันที่ 9 เป็ นที่น่ายินดีมากเลย ท่านรองผู้ว่าราชการ จ.
แพร่ ท่านมีคำาสัง่ ให้ทุกหน่ วยงานที่รับผิดชอบในเรื่อง
นี้ ลงไปบริหารจัดการแล้วรอวันประกาศเป็ นวัน
นำ าร่องเรื่องปลอดนำ้ าอัดลมทัง้ จังหวัด อันนี้ถือได้ว่า
เป็ นสิ่งที่เราขับเคลื่อนกันเองเป็ นเครือข่าย เป็ นเรื่อง
นโยบายสาธารณะเพื่อทันสุขภาพที่มาจากชุมชน ถาม
ว่ามันเกิดจากโครงนี้ทัง้ หมดไหม มันไม่ใช่ทัง้ หมด
แต่มันส่วนที่เราต่อยอดขึ้นไป คือตอนนี้ในโรงเรียน
เองเค้ามีการบริหารจัดการ ไปในทุก ๆ กลุ่ม ไม่ว่าจะ
เป็ นในเรื่องของโภชนาการ ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องของ
สหกรณ์ที่โรงเรียนบ้านนาจักร ปั จจุบันเป็ นโรงเรียน
ระดับเพชร ระดับภาคด้วย โรงเรียนนี้เริ่มมาจากทำา
แผนพัฒนาเครือข่ายของเราเอง เค้าใช้กระบวนการ
ขับไล่แม่ค้าออกจากโรงเรียน เสร็จแล้วก็บริหาร
จัดการให้นักเรียนมาขายเอง แล้วตอนนี้เด็ก ๆ ก็มี
ความสุขเนื่ องจากวันหยุดเด็กก็สามารถนำ าไปขายต่อ
ที่ชุมชน ก็เป็ นการต่อยอดไปเรื่อยๆ

แล้วมีอะไรเปลี่ยนแปลงให้เห็นเป็ นรูปธรรมใหม่ ๆ อีก?


มีการบูรณาการไปใน 8 สาระการเรียนรู้ ตอน
แรกไม่เคยเชื่อว่างานทันตะจะบูรณาการ 8 สาระการ

~ 21 ~
เรียนรู้ สาระการเรียนรู้คือแต่ละวิชา เค้าสามารถบ่รณ
าการไปในวิชาวิทยาศาสตร์ ทำาสีย้อมทำาเองได้จากสี
ธรรมชาติ เค้าสามารถบ่รณาการไปในเรื่องของ
โภชนาการ คือวิเคราะห์หาคุณค่าของอาหารและ
เปรียบเทียบ ขนมที่มีโทษและประโยชน์ ด้วยตัวเอง
เค้าสามารถบ่รณาการไปในเรื่องของภาษาไทย เค้า
เอาเพลงจ๊อยเพลงซอ ทีเ่ ป็ นวัฒนธรรมพื้นบ้านมา
แปลงเป็ นคำาภาษากลาง แล้วความหมายคืออะไร ให้
เด็กคิดต่อ
วิชาภาษาอังกฤษ อาจารยเอาวิชาของเราให้
นักเรียนไปแต่งเป็ นนิทานภาษาอังกฤษ เล่าเป็ นภาษา
อังกฤษ ล่าสุดโรงเรียนคู่หูของเรามีโรงเรียนเป็ น
้ ประถมที่มีเด็กที่มี 96 คน
อินเตอร์แล้ว โรงเรียนชัน
แต่เป็ นโรงเรียนระดับประถมที่มีดอกเตอร์มาสอน
สอนด้วยจิตสาธารณะ ท่านบูรณาการโดยใช้เด็กชัน

อนุบาลมานำ าเสนอเป็ นภาษาอังกฤษ หน้ าเสาธงทุก ๆ
วัน เด็กอนุบาล 1 อายุ 4 ขวบ มาพูดหน้ าเสาธงว่า
“Lady and Gentleman” เราก็รู้สึกว่าอนุบาลแถว
โรงเรียนบ้านนอกนี่ นะ เค้าบอกว่าเดี๋ยวเชิญทาน
อาหารด้วยกันนะค่ะ เค้าบอกว่าเดี๋ยวเค้าจะนำ าเสนอ
สื่อโภชนาการที่มีชีวิต ปรากฏว่าเค้าเอาธงโภชนาการ
ขึ้นมาเลย กินข้าวกับอะไร แล้ววันนั น
้ ก็เป็ นผัดบวบ
เค้าก็จะบอกว่าผัดบวบให้วิตามินอะไร เป็ นภาคภาษา

~ 22 ~
มือเต็มที่ เราฟั งแล้วมีความสุข แต่พอเด็กเล็กขึ้นมา
แล้ว Lady and gentleman โอ้ present เป็ นภาษา
อังกฤษ อลังการมาก
้ อนุบาล 1 มีพัฒนาการกล้ามเนื้ อมือ ถ้า
เด็กชัน
เด็กพัฒนากล้ามเนื้ อมือได้ เค้าจะเขียนได้สวยและทำา
อะไรได้ดี ท่านเลยบอกว่าต้องให้เด็กปั ้ นขนมบัวลอย
เค้าก็จะบอกเลย ว่าสีเหลืองทำามาจากฟั กทองค่ะ สี
แดงทำามาจากแก้วมังกร คือเค้าทำาเอง เค้าบอกได้
หมด ฟั งเด็กพูดแล้วมีความสุข แล้วเราถามว่าทำาเสร็จ
แล้วต้องกินไหมคะ? เค้าก็บอกว่ากินสิคะ ถ้าไม่กิน
แล้วใครจะมากินขี้มือหนู ? !!!

เราถอดบทเรียน จัดการความร้่ของเรายังไง?
พอได้เวลาที่ต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลังจากที่
ทัง้ สองจังหวัดคือ แพร่กับสิงห์บุรีทำากันมาพักใหญ่ เรา
ก็นัดหมายกัน มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เราเชิญ
แต่ละโรงเรียนเข้ามาร่วม 15 โรง เอามานั ง่ คุยว่าที่
โรงเรียน เราทำาอะไรไปแล้วบ้าง? ได้อะไรไหมคะ? มี
การพัฒนาเครือข่ายไหม? ต่อยอดไหม? แล้วแนวทาง
ของเค้า เค้าไปทำาแล้วไปต่อยอดขนาดไหน ?
ก็อย่างที่เล่าให้ฟังว่าเค้ามีการต่อยอด แล้วเค้ามี
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน เราก็รู้ว่าเรามีเครือข่าย
อย่ส
ู ิงห์บุรีดีใจมากเลย อีกอย่างหนึ่ งคือต้องขอบคุณ

~ 23 ~
อ.อุทย
ั วรรณ คำาพูดสวย ๆ หรู ๆ อย่างนี้คิดไม่เป็ น
หรอก อาจารย์ท่านเป็ นคนคิด
ภูมิหลัง สัญญาใจ ชักนำ าให้เราพบกัน
สื่อพลังใจ โยงสายใยสู่การเรียนรู้
ภ่มิหลังสัญญาใจ ก็คือเอาข้อมูลมาคุยมาเล่าสู่
กันฟั ง ชักนำ าให้เราพบกัน เหมือนบุพเพสันนิ วาสเลย
สื่อพลังใจ โยงสายใยส่่การเรียนร้่ ตอนที่เราเอาของดี
แต่ละจังหวัดมาเรียนรู้แลกเปลี่ยนกัน เรามีแต่คำาชม
ไม่มีแบบว่า “ทำาไมทำาแค่นี้เหรอ” อะไรอย่างนี้ไม่มี
อาจารย์ที่มาเค้าก็ดีใจ เล่าใหญ่เลย ของเราก็เล่าใหญ่
เลย สรุปวันนั น
้ ถ้าหากว่าเอารถมาตักคงได้หลายสิบ
คัน เป็ นอย่างไรสิงห์บุรีกลับบ้านหนั กมากไหมค่ะ
“ระเบิดจากภายใน” ก็ระเบิดความภาคภูมิใจ และ
เราร่วมกันคิด เรามีทีมงานถอดบทเรียนชื่อ “แพร่ใจ
สิงห์” สุดท้ายก็ คือ เอาเพลงแหล่กับเพลงซอมาแลก
เปลี่ยนกันฟั ง อาจารย์ทางสิงห์บุรีเค้าก็แถมท้ายด้วย
เพลงลิเก วันนัน
้ ก็นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดก็มา
ร่วมยินดีด้วย เราก็มีการนำ าขนมอ่อนหว่านมาแลก
เปลี่ยนกันกิน เราก็มาเป็ นโยงใยกันแล้วใช่ไหม ต้อง
มัดมือกันให้แน่ น ก็เลยมีพธ
ิ ีผูกข้อมือกันแบบล้านนา
สิงห์บุรีไม่รู้หรอก ว่าจริง ๆ เรามัดมือชก เราไปด้วย
กัน ร่วมหัวจมท้ายไปด้วยกัน แพร่กับสิงห์บุรีเรา
แต่งงานกันแล้วเรียบร้อย แล้วเราก็ร่วมอยู่ด้วยกัน

~ 24 ~
สิ่งที่เราได้มาทัง้ หมดเราก็นำามาถอดบทเรียน
ทัง้ หมดเราได้อะไร มันเกิดในเรื่องนโยบายสาธารณะ
เพื่อสุขภาพ เกิดในเรื่องของ การจัดสภาพแวดล้อมให้
เหมาะสมกับการเรียนรู้ เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่
เข้าไปใน 8 สาระ ทีพ
่ อเราเข้าไปแล้วเราก็พองโต คือ
กลุ่มพลังที่เราเข้าไปเมื่อไรเราก็ยิ้ม เป็ นกลุ่มพลังที่
เรามองในมุมมองใหม่ในสิ่งเดิมที่เราไม่เคยมอง แต่
พอมองแล้วมันสร้างศักยภาพ สร้างพลังใจและสติ
ปั ญญาให้กับคนทำาด้วย แล้วสุดท้ายมันเกิดกระแส
ขยายนวัตกรรมอีกไป ที่เราเรียกว่า “ตีฆ้องร้อง
เป่ า” หรือ “ใช้ดีแล้วบอกต่อ”ขยายไปยังกลุ่มอื่น ๆ
เกิดในเรื่องของขนมอ่อนหวาน ขนมกับเด็กเป็ น
ของคู่กัน ทำาอย่างไร เราก็คิดถึงในเรื่องขนมอ่อน
หวาน เรามีการนำ าไปเสนอในมหกรรมสร้างเสริมสุข
ของภาคเหนื อที่จัดไปเรียกว่า “นิ ทรรศการที่มีชีวิต
ชีวา” โรงเรียนของเราที่มีไปแสดงให้แต่ละหน่ วยงาน
เค้าดู ท่านผู้ว่าฯบอกเลยว่างานกาชาดปี ต่อไปให้จัดบุูต
แบบนี้เพื่อการประชาสัมพันธ์ให้กับกลุ่มองค์กรอื่นได้
รับทราบ แล้วท่านรองผู้ว่าฯ เองท่านก็บอกว่างาน
กาชาด โดยเฉพาะงานวันเด็กปี นี้ที่จัดโรงเรียนกาชาด
จะให้เป็ นสถานที่ปลอดนำ้ าอัดลมในงาน เราก็คิดว่าเรา
อยากจะเห็นภาพนี้ เพราะว่าท่านรับปากเรา

~ 25 ~
หัวใจแห่งความสำาเร็จในเรื่องทัง้ หมดนี ค
้ ือ
อะไร?
สิ่งที่เกิดขึ้นทัง้ หมดนี้มาจาก เราทำางานกัน
เป็ นทีม คำาว่าส่วนร่วม เมื่อก่อนเราคิดว่าส่วนร่วม
เป็ นอย่างไร อาจารย์อุทย
ั วรรณเคยโยนคำาถามตอนที่
เราเริ่มกระบวนการกันใหม่ ๆ ว่า ทีเ่ ราว่ามีส่วนร่วม
มันเรื่องจริง หรือว่าร่วมหลอกๆกันแน่ พอได้มาทำา

โครงนี้จริง ๆ เราได้รู้ว่า คำาว่ามีส่วนร่วมจริง ๆ


เป็ นอย่างไร และมันเกิดกล่่มพลังที่เราไม่เคยคาด

คิด และเกิดความสัมพันธ์เยอะแยะเลย ทำางาน

ด้วยใจ เมื่อก่อนจะได้ยิน อ.ทรงวุฒิพูดอยู่เสมอว่า


“ทำางานด้วยหัวใจความเป็ นมนุษย์” เราก็ยังคิดว่าเรา
ก็เป็ นมนุษย์เราก็ต้องมีหัวใจ แล้วเราไม่ได้ทำางานด้วย
หัวใจความเป็ นมนุษย์หรือ แต่พอทำางานนี้ คือเข้าใจ
แล้วว่าทีผ
่ ่านมาเราทำางานด้วย กรอบคำาสัง่ เขาสัง่ ให้
เราทำาจึงค่อยลงมือทำาจะได้ไม่เปลืองตัวเปลืองใจ แต่
พอมาทำาตรงนี้เราได้ร้่ว่า “ใจแลกใจ” มันเป็ นอย่างไร
แล้วมันเกิดการสร้างนโยบายสาธารณะที่ชัดเจนใน
เรื่องโรงเรียนปลอดนำ้ าอัดลม และก็ร้อยละ 60 เป็ น
โรงเรียนปลอดนำ้ าอัดลม ลูกอมและขนมกรุบกรอบ
ชุมชนเกิดการยอมรับและเรียนร้่ เช่น ต.ขุน
หม้อเองที่ผ่านมา อบต.เค้าจัดงานวันเด็กโดยเค้าติด

~ 26 ~
หน้ าทางเข้า อบต. และท้ายทางออกตรง อบต. เค้า
ทำาเหมือน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกาศกฏ
อัยการศึกคือเค้าให้ อพปร.เดินสกัด พอเราเดินเข้าไป
เค้าก็จะมี อพปร. เดินสกัด เราก็คิดว่าเค้ามีอะไรใน
งานหรือเปล่า เค้าติดเป็ นคำาสัง่ ของ อบต.ขุนหม้อ
ประทับตราด้วยว่า “เขตนี เ้ ป็ นเขตปลอดขนมกร่บ
กรอบ ลูกอม และนำ ้าอัดลม ห้ามจำาหน่ วยใน
บริเวณงานใด ๆ ทัง้ สิ ้น” เค้าปฏิเสธการรับขนม
กรุบกรอบทัง้ หมดที่จะให้เค้า เค้าไม่เอา เอากะเคุาสิ
เค้าสร้างกระแสในชุมชน เป็ นสิ่งที่เกิดอย่างเกินคาด
คิด มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ในโรงเรียนนั น

ชัดเจนมาก และทุกโรงตอนนี้มันเป็ นเหมือนกับที่
อาจารย์บอก มันเป็ นเหมือนพฤติกรรมเอาอย่าง ก็คือ
พอเห็นแล้วว่าเค้าทำาได้จริง ก็เริ่มต่อยอดออกไปเรื่อย
ๆ เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่แทรกซึมไปใน 8 สาระ
ที่สำาคัญก็คือ จ.แพร่ ตอนนี้เราทำา KM เยอะ
มาก จนบางทีก็ถามว่าเมื่อเราจะไป MK เพราะว่าเรา
ทำาเยอะมาก กระบวนการตรงนี้ดีมากเลยเพราะว่ามัน
เกิดการเรียนรู้ในทุกกลุ่ม แล้วเกิดการมา share
ประสบการณ์กัน แล้วมันก็มองเห็นขุมพลังที่อยู่ใน
แต่ละที่ ของแต่ละแห่ง แล้วเราก็มีการเอาอย่าง เกิด
พันธสัญญาระหว่างผู้ปกครองที่อยากจะทำาให้บ้านเป็ น
บ้านทีป
่ ลอดนำ้ าอัดลม ผู้ปกครองเค้าคิดเองเลยว่า เค้า

~ 27 ~
อยากทำา ถามว่าตรงนี้ เค้าอยากทำารา 100% ไหม
ไม่100% หรอก แต่ว่าเราไปเพิ่มโอกาสและแนวความ
คิดให้เค้า แล้วเป็ นโอกาสที่เค้าอยากทำา แล้วก็เกิด
อบต. อ่อนหวานออกมา ตอนนี้ที่ จ.แพร่เอง เราจะ
มีอำาเภออ่อนหวานด้วย อย่างที่ อ.ลอง ท่านนาย
อำาเภอลองประกาศเป็ นนโยบาย “ประชุมได้ผล คนได้
สุขภาพ” เป็ นนโยบายของระดับอำาเภอ แล้วท่านก็
ปฏิเสธงานวันเด็กที่มีน้ำ าอัดลมไม่เอา นายอำาเภอเป็ น
คนประกาศเองว่าท่านไม่เอา
ในเรื่องของการตีฆ้องร้องเป่ าไปในชุมชน เรามี
เยอะมาก ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องของละครหุ่น ประกวดฟั น
สวย นิ ทรรศการความรู้หน้ าเสาธง หรือว่าการนวด
สุขภาพฟั นดี แล้วที่เราเพิ่งทำาผ่านมาก็เมื่อ 80 ปี ของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็คือ เราประกาศเป็ นวัน
ปลอดขนมกรุบกรอบ ลูกอม นำ้ าอัดลม ลดบริโภค
หวานทัง้ จังหวัด 1 วัน มีเด็กคนหนึ่ งออกมาให้
ู นุบาล 2 มารดา เค้าบอกว่าเค้าชื่อน้ อง
สัมภาษณ์ อย่อ
กอล์ฟ เค้าออกมาบอกว่า “วันนี้น้องกอล์ฟดีใจมาก
เลยที่วันนี้ได้ทำาความดีกับในหลวง น้องกอล์ฟสัญญา
กับในหลวงว่าน้องกอล์ฟจะไม่กินโรตีสายไหม” คือใน
ความคิดของเค้าคือโรตีสายไหมหวานที่สุดแล้ว คือ
มันเป็ นความงดงามที่เราฟั งแล้วคิดว่าน่ ารัก

~ 28 ~
มีการจัดขนมอ่อนหวานและผลไม้เข้าไปใน
โรงเรียน เป็ นสิ่งที่ทดแทนเข้าไป การพยายามให้เด็ก
กินผัก แต่ส่วนใหญ่เด็กจะเขี่ยผัก เหมือนกับบางที่ที่
บอกว่าใช้ปลายช้อนกิน แต่ตอนนี้ก็พยายามให้เค้า
ทาน
สาระการเรียนรู้ แทรกซึมเข้าไปได้ ไม่ว่าจะเป็ น
วิชา กพอ. การทำาอาหาร ขนมอ่อนหวาน ตอนนี้วิชา
กพอ. เป็ นวิชาทำารายได้ เด็ก ป.4, 5, 6 ช่วงชัน
้ ที่ 2
เค้าก็จะแบ่งเวร แล้วก็ทำาขนมมาขาย ก็เอาเงินที่ขาย
ได้ไปออมทรัพย์ มีโรงเรียนหนึ่ งทำาในเรื่องนโยบาย
ตรงนี้ เค้าบอกว่าเค้าไปหาข้อมูลในพื้นที่เค้า เค้าบอก
ว่าเด็กอยากไปเที่ยว อาจารย์เค้าก็เลยมาคิดกลยุทธ์
ว่าเด็กไปเที่ยวถ้าอย่างนั น
้ เราตัดค่าขนมเด็ก คือไม่
อยากให้เด็กไปซื้อขนมข้างนอก ถ้าก็เลยตัง้ แผงเก็บ
ทัวร์จากค่าขนม โดยการที่ว่าหากหนูเก็บเงินได้ 500
บาท ปิ ดเทอมนี้ไปเชียงใหม่ หนูเก็บเงินได้ 1,000
บาทปิ ดเทอมนี้หนูไปกรุงเทพฯ เด็กออมใหญ่ปรากฏ
ว่าแม่ค้าที่อยู่ข้าง ๆ รอบ ๆ โรงเรียนแม่ค้าเริ่มร้องไห้
เพราะเด็กเก็บเงินหมดเลย อันนี้เป็ นมิติใหม่
เรื่องวิทยาศาสตร์มีน้ำ ายาบ้วนปาก คณิตศาสตร์
ยังมีเลย ก็คือการมีเงินออมจากการที่ไม่ซ้ ือขนม แต่มี
อีกโรงหนึ่ งเก่งมากเลย เค้าคำานวณจากนำ้ าตาลที่แม่
ครัวปรุงอาหาร แล้วเค้าเอามาหารเฉลี่ยว่าครูและ

~ 29 ~
นั กเรียนจะได้กินนำ้ าตาลสักเท่าไร อันนี้เป็ น
คณิตศาสตร์ นวัตกรรมอีกอันหนึ่ งซึ่งเราภูมิใจมาก ก็
คือขุมพลังในชุมชน เห็นไหมว่ามันไม่ได้เริ่มจากฟั น
แต่มันโยงหาเค้าได้ เพราะเราเชื่อว่าร่างกายไม่ได้มี
แต่ฟัน แต่ฟันเป็ นสิ่งสำาคัญ ถ้าร้องเพลงก็จะได้ว่า
“ฟั นเป็ นสิ่งสำาคัญ ที่เรานั น
้ ต้องรักษา” เพลงนี้ก็ได้มา
จากครู สิ่งเหล่านี้ที่เราเห็นขุมพลัง ทำาให้เราได้ทีม
สุขภาพเพิ่มขึ้น
ตอนนี้เรามีเจ้าหน้ าที่สาธารณสุขที่มาร่วมทำางาน
ทันตะให้เรา ตอนแรก อ.อรทัยคงจำาได้ พี่เค้าบ่นอยู่
คำาหนึ่ งว่า “ตายล่ะงานทันตะเอางานมาให้อีกแล้ว”
แต่ว่าเมื่อ อ.อรทัยไป ในจังหวัดเองเราแทบจะนำ้ าตา
ซึม เพราะว่าพี่เค้าบอกว่าเค้าดีใจมากที่ได้มาช่วยงาน
เราและดีใจมากที่เราไปช่วยงานเค้า มันเกิดมิติใหม่ใน
ทีมงานของเจ้าหน้ าที่สาธารณสุขเอง แล้วโรงเรียนเอง
สาธารณสุขเองก็มีความเข้าใจกันมากขึ้น จากแต่ก่อน
เวลาครูเห็นหน้ าเราจะคิดว่า “มาอีกแล้วยายคนนี้มาท
วงรายงานเรา” เสร็จแล้วอาจารย์อนามัยก็จะบอกว่า
“ไม่ต้องทำาหรอกเดี๋ยวจะส่งไปให้อีกทีหนึ่ ง” แต่เดี๋ยว
นี้เราไม่ได้เป็ นอย่างนี้แล้ว มิติใหม่เราเปลี่ยน “เมื่อไร
คุณหมอจะมาเอารายงานค่ะ เสร็จแล้วนะค่ะ” คือมัน
เป็ นมิติที่ดีข้ ึน มีการคิดร่วมกัน อบต. เองอย่างบาง
อำาเภอบอกเลยว่า โรงเรียนไหนที่ไม่มีนโยบายส่ง

~ 30 ~
เสริมเกี่ยวกับในเรื่องของกิจกรรม ลดบริโภค หวาน
มัน เค็มในปี นี้ เค้าจะไม่สนั บสนุนงบเกี่ยวกับในเรื่อง
ของการสนั บสนุนกิจกรรมการศึกษา คือเริ่มขยาย
แล้วก็นักเรียน คิดเองได้ วิเคราะห์เองได้ เค้าคิดเอง
ว่าเค้าเพิ่มโอกาสในการคิดวิเคราะห์ แต่ถามว่าเค้าไม่
กินเลยใช่ไหม ไม่ใช่ แต่เค้าเริ่มจะลดจำานวนของการ
กิน อันนี้เราสอบถามเด็ก ๆ มา และความสัมพันธ์
ของหน่ วยงานก็ดีข้ ึน เห็นเครือข่ายเพิ่มขึ้น
อันนี้ที่เราได้จากการถอดบทเรียนรู้ เศรษฐกิจ
ของชุมชนดีข้ ึน คือพอเราโรงเรียนเข้าไปหาสินทรัพย์
ในชุมชน เค้ารู้ว่าชุมชนเค้าเป็ นชุมชนที่ทำาขนม เค้าก็
เอาขนมในชุมชนกลับมาพัฒนาในโรงเรียน เค้าก็มาดู
ว่าทำาอย่างไรให้ขนมมันอ่อนหวานลง แล้วมีการใช้
ผลิตภัณฑ์ในชุมชน เสร็จแล้วก็คืนข้อมูลที่เค้าได้กลับ
ไปในชุมชน บางโรงตอนนี้เค้ารับผลิตเองให้กับหน่ วย
งานราชการ เป็ นการเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนอีกทาง
หนึ่ ง การทำาอะไรเราอาจจะต้องมองที่เค้าก็ได้ เราก็ได้
ก่อนจบก็อยากจะกล่าวอะไร อันนี้เป็ นของ อ.อุทย

วรรณมาเพรียว ๆ เลย อาจารย์เค้าบอกว่าให้
ริเริ่มจากรากหญ้า เร่งศึกษาจากชุมชน
เรียนร้่จากใจคน รับร้่คนคิดอะไร
รองรับความต้องการ ไม่หักหาญซึ่งนำ้ าใจ
ประชามิใช่ไพร่ ต้องก้าวไปค่่เคียงกัน

~ 31 ~
เริ่มจากที่เค้าร้่ ไม่ลบหล่่และเดียดฉันท์
ร่วมคิดจิตสร้างสรรค์ ร่วมผ่กพันสิ่งมัน
่ หมาย
เสริมสร้างจากข้างใน กำาลังใจไม่คลอนคลาย
ชีวีมีความหมาย เราลิขิตชะตาเรา
มาเถิดพี่น้องข้า ร่วมฟั นฝ่ าทัง้ หนักเบา
กำาลังเป็ นของเรา ยิ่งออกแรงยิ่งแข็งขัน
บทบาทของชาติใหม่ ราษฎร์-รัฐไทยไปด้วยกัน
เป้ าหมายที่ยึดมัน
่ พัฒนา “ประชาสังคม”

อ.ทรงวุฒ:ิ หากมีท่านผู้ใดสนใจสิ่งที่นำาเสนอเรื่องของ “สุนทรีย


ปรัศนี ”ให้ไปเปิ ด website ดูได้ ใน Google โดยพิมพ์
คำาว่า “อุทย
ั วรรณ กาญจนกามล” หรือ “สุนทรีย
ปรัศนี อุทัยวรรณ” จะมีบทความของอาจารย์เรื่อง
เหล่านี้อีกมากมายใน www.scribd.com 61 เรื่อง ทัง้
แบบ word และ Power Point ให้ไป download ได้ฟรี
สิ่งทีท
่ างผู้ปกครองเครือข่ายเด็กไทยฟั นดี ได้
เสนอครบ 1 ชม.พอดี ผมคิดว่าเป็ นภาพหนึ่ งที่เราจะ
ได้เห็นถึงเรื่องของการปรับเปลี่ยน วิธีคิดในการ
ทำางานเรื่องของการสร้างเสริมสุขภาพ คือ การทำางาน
ข้างล่างเห็นแล้วว่าจะพัฒนาสุขภาพชุมชนทำาอย่างไร
โดยอาศัยกระบวนการทำางานสุนทรียปรัศนี และใช้
สินทรัพย์ของชมชนเป็ นสำาคัญ

