You are on page 1of 8

1

พื้นที่ผิวและปริมาตร

วัตถุประสงค
1. นักเรียนสามารถคํานวณหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตได
2. นักเรียนสามารถบอกสวนประกอบของรูปทรงเรขาคณิตชนิดตาง ๆ ได
3. นักเรียนสามารถคํานวณหาปริมาตรของทรงเรขาคณิตได
4. นักเรียนสามารถคํานวณหาพื้นที่ผิวของทรงเรขาคณิตได
ความพรอม
นักเรียนจะเรียนรูเรื่องพื้นที่ผิว ปริมาตร พืน้ ที่ผิวโคง ควรมีความรู ความเขาใจพืน้ ฐานตอไปนี้
1. การหาพื้นที่ คิดเพียง 2 มิติ มีหนวยการวัดเปนตารางหนวย
2. การหาปริมาตร คิด 3 มิติ มีหนวยการวัดเปนลูกบาศกหนวย
3. สมบัติ เกี่ยวกับมุม ดาน และเสนทแยงมุม ของรูปสี่เหลี่ยมและรูปสามเหลี่ยม
4. สูตรการหาพืน้ ที่รูปเหลี่ยมตาง ๆ
4.1 สามเหลี่ยมใด ๆ = 12 × ฐาน × สูง
= s(s − a )(s − b )( s − c) เมื่อ a,b,c เปนความยาวของดานทั้งสาม
และ S = a + b2 + c
4.2 สามเหลี่ยมมุมฉาก = 1
2
× ผลคูณของดานประกอบมุมฉาก
4.3 สามเหลี่ยมดานเทา = 4
3
× (ดาน)2
2
4.4 สามเหลี่ยมฐานโคง = D
360
× πr (เมื่อ D คือมุมยอด)
4.5 สี่เหลี่ยมจัตุรัส = (ดาน) 2 หรือ (เสนทแยงมุม) 2
4.6 สี่เหลี่ยมผืนผา = กวาง × ยาว 2
4.7 สี่เหลี่ยมดานขนาน = ฐาน × สูง
4.8 สี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน = 12 × ผลคูณของเสนทแยงมุม หรือ ฐาน × สูง
4.9 สี่เหลี่ยมคางหมู = 1
2
× สูง × ผลบวกดานคูขนาน หรือ
4.10 สี่เหลี่ยมดานไมเทา = 1
2
× เสนทแยงมุม × ผลบวกของเสนกิ่ง
4.11 สี่เหลี่ยมรูปวาว = 1
2
× ผลคูณของเสนทแยงมุม
4.12 เสนรอบวงของวงกลม = 2 πr หรือ πD (เมื่อ D คือเสนผานศูนยกลาง)
4.13 พื้นที่วงกลม = πr 2
4.14 พื้นที่ผิวทรงกลม = 4 πr 2
4.15 พื้นที่ผิวกรวยกลม = πrl (l = สูงเอียง)
C:\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตร\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้ว\กลุมที่ 2 พื้นที่ผิว\กรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
2

4.16 ปริมาตรของทรงกลม = 4 3
3
πr

4.17 ปริมาตรทรง … มุมฉาก = พื้นที่ฐาน × สูง หรือ กวาง × ยาว × สูง


4.18 ปริมาตรทรงกระบอก = พื้นที่ฐาน × สูงตรง
4.19 พื้นที่ผิวขางทรงกระบอก = 2 πrh หรือ เสนรอบวงที่ฐาน × สูง
4.20 ปริมาตรของพีระมิด = 13 × พื้นที่ฐาน × สูงตรง
4.21 ปริมาตรของกรวยกลม = 1
3
× พื้นที่ฐาน × สูง

5. ความรูเกี่ยวกับทฤษฎีทั่ว ๆ ไป ∆
5.1 การเทากันทุกประการของ
1.1 ด.ด.ด.
1.2 ด.ม.ด.
1.3 ด.ฉ.ด.
1.4 ม.ด.ม.

5.2 ทฤษฎีปทาโกรัส
a และ b เปนดานประกอบมุมฉาก และ c เปนดานตรงขามมุมฉาก จะได c2 = a2 + b2

5.3 การเทากันของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม
ทฤษฎีบท : สามเหลี่ยมสองรูปถามีฐานยาวเทากันหรือยูