You are on page 1of 3

รายงานพิเศษ

ปรุฬห์ รุจนธำรงค์

“กองทุน” ที่ผู้เสียหาย
จากบริการสาธารณสุขเฝ้ารอ

เครือข่ายภาคประชาชนพยายามผลักดันร่างพระราชบัญญัติ แต่ ต่ อ มา ร่ า งกฎหมายฉบั บ นี้ ไ ด้ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นตั ด ทอน

ฉบับหนึ่งมาได้ระยะหนึ่งแล้ว คาดหวังว่ากฎหมายฉบับนี้จะ หลายครั้ง จนส่งผลต่อเนื้อหาสาระไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์
ช่วยคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขให้ได้รับ แรกเริ่ม
การชดเชยความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ จากการรับบริการสาธารณสุข
โดยไม่ต้องพิสูจน์ถูกผิด และมีการชดเชยในระยะเวลารวดเร็ว ด้ ว ยเหตุ นี้ เครื อ ข่ า ยภาคประชาชนจึ ง ได้ มี ก ารรวมตั ว กั น

ซึ่งอาจจะช่วยลดคดีความในการฟ้องร้องและความขัดแย้ง เรียกร้องให้คงประเด็นสำคัญของร่างกฎหมายและต้องแก้ไข
ระหว่างผู้ให้บริการสาธารณสุขและผู้ป่วยที่รับบริการ โดย กลับให้คืนดังเดิม ในประเด็นสำคัญต่อไปนี้ คือ
สนั บ สนุ น การตั้ ง กองทุนคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับ
บริการสาธารณสุข ซึ่งไม่เพียงแต่เป็นการเยียวยาผู้เสียหาย
หนึ่ง ชื่อของกฎหมาย จากเดิมซึ่งมีชื่อว่า “(ร่าง) พระราช-
ยังเป็นกองทุนสนับสนุนการพัฒนาระบบความปลอดภัยและ บั ญ ญั ติ คุ้ ม ครองผู้ เ สี ย หายจากการรั บ บริ ก ารสาธารณสุ ข
การป้องกันความเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขอีกด้วย พ.ศ....” ถูกแปลงเป็น “(ร่าง) พระราชบัญญัติสร้างเสริมความ
สัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข พ.ศ. ...” ซึ่งเครือข่าย
ภาคประชาชนเห็นว่าชื่อของกฎหมายที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้
หลักการของกฎหมายเปลี่ยนไปด้วย การเน้นเรื่องการสร้างเสริม
ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารและผู้ รั บ บริ ก าร ส่ ง ผลให้

ลดทอนความสำคัญของการชดเชยความเสียหาย อีกทั้งชื่อใหม่
นั้นอาจทำให้ถูกมองว่าระบบบริการสาธารณสุขมีความย่ำแย่
จนถึงขั้นต้องมีกฎหมายออกมาเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
ทั้งที่ความเป็นจริงไม่ได้มีปัญหาร้ายแรงเช่นนั้น แต่มีการแย้งว่า
ชื่อใหม่นี้น่าจะมีความเป็นกลางมากกว่า

สอง สำนักงานกองทุน เดิ ม คณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ เ มื่ อ วั น ที่ 25
กันยายน 2550 ไม่ให้มกี ารจัดตัง้ สำนักงานใหม่ แต่ให้หน่วยงาน
ของกระทรวงสาธารณสุขทีม่ อี ยูแ่ ล้วดำเนินงานไปก่อน เครือข่าย-
ภาคประชาชนเห็นว่าสำนักงานควรมีความเป็นอิสระ มิฉะนั้นจะ
ส่งผลต่อความเป็นธรรมในการเยียวยาผู้เสียหาย หากยึดตาม
มติคณะรัฐมนตรีควรให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

สานพลัง 10

artwork13.indd 10 11/20/09 10:28:37 AM


เป็นสำนักงานเลขานุการไปก่อน เพราะมีประสบการณ์การเยียวยา กรรมการต้องได้รับการยอมรับจากสังคม และเป็นผู้มีผลงาน
ผูไ้ ด้รบั ความเสียหายจากการให้บริการในระบบหลักประกันสุขภาพ ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในสัดส่วนที่เหมาะสม
แห่งชาติ อีกทั้งมีฐานะเป็นผู้ซื้อบริการมิใช่ผู้ให้บริการ สามารถ
ดำเนิ น การได้ โ ดยไม่ ต้ อ งแก้ ไ ขปรั บ ปรุ ง กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
นอกจากนี้ ยังมีประเด็นอื่น เช่น การเพิ่มขั้นตอนการไกล่เกลี่ย
ดังเช่นกรณีกำหนดให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพเป็นสำนักงาน อาจส่งผลให้เกิดความล่าช้าในการชดเชยความเสียหาย และ
เลขานุการตามร่างกฎหมายที่ปรับแก้ใหม่ ต้องมีการพิสูจน์ความรับผิด และกรณีสิทธิผู้เสียหายฟ้องคดี
ต่อศาล ซึง่ ไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์เดิม ด้วยเหตุนเี้ ครือข่าย
สาม โครงสร้างคณะกรรมการ เครือข่ายภาคประชาชนต้องการ ภาคประชาชนจึงร่วมกันผลักดันปรับปรุงร่างกฎหมายต่อไป
ให้มีสัดส่วนคณะกรรมการจากภาครัฐและผู้เสียหายมีจำนวน
ใกล้เคียงกัน และมีข้อสังเกตเพิ่มเติมว่าโครงสร้างคณะกรรมการ เพื่อให้กองทุนที่จะเกิดขึ้นนี้ เป็นกองทุนที่ผู้เสียหายจาก
ที่ ม ากเกิ น ไปอาจทำให้ ก ารอนุ มั ติ ก ารชดเชยทำได้ ล่ า ช้ า บริการสาธารณสุขเฝ้ารอ