~ 32 ~
ส่วนหนั งสือที่อาจารย์เขียนชื่อ “การพัฒนา
ชุมชนโดยอาศัยสินทรัพย์ของชุมชนเป็ นฐานและ
สุนทรียปรัศนี ” ถ้าใครสนใจไปขอได้ที่สถาบันพระ
ปกเกล้า และเครื่องมือตรงนี้สามารถที่จะเรียนรู้เป็ น
เวทีได้ว่า คำาว่า สุนทรียปรัศนี เป็ นเครื่องมืออันหนึ่ งที่
สามารถทำาให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมอย่างแท้จริง และ
สามารถจะทำาให้ชุมชนเกิดเครือข่ายในชุมชน
แต่สิ่งหนึ่ งที่ อย่างที่เรียนจะตอบโจทย์ว่าเราจะพัฒนาเครือข่าย
ทันตบุคลกรอย่างไร ?นั น
้ ในอนาคตถ้าแพร่อยากจะทำาต่อ แพร่
จะต้องไปหาคู่หูใหม่ เช่นแพร่กับพะเยา ขยายเครือข่ายออกไป
และสิงห์บุรีก็ต้องขยายเครือข่ายออกไปในจังหวัดใกล้เคียงเพื่อ
ให้เกิดเครือข่ายทันตบุคลากรที่ ทำางานร่วมกับชุมชนเพื่อให้
ชุมชนเข้มแข็ง

~ 33 ~
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ ถอดบทเรียนและจัดการความรู้
“ลานถักทอฝั นร้อยหัวใจรวมกัน สู่ฝันสุขภาพชุมชน แพร่ – สิงห์บุร”ี
18 – 19 กันยายน 2550
สรุปประเด็นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แบ่งผู้เขูาร่วมประชุมเป็ น 4 กลุ่ม
1. กลุ่มนั กเรียน – กลุ่มนาจักรรักสุขภาพ
2. กลุ่มคร้แพร่ – สิงห์บุรี – กลุ่มพระลอตามไก่

~ 34 ~
3. กลุ่มคร้แพร่ – สิงห์บุรี – กลุ่มพลังรวมใจ
4. กล่มุ เจูาหนู าที่สาธารณสุขแพร่ – สิงห์บุรี – กลุ่มคนแพร่ใจสิงห์
ประเด็นคำาถามที่ 1 : ภายหลังทำางานมาแล้ว 4 เดือน มี
อะไรเปลี่ยนแปลงบ้าง?
กลุ่มนาจักรรักสุขภาพ กลุ่มพระลอตามไก่ กลุ่มพลังรวมใจ กลุ่มคนแพร่ใจ
สิงห์
1. สุขภาพ 1. ฉลาดรู้ ฉลาด 1. สุขภาพ 1) การทำางาน
- สุขภาพดี แข็งแรง เลือก ฉลาดกิน - นั กเรียนสุขภาพดี เป็ นทีม
2. พฤติกรรมการ - การระสาน
- ฟั นดี ฟั นแข็งแรง - นั กเรียนสุขภาพฟั นดี
กิน งานดีขึ้น
- ฟั นไม่ผุ ขึ้น
- นั กเรียนกิน - เกิดมุมมอง
- ฟั นสะอาดมากขึ้น - ฟั นผุลดลง
ขนมพื้นเมือง ในทาง
2. พฤติกรรม 2. ทัศนคติ
- นั กเรียนลดการ เดียวกัน
- ไม่กินขนมหวาน - หน้รัก ฟ.ฟั น
กินนำ ้ าโคูก - ทัศนคติและ
- ลดขนมหวาน - นั กเรียนลดการ - เด็กใส่ใจสุขภาพมาก
ความร่วม
กิน ขนมหวาน ขึ้น มือดีขึ้น
- พวกเราชอบออกกำาลัง
- นั กเรียนลดการ - รักฟั นมากขึน
้ - การสื่อสารดี
กาย
- นาจักรรักสุขภาพ กินขนมกรุบ - เอาใจใส่ตัวเองมากขึน
้ ขึ้น
กรอบ 3. พฤติกรรม 2) ชุมชนมีส่วน
- แปรงฟั นทุกวัน
3. การด้แลสุขภาพ - กินดี มีสุข ร่วม
3. สิ่งแวดลูอม ช่องปาก 3) พลังชุมชน
- ขนมอ่อนหวาน - ปรับตัวในการกิน
- เด็กแปรงฟั น - คร้ไทยทำาไดู
- อาหารดีมีประโยชน์ - เลี่ยงขนมหวานไดู
มากขึ้น - เด็กเราทำาไดู
- อาหารปลอดภัย - นั กเรียนแปรง - รูจ้ ักเลือกกินของมี
ฉลาดคิด คิด
ฟั นทุกวัน ประโยชน์ นอกกรอบ
- อาหารสะอาด
- แปรงฟั นถ้กวิธี - รูจ้ ักรักษาฟั น ความรู้มาก
- สุขาสะอาด
-ขยะนี้มรี างวัล ขึ้น
บรรยากาศน่ าใชู - ด้แลฟั นถ้กวิธี
4. ชุมชนมีส่วนร่วม
- วิทยากรชุมชน
ผลลัพธ์ท่ีออกมาแสดงให้เห็นถึงทัศนคติท่ีเปลี่ยนแปลงไป การมีภูมิคุ้มกันในตัว
เอง การทำากิจกรรมต่างๆ มุ่งสู่สุขภาพมากกว่าดูเฉพาะในช่องปาก

