You are on page 1of 10

ทฤษฎีบุคลิกภาพ

ทฤษฎีสนามของเลวิน (Lewin’s Field Theory)


ชีวประวัติของ Kurt Lewin
• เกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ.1890 ที่ ปรัสเซีย ประเทศโปแลนด์
• เข้ าเรียนทีม่ หาวิทยาลัยเมืองมิวนิคและเบอร์ ลนิ ประเทศเยอรมันจนได้ รับ
ปริญญาเอก
• ทางานอยู่ในกองทัพเยอรมัน 4 ปี
• ย้ ายมาสอนหนังสื อทีม่ หาวิทยาลัยเบอร์ ลนิ และทาหน้ าทีผ่ ู้ช่วยในสถาบันจิตวิทยา
• ระยะทีฮ่ ิตเลอร์ เรืองอานาจเขาได้ รับเชิญไปสอนทีม่ หาวิทยาลัยแสตนฟอรด์
• ย้ ายครอบครัวมาอยู่ประเทศสหรัฐอเมริกาจนตลอดชีวติ
• เสี ยชีวติ เมือ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1947
• ในระยะสงครามโลกครั้งที่ 1 เลวินได้ ร่วมงานกับกลุ่มเกสตอลท์ คือ Wertheirmer
และ Kohler เขาจึงได้ รับความคิดในเรื่องทฤษฎีสนาม (field theory)
แนวคิดทีส่ าคัญของเลวิน
• ทฤษฏีสนามของเลวิน มีหลักคล้ายๆกับจิตวิทยาเกสตอลท์ ในแง่ที่เขาได้
เน้นการรับรู ้ แบบแผน หรื อปรากฏการณ์ หรื อสถานการณ์ต่างๆ ของสิ่ ง
เร้า และปฏิกิริยาโต้ตอบ
• ทฤษฏีของเลวินก็แตกต่างจากจิตวิทยาเกสตอลท์ในแง่ที่ทฤษฏีของเลวิน
ได้เน้นเรื่ องเกี่ยวกับการจูงใจ
อวกาศแห่ งชีวติ (Life Space)
• เขาถือว่า แต่ละบุคคลนั้นก็ต่างดารงอยูใ่ นสนามอวกาศแห่งชีวิตซึ่งเป็ น
โลกที่แต่ละบุคคลสร้างขึ้นมาเป็ นโลกทางความคิดหรื อโลกทางจิตที่มี
ความสัมพันธ์กนั กับโลกที่บุคคลอาศัยอยู่
• ประกอบด้วยส่ วนสาคัญ 2 ส่ วน คือ
ตัวบุคคลผูน้ ้ นั (Person = P)
สิ่ งแวดล้อมทางจิต (Psychological environment)
อวกาศแห่ งชีวติ (Life Space)
• สิ่ งแวดล้อมทางจิตหรือโลกของจิต หมายถึง สิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ
และสิ่ งแวดล้อมทางสั งคมทีบ่ ุคคลมีปฏิกริ ิยาทางด้ านความรู้สึก หรือ
ความคิดโต้ ตอบ อาจเป็ นสิ่ งมีชีวติ หรือไม่ มีกไ็ ด้ จะอยู่ทนี่ ี่หรือไม่ อยู่กไ็ ด้
• สิ่ งแวดล้อมที่เราไม่ มีปฏิกริ ิยาต่ อหรือนึกถึง เราเรียกว่ าไม่ ใช่ สิ่งแวดล้อม
ทางจิต

ภาพประกอบ: อวกาศแห่ งชีวติ ของบุคคล


อวกาศแห่ งชีวติ (Life Space)
• พฤติกรรมของบุคคลทุกพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ จะเป็ นผลเนื่องมาจากตัว
บุคคลและสภาพสิ่ งแวดล้อมทางานประสานสั มพันธ์ กนั และกัน ดัง
สมการ B = F (P, E)
ในทีน่ ี้
B หมายถึง พฤติกรรมทีป่ รากฏออกมาให้ เห็นอย่ างเด่ นชัด
F หมายถึง หน้ าทีข่ องส่ วนประกอบแต่ ละอัน
P หมายถึง บุคคลตามสภาพความเป็ นจริงทีก่ าลังเป็ นอยู่ในปัจจุบัน
เป็ นสภาพบุคคลทีม่ ีการแสดงออกตามสภาพทางจิตใจ
E หมายถึง สิ่ งแวดล้อมต่ างๆในขณะนั้น
เส้ นแทนขนาดและทิศทางของแรง
• การใช้ ส่วนของเส้ นตรงแทนขนาด และหัวลูกศรแทนทิศทางของแรงที่
จะผลักดันให้ เกิดพฤติกรรมต่ างๆ แรงหรือพลังต่ างๆ เหล่านีอ้ าจเกิดขึน้
จากภายใน (เช่ น แรงจูงใจ) หรืออาจเกิดจากภายนอกของบุคคล
• ทิศทางของแรงเป็ นไปได้ ท้งั ทางบวกและทางลบ
• พฤติกรรมของมนุษย์ เป็ นผลโดยตรงของทิศทางของแรงทีม่ ีอยู่ใน
อวกาศแห่ งชีวติ
• อดีตและอนาคตมีส่วนสั มพันธ์ กนั กับปัจจุบัน แต่ พลังในปัจจุบันนั้นทา
ให้ เกิดความแตกต่ างหรือเกิดความเปลีย่ นแปลง
เส้ นแทนขนาดและทิศทางของแรง

☞จากรูปภาพ หัวลูกศรจะแสดงทิศทางของแรง ความยาวของเส้ นจะแทน


ขนาดของ แรง (เส้ นยาวแสดงว่ าแรงมาก เส้ นสั้ นแสดงว่ าแรงน้ อย) ในรูป
ขวามือนั้น ถ้ าหากขนาดของแรงเท่ ากัน ก็จะทาให้ เกิดความขัดแย้ งหรือ
ความกา้ กึง่ (Conflict) ซึ่งจะมีผลไม่ ให้ มพี ฤติกรรมออกมา
ระดับของความทะเยอทะยาน (Level of Aspiration)

• หมายถึง การกระทาทีค่ าดหวังว่ าจะช่ วยให้ บุคคลเกิดความรู้สึกใน


ความสาเร็จในสิ่ งทีเ่ ขาได้ บรรลุถึงเป้าหมายตามทีต่ ้ องการ
• ผลทีเ่ กิดจากการปฏิบตั ิจริงๆ (Actural performance) และความ
ทะเยอทะยานทีบ่ ุคคลมีอยู่อาจขัดแย้งกันขึน้ อันเป็ นสาเหตุหนึ่งทาให้
เกิดความตึงเครียด (Tension) ขึน้ ในตัวบุคคลได้
การทดลองเกีย่ วกับระดับความทะเยอทะยานของบุคคล
ผลจากการทดลองพบว่ า
• ความสาเร็จทีบ่ ุคคลได้ รับต่ อเนื่องกันจากการทางานจะช่ วยกระตุ้นให้ บุคคล
นั้นไปสู่ เป้ าหมายทีเ่ ป็ นจริง
• บุคคลต้ องพบกับความล้มเหลวบ่ อยๆจากการทางานอาจทาให้ บุคคลแสดง
ปฏิกริ ิยาตอบสนองออกมาในรู ปทีแ่ ตกต่ างกัน 3 ประเภท คือ
ประเภทที่ 1 บุคคลทีม่ คี วามทะเยอทะยานตา่ เมื่อประสบความล้มเหลว
บ่ อยๆก็จะไม่ รู้สึกผิดหวังอะไรมากนัก
ประเภทที่ 2 บุคคลทีม่ คี วามทะเยอทะยานสู ง และต้ องประสบความ
ล้ มเหลวบ่ อยๆเข้ า อาจกลับทาให้ เกิดมีความมานะพยายามผลักดันตัวเองให้
ทางานมากขึน้
ประเภทที่ 3 บุคคลทีม่ คี วามทะเยอทะยานตา่ หรือมีความทะเยอทะยาน
สู งก็ตามเมื่อต้ องประสบความล้ มเหลวบ่ อยๆก็อาจเลิกกิจการนั้น หรือผละหนี
ออกจากสถานการณ์ ทตี่ ้ องเผชิญได้

You might also like