เครือข่ายเคลื่อนไหว
กองบรรณาธิการ
ซึ่ง นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย รัฐมนตรีประจำสำนักนายก-

“พ.ร.บ.องค์การอิสระ รัฐมนตรีในฐานะประธานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคได้
เสนอให้ผู้เกี่ยวข้องได้มีการพิจารณาร่วมกัน แต่จะนำเสนอร่าง

เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค” พระราชบั ญ ญั ติ นี้ ผ่ า นช่ อ งทางของสมาชิ ก สภาผู้ แ ทนราษฎร


ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา 142(2) โดยคาดว่าจะสามารถนำเสนอ
ถึงวันใกล้คลอด? ร่างกฎหมายทั้ง 3 ฉบับนี้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาสมัย
ประชุมสภานิติบัญญัตินี้ได้ ซึ่งถ้าเป็นเช่นนั้นจริงๆ ก็จะสามารถ
ประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมายในปี 2553 ได้แน่นอน
จากที่กึ่งรอกึ่งลุ้นกันมานาน ว่าเมื่อไร องค์การอิสระเพื่อการ
คุ้มครองผู้บริโภค ที่ “ตั้งท้อง” มานานกว่า 10 ปี จะคลอด อย่างไรก็ตาม ในการประชุมครั้งนี้ยังได้ฝากประเด็นคำถามและ
เสียที ตอนนี้เริ่มเห็นเค้าบ้างแล้ว ข้อเสนอแนะไว้ด้วยว่า
• กฎหมายต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อผู้บริโภค แต่ไม่มีองค์การ
หลังจากที่ คคส. ได้ร่วมกับ คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน อิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคให้ความเห็นจะชอบตาม
สิทธิเสรีภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา และ มูลนิธิ รัฐธรรมนูญหรือไม่
เพื่อผู้บริโภค จัดการเสวนาทางวิชาการ เรื่อง “ร่างพระราช • องค์การอิสระทีจ่ ะเกิดขึน้ ต้องมีการบริหารจัดการงบประมาณ
บัญญัติองค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค: การสานต่อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด โปร่ ง ใส มี ก ารตรวจสอบ และ
เพื่ อ ความสำเร็ จ ” เมื่ อ วั น ที่ 18 กั น ยายนที่ ผ่ า นมา ทำให้
ประเมินผลได้
ทราบว่ากระบวนการนำเสนอร่างพระราชบัญญัติองค์การอิสระ
เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคเริ่มขยับเข้าใกล้ความจริงขึ้นไปทุกที และเห็นชอบกับโครงการองค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค
(จำลอง) เพื่อเตรียมความพร้อมของผู้บริโภค ก่อนมีองค์การ
หลังจากที่ถกแถลงกันในประเด็นความต่างระหว่างร่างพระราช อิ ส ระเพื่ อ การคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภคตามรั ฐ ธรรมนู ญ ฯ พ.ศ.2550
บัญญัติฉบับรัฐบาลกับฉบับภาคประชาชนกันมา ทั้งปัญหาและ มาตรา 61
อุปสรรคที่พบ ตลอดจนแนวทางการหาทางออกร่วมกันระหว่าง
พระราชบัญญัต 2 ิ ฉบับ และได้ขอ้ สรุปออกมาเป็นร่างฉบับทีส่ าม หวั ง เหลื อ เกิ น ว่ า คำรบนี้ ผู้ บ ริ โ ภคและคนทำงานคุ้ ม ครอง

ซึ่งเป็นฉบับความเห็นร่วมกันระหว่างฉบับแรกและฉบับที่สอง
ผู้บริโภคคงได้ “มีเฮ” กันเสียที

ตุลาคม - ธันวาคม 2552 11

artwork13.indd 11 11/20/09 10:28:37 AM


artwork13.indd 1 11/20/09 10:28:16 AM

You might also like