ประเด็นคำาถามที่ 2 ท่านมีวธ
ิ ีการอย่างไร ทำาอะไรไปแล้วบ้างที่
ก่อให้เกิดความสำาเร็จ ?
กลุ่มนาจักรรัก กลุ่มพระลอตาม กลุ่มพลังรวมใจ กลุ่มคนแพร่ใจ
~ 35 ~
สุขภาพ ไก่ สิงห์
1. กิจกรรมการ 1. พลังชุมชน 1. การสรูาง 1. ผสานภาคี
บริโภคอาหาร/ - ร่วมแรง กระแส เครือข่าย
ขนมที่เหมาะ ร่วมใจ - ชิงโชคถุงนม - หาแนวร่วมคิด
สม โรงเรียนกับ งาน
- หน้นูอยฟั น
- ขายขนมและ ชุมชน - สรูางความ
สวย
ผลไมูใน - ประสาน ตระหนั ก
- หูองเรียนฟั น
โรงเรียน สัมพันธ์ สวย - ทำาร่วมกัน
- การทำาอาหาร ชุมชน
- ละครหุ่น “มด - ใหูกำาลังใจ
กลางวัน - ภ้มิปัญญา
ขนมจีน ขนม นู อยหันหลอ” เสริมแรงใจ
ทูองถิ่น แรงกาย
สอดไสู ขนม - มดนู อยอ่อน
- จัดเวทีแลก - ศึกษาและปรับ
อ่อนหวาน วูน ุ หวาน
สายรูุง เปลี่ยนเรียนรู้ เปลี่ยน
- สิ่งประดิษฐ์จาก
ระหว่าง 2. ความรูใ้ น
- หลีกเลี่ยงการ ถุงนม
โรงเรียนและ ชุมชน
กินขนมกรุบ ชุมชน - Buddy พี่ช่วย
กรอบ - คูนหาขุมพลัง
- ปั ญญานำ าทาง นู อง
2. กิจกรรมการมี ชุมชน
ชีวิต - มหันตภัยรูาย
ส่วนร่วมดูาน ภ้มิปัญญา
อื่น - ผู้ปกครอง จากนำ ้ าอัดลม ทรัพยากร
(การเยี่ยม 2. การมีส่วนร่วม
- การพัฒนา - ดึงสิ่งดีๆ ใน
บูาน ผู้ - บันทึกการ
โรงเรียนและ ชุมชนมาใชู
ชุมชน ปกครองใส่ใจ ตรวจสุขภาพ เนู นความเป็ น
การบริโภค ร่างกายและ ไทย ยึดหลัก
- การทำางาน
อาหารกลาง สุขภาพฟั น เศรษฐกิจพอ
ตามสีตอนเชูา วัน ภาระ - ประกวดแข่งขัน เพียง
- การทำาความ สัญญาของผู้ “นิ ทานเล่ม - สรูางความ
สะอาดรอบๆ ปกครอง) เล็ก”
โรงเรียน 2. กินดีมีสุข สัมพันธ์กบ ั
- ประกวด ชุมชน
- การเพาะ - กินถ้กหลัก
คำาขวัญ - เชิญวิทยากร
ถัว่ งอก การ กับธง รณรงค์ทันต
ปล้กผักสวน โภชนาการ ชุมชนใหูความ
สุขภาพ รูใ้ นโรงเรียน
ครัว การถอน - การเลือก - ตู้แสดงความ 3. ความรูใ้ น
หญูาแปลง บริโภคอาหาร
เกษตร คิดเห็น โรงเรียน
- เลิกขายนำ ้ า (อาหาร, เครื่อง - ปรับเปลี่ยน
- การเลีย ้ งสัตว์
หวานใน ดื่ม ที่จำาหน่ าย พฤติกรรม
ในโรงเรียน โรงเรียน ในโรงเรียน ทัศนคติ คร้
- การทำานำ ้ ายา - ทำานำ ้ า - ชุมชน นั กเรียน ผู้
ลูางจาน นำ ้ ายา สมุนไพรพื้น ร่วมพัฒนา ปกครอง
ชีวภาพ บูานขายใน - การออมทรัพย์

~ 36 ~
โรงเรียน เพื่อลดขนม
กรุบกรอบ นำ ้ า
อัดลม

กลุ่มนาจักรรัก กลุ่มพระลอตาม กลุ่มพลังรวมใจ กลุ่มคนแพร่ใจ


สุขภาพ ไก่ สิงห์
3. กิจกรรมเสริม - สาธิตการทำา 3. การใหูความรู้ - ปรับปรุง
สรูางร่างกาย ขนมไทย - หมอฟั นตัว รสชาติขนม
ใหูสุขภาพดี นู อยคอยตรวจ คัดเลือก
- ทดสอบสาร
- การออกกำาลัง ฟั น ประเภทอาหาร
ปนเปื้ อนใน
กายเพื่อ อาหาร - ปล้กผักปลอด ประกวดเมน้
สุขภาพ 3. ภ้มิปัญญา สารพิษ ขนมอ่อน
- การตรวจ ไทย หวาน
- จัดนิ ทรรศการ
สุขภาพตอน - หนั งสือเล่ม
ใหูความรู้
เชูา เล็ก
- ทำานำ ้ าสมุนไพร
- การเล่นกีฬา - แจูงข่าวสาร ผู้
อ่อนหวาน
เพื่อสุขภาพ ปกครอง
- การกำาจัดเหา
- การแปรงฟั น
ดูวยสมุนไพร
ตามคุณภาพ พื้นบูาน
ฟั น
- บ้รณาการเขูา
4. สรูางกระแส
ใหูความรู้ กับ
8 กลุ่มสาระ
- โครงงานแสดง
- เสียงตามสาย
ละครห่น ุ เงา
- การเดิน
รณรงค์ใน
ชุมชน
- จัดปู ายนิ เทศ
- หน้นูอยฟั น
สวย

