You are on page 1of 5

อนุญาตรานยาแผนปจจุบันเปดใหม มีเภสัชกรปฏิบัติการ ๓ ชั่วโมง

ถูกตองตามกฎหมายจริงหรือ?

ภก.ปรุฬห รุจนธํารงค
แผนงานคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ
คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สถานการณปจจุบัน
มีผูกลาวอางวา
“อยากเปดรานยา แตไมรูทําอยางไร บุคคลธรรมดา ก็เปดได...
๕. หาเภสัชกรที่จะมาเปนผูมีหนาที่ปฏิบัติการ ๓ ชั่วโมง อัตรา คาตอบแทนโดย
เฉลี่ยก็ ๓,๐๐๐ – ๑๐,๐๐๐ บาท แลวแตทําเล โดยเฉลี่ยก็ ๕,๐๐๐ บาท แตถา พรบ. ยาใหม
บังคับใชทานที่เปนบุคคลธรรมดา ตองหาเภสัชมาอยูตลอดเวลาเปดรานนะ ตอนนี้ยังไมบังคับ
ใชทานที่จะเปดรานยาก็รีบๆหนอยละกัน”๑ (ดูเอกสารแนบ)
คํ า กล า วอ า งนี้ แ ม เ ป น ข อ ความเล็ ก ๆ แต ก็ พ อจะสะท อ นให เ ห็ น ว า มี ค วามเข า ใจที่
คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับพระราชบัญญัติยาอยางไร

เนื้อหาตามพระราชบัญญัติยา
ผูขออนุญาตขายยาแผนปจจุบันตองมีผูที่จะปฏิบัติการประจําอยู ณ สถานที่ขายยาแผน
ปจจุบันตลอดเวลาที่เปดทําการ คือ เภสัชกร (มาตรา ๒๑)๒ ซึ่งขอกําหนดนี้ใชกับผูรับอนุญาต
ขายสงยาแผนปจจุบัน (มาตรา ๒๑ ทวิ) ผูรับอนุญาตขายยาแผนปจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่
ไมใชยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ (มาตรา ๒๒) ผูรับอนุญาตขายยาแผนปจจุบันเฉพาะยา
บรรจุเสร็จสําหรับสัตว (มาตรา ๒๓) ดวย๓
“เวลาที่เปดทําการ” แมวาพระราชบัญญัติยาจะไมไดนิยามคํานี้ไว แตเปนที่เขาใจของ
บุคคลทั่วไปวาคือเวลาที่สถานที่ขายยา (รานขายยา) ใหบริการแกประชาชน เมื่อใดก็ตามราน
ขายยาเปดขายยาใหแกประชาชนจะตองมีเภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการดวย
เดิมพระราชบัญญัติยา พ.ศ.๒๕๑๐ กําหนดไวเพียงวาใหมีผูมีหนาที่ปฏิบัติการแตไมได
กําหนดใหตองอยูตลอดเวลาเปดทําการ จนกระทั่งลวงเลยมาถึงป พ.ศ.๒๕๒๒ ซึ่งประกาศใช

http://www.oknation.net/blog/medmore/2009/08/01/entry-1

พระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐ และฉบับแกไขเพิ่มเติม มาตรา ๑๔(๙) ประกอบมาตรา ๒๑ กําหนดใหผูมี
หนาที่ปฏิบัติการเปนเภสัชกรชั้นหนึ่งหรือเภสัชกรชั้นสอง หากผูมีหนาที่ปฏิบัติการเปนเภสัชกรชั้นสองหาม
ปรุง ขายและสงมอบยาควบคุมพิเศษ แตในทางปฏิบัติมีเพียงเภสัชกรชั้นหนึ่งเทานั้น

หากเปนผูประกอบวิชาชีพอื่นเปนผูมีหนาที่ปฏิบัติการ ตามมาตรา ๒๒, ๒๓ สามารถขายไดแตยาแผน
ปจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไมใชยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ


พระราชบั ญ ญั ติ ย า (ฉบั บ ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ การแก ไ ขเพิ่ ม เติ ม มาตราที่ เ กี่ ย วข อ ง ๔ โดย
กําหนดใหมีเภสัชกรอยูตลอดเวลาเปดทําการ แตในมาตรา ๔๗ กําหนดวาในระหวางระยะเวลา
๕ ปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ (วันที่มีผลบังคับ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๒๒)๕ หากผูรับ
อนุญาตขายยาแผนปจจุบันหรือผูรับอนุญาตขายยาแผนปจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไมใชยา
อันตรายหรือยาควบคุมพิเศษซึ่งไดรับอนุญาตอยูแลวกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับรายใด
ยังไมสามารถหาเภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการ ณ สถานที่ขายยา (รานขายยา) อยูตลอดเวลาเปด
ทํา การได ใหผู รับ อนุ ญาตจัด ให มีเ ภสั ช กรประจํ า อยู ณ สถานที่ข ายยา ทั้ง รา นขายยาแผน
ปจจุบันและรานขายยาแผนปจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไมใชยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ
วันละไมนอยกวา ๓ ชั่วโมงติดตอกันในเวลาเปดทําการ (อยูตลอดเวลาที่เปดรานไมได อยาง
นอยก็ควรอยูปฏิบัติการ ๓ ชั่วโมงติดตอกัน) แตผูที่จะขอเปดรานยาใหมไมไดรับขอยกเวน
ต อ มาเมื่ อ ครบกํ า หนด ๕ ป มี ก ารประกาศใช พ ระราชบั ญ ญั ติ ย า (ฉบั บ ที่ ๔) พ.ศ.

๒๕๒๗ ซึ่งพระราชบัญญัติฉบับนี้ไดขยายระยะเวลาการใหมีเภสัชกรอยูปฏิบัติการอยางนอย ๓
ชั่วโมงติดตอกันเฉพาะรานขายยาแผนปจจุบันออกไปอีกจนถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๙
แตถาท องที่ใ ดที่มีส มควรมีเ ภสัช กรประจํา ตลอดเวลาเป ดทํา การ รัฐ มนตรีวา การกระทรวง
สาธารณสุขโดยคําแนะนําของคณะกรรมการยามีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนด
ทองที่นั้นเปนทองที่ที่ตองจัดใหมีเภสัชกรประจําอยูตลอดเวลาที่เปดทําการตามมาตรา ๒๑ ได
โดยใหมีผลใชบังคับในวันที่ระบุไวในประกาศดังกลาว แตจะใชบังคับกอนเกาสิบวันนับแตวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาไมได สวนรานขายยาแผนปจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไมใชยา
อั น ตรายหรื อ ยาควบคุ ม พิ เ ศษไม ไ ด ข ยายระยะเวลาให โดยให เ หตุ ผ ลในการประกาศใช
พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ
“โดยที่ระยะเวลาใชบังคับบทเฉพาะกาลตามมาตรา ๔๗ แหงพระราชบัญญัติยา (ฉบับที่
๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ ที่บัญญัติผอนผันใหผูรับอนุญาตขายยาแผนปจจุบันซึ่งไดรับอนุญาตอยูแลว
กอนวันที่พระราชบัญญัติย า (ฉบับ ที่ ๓)ฯ ใชบังคับ ที่ยังไมอาจจัดหาเภสัช กรเปนผูมีหนาที่
ปฏิบัติการประจําอยู ณ สถานที่ขายยา ตลอดเวลาที่เปดทําการไดตามที่กําหนดไวตามมาตรา
๒๑ แตตองจัดใหมีเภสัชกรประจําสถานที่ขายยาวันละไมนอยกวาสามชั่วโมงติดตอกันในเวลา
เปดทําการ นั้น จะสิ้นสุดลงในวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๒๗ แตสภาพการณในปจจุบัน จํานวน
เภสัชกรที่มีอยูยังไมเพียงพอ ทําใหผูรับอนุญาตขายยาแผนปจจุบัน ซึ่งไดรับอนุญาตอยูแลว
กอนวันที่พระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ ใชบังคับจํานวนมาก ไมอาจจัดหาเภสัช

พระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๘ แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐
มาตรา ๒๑, ๒๒, ๒๓

พระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๒ “พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป” (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๙๖ ตอนที่ ๗๙ ฉบับพิเศษ หนา
๒๙ วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๒๒)

ประกาศในราชกิ จ จานุเ บกษา เล ม ๑๐๑ ตอนที่ ๘๕ หนา ๔๒ วัน ที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๒๗ และ
พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๗ เปนตนไป (มาตรา ๒)


กรประจําอยูตลอดเวลาที่เปดทําการตามมาตรา ๒๑ แหงพระราชบัญญัติดังกลาวได สมควร
ขยายระยะเวลาการใชบังคับบทเฉพาะกาลในสวนที่เกี่ยวกับการใหผูรับอนุญาตขายยาแผน
ปจจุบันตองจัดใหมีเภสัชกรตามมาตรา ๒๑ ปฏิบัติการอยู ณ สถานที่ขายยาวันละไมนอยกวา
สามชั่ ว โมงติ ด ต อ กั น ในเวลาเป ด ทํ า การออกไปอี ก ระยะหนึ่ ง ถ า รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง
สาธารณสุขเห็นวาทองที่ใดมีเภสัชกรเพียงพอที่จะกําหนดใหผูรับอนุญาตขายยาแผนปจจุบัน
ตองจัดใหมีเภสัชกรประจําอยูตลอดเวลาที่เปดทําการตามมาตรา ๒๑ ได ก็ใหรัฐมนตรีฯ มี
อํานาจกําหนดทองที่นั้นโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาได จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัติ
นี้”
ต อ มาอี ก ๓ ป มี ก ารประกาศใช พ ระราชบั ญ ญั ติ ย า (ฉบั บ ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ ๗
พระราชบัญญัติฉบับนี้เพิ่มเติมเนื้อหาสวนผูรับอนุญาตขายสงยาแผนปจจุบันใหมีเภสัชกรประจํา
อยู ณ สถานที่ขายยาแผนปจจุบันตลอดเวลาที่เปดทําการ แตก็มิไดมีการขยายระยะเวลาใหมี
เภสัชกรปฏิบัติการอยู ณ สถานที่ขายยาวันละไมนอยกวาสามชั่วโมงติดตอกันในเวลาเปดทํา
การแตอยางใด
ปจจุบัน (พ.ศ.๒๕๕๒) จึงกลาวไดวารานขายยาแผนปจุบันจะตองมีเภสัชกรประจําราน
ตลอดเวลาเปดทําการ รวมถึง ผูที่จะขออนุญาตเปดรานยาจะตองหาเภสัชกรประจํารานใหได
ตลอดเวลาเปดทําการเชนเดียวกัน โดยไมมีขอยกเวนแตอยางใด หากไมมีเภสัชกรจะสามารถ
ขายไดเพียงยาสามัญประจําบานเทานั้น

ปญหาขอกฎหมาย
๑. ปจจุบันผูอนุญาตไดอนุญาตใหมีเภสัชกรปฏิบัติการประจํารานอยางนอย ๓ ชั่วโมง
ติดตอกันในเวลาเปดทําการจากชวงเวลาเปดทําการทั้งหมด มีขอเท็จจริงเพียงใด
๒. หากมีการอนุญาตในลักษณะตามขอ ๑. จริง ผูอนุญาตไดอาศัยอํานาจตามกฎหมาย
ในขอใดหรือมีวิธีการตีความกฎหมายอยางไร
๓. แมวาแบบคําขออนุญาตขายยาแผนปจจุบัน (แบบ ขย.๑) คํารับรองของผูมีหนาที่
ปฏิบัติการ (แบบ นย.๗) จะไมไดระบุวาตองมีเภสัชกรปฏิบัติการประจําอยางนอย ๓ ชั่วโมง
ติดตอกันในเวลาเปดทําการ แตผูอนุญาตไดตรวจสอบหรือไมวาแตละรานขายยาผูมีหนาที่
ปฏิบัติการครอบคลุมทุกชวงเวลาที่ขออนุญาตเปดทําการหรือไม และชวงเวลาปฏิบัติการของ
เภสัชกรสอดคลองกับกฎหมายแรงงานหรือไม
๔. การตรวจรานยาตองแบงออกเปน ๒ กรณี คือ
กรณี ที่ ๑ ร า นขายยาเป ด ทํ า การ แต บ างช ว งเวลาไม มี เ ภสั ช กรผู มี ห น า ที่
ปฏิบัติการ


ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๐๔ ตอนที่ ๒๗๘ ฉบับพิเศษ หนา ๑ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๓๐พระราชบัญญัตินี้
ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป (มาตรา ๒)


กรณี ที่ ๒ ร า นขายยาเป ด ทํ า การ ช ว งเวลาดั ง กล า วแจ ง ว า มี เ ภสั ช กรอยู
ปฏิบัติการ แตไมพบเภสัชกรในชวงเวลาที่แจงไว
การตรวจรานยา พบกรณีที่ ๒ จึงตองการทราบวาผูอนุญาตมีนโยบายจัดการกับราน
ขายยาแผนปจจุบันในกรณีที่ ๑ อยางไร
๕. ผูอนุญาตมีสถิติการขออนุญาตเปดทําการของรานยา และสถิติเภสัชกรผูมีหนาที่
ปฏิบัติการในรานยามากนอยเพียงใด

ขอเสนอ
ผูอนุญาตรานขายยาแผนปจจุบันตองกําหนดใหรานยาที่กําลังขออนุญาตมีเภสัชกร
ประจํารานใหครอบคลุมตลอดเวลาทําการ รวมทั้งกําหนดใหมีมาตรการกับรานยาที่อนุญาตไป
แลวโดยกําหนดระยะเวลาใหดําเนินการ จึงจะสอดคลองกับหลักการพระราชบัญญัติยา และ
สอดคลองกับหลักการคุมครองผูบริโภค เพื่อยกระดับมาตรฐานของวิชาชีพเภสัชกรรม

เอกสารอางอิง
๑. พระราชบัญญัติยา พ.ศ.๒๕๑๐ มาตรา ๑๔, ๒๑, ๒๒, ๒๓, ๒๔, ๓๙, ๔๐
๒. พระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๖, ๘, ๑๒, ๑๓, ๔๗
๓. พระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๒๗ มาตรา ๓
๔. พระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๗, ๑๑

หมายเหตุ
เปนความเห็นของผูเขียน ไมใชของแผนงานคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ
คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


เอกสารแนบ

You might also like