วิธีการทำางานที่เกิดขึ้น สามารถสรุปไดู 5 ดูาน คือ


1. Empowerment มีการเอื้ออำานวยเสริมพลังใหูชุมชน ไดูใชูศักยภาพของ
ตนเองอย่างเต็มที่
2. Public Participation มีการหนุนช่วยใหูชุมชนไดูรวมกลุ่มกันทำากิจกรรม
และเรียนรู้
3. Develop Personal Skills เสริมความรู้และทักษะชีวิตใหูเด็กนั กเรียน
4. Advocate มีการสรูางกระแสในโรงเรียน
5. Mediate มีการประสานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวขูองในการทำางานร่วมกัน

~ 37 ~
~ 38 ~
ประเด็นคำาถามที่ 3 ดำาเนิ นการภายใต้ทุนอะไร
บ้าง?
กลุ่มนาจักรรัก กลุ่มพระลอตาม กลุ่มพลังรวมใจ กลุ่มคนแพร่ใจ
สุขภาพ ไก่ สิงห์
เด็กนั กเรียนไม่ไดู 1. ทุนปั ญญา 1. ทุนทรัพย์ 1. พลังชุมชน
เขูาร่วมประชุมใน - ความตัง้ ใจ - รางวัลชิงโชค - ความรูใ้ น
วันที่ 2 ความม่งุ มัน
่ ถุงนม ชุมชน
- พลังใจ - ค่าตอบแทน - ชุมชนมีส่วน
สัมพันธภาพ วิทยากร ร่วม
- การเป็ นผู้ใหู - รางวัล - เด็กเราทำาไดู
และผู้รบ
ั หูองเรียนฟั น 2. การสรูาง
- พลังสมอง ข่าว สวย สัมพันธภาพ
ผญา - รางวัลหน้นูอย กับชุมชน
ภ้มิปัญญา ฟั นสวย 3. พลังพหุภาคีใน
2. พลังชุมชน 2. ทุนปั ญญา การทำางานร่วม
กัน
- ความรูใ้ น - แรงงาน
- บวรสุข
ชุมชน - กายใจ ปั ญญา
- ชุมชนร่วมใจ - กำาลังใจ
ชุมชนมีส่วน
- หยาดเหงื่อ
ร่วม
3. ขุมทรัพย์ชุมชน
- พหุภาคี
- ขุมพลังชุมชน
- บวรสุข
- แหล่งความรู้
3. ร้ปธรรม, วัตถุ
ในชุมชน
- ทุนทาง
- ภ้มิปัญญาชาว
คอมพิวเตอร์
บูาน
- ทุนทาง
4. ทุนนำ ้ าใจ
อุปกรณ์ วัสดุ
- ความศรัทธา
- รางวัลล่อใจ
- ความร่วมมือ
รางวัลความดี
ร่วมใจ

~ 39 ~
~ 40 ~
สะท้อนมุมมองการเรียนรู้:
ดร.บุญปั๋ น อาจารย์โรงเรียนบูานเหมืองค่า ไดูเป็ นตัวแทนของผู้เขูาร่วม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เล่าความรู้สึกที่เขูามาในวันนี้ว่า เวลาที่ใหูนูอยเกินไป
ใหูคิดแค่คนละ 1 อย่าง ทัง้ ๆ ที่โรงเรียนมีส่ิงที่อยากแลกเปลี่ยนอีกมากมาย
อย่างไรก็ตาม จะกลับไปทำากระบวนการเรียนรูน ้ ี้อีก ผู้จัดเองก็รู้สึกเช่นเดียวกัน
จึงคิดไวูว่า จะตูองมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูใ้ นภาพจังหวัดอีก 1 ครัง้
รศ.ดร.ทพ.ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์ หัวหนู าภาควิชาทันตกรรมชุมชน
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ไดูเขูาร่วมเวทีลานถักทอฝั น
ไดูสะทูอนภาพและแง่คิดที่น่าสนใจว่า สิ่งที่ไดูมาเห็นในวันนี้ เป็ นการทำางานส่ง
เสริมสุขภาพแบบองค์รวม โดยมีจุดเริ่มตูนการทำางานที่สุขภาพช่องปากก็จริง
แต่ก็สามารถขยายไปส่้สุขภาพดูานอื่นดูวย และไม่ทำาเฉพาะเด็ก แต่นำาผู้ปกครอง
ชุมชน เขูามาร่วมทำาดูวย โดยฝากแง่คิดว่า การมีส่วนร่วมที่เกิดขึ้น จะมีตัวชีว้ ัด
การมีส่วนร่วมอย่างไร จะพัฒนาต่ออย่างไร และใหูความสำาคัญกับการเสริมพลัง
อำานาจใหูเด็ก ชุมชน จะตูองเป็ นพลวัตรตลอดเวลา การมีโครงการทัง้ หมดที่นำา
มาแลกเปลี่ยนเป็ นวิธก ี ารกระตูุนเด็กใหูมีการทำาต่อเนื่ อง ส่วนเรื่องของความ
ยัง่ ยืนไม่ไดูวัดที่ความยัง่ ยืนของโครงการ แต่ตูองเป็ นวิธีคิดของคนที่จะก่อใหูเกิด
ความยัง่ ยืน
สิ่งที่จะทำาต่อไป
ทุกเครือข่ายโรงเรียนจะกลับไปทำาในพื้นที่ตนเองต่อ แต่เรื่องการเป็ น
ผู้นำาการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ขึ้นกับจังหวะและโอกาสที่จะมีมาในภายภาค
หนู า

~ 41 ~
~ 42 ~

You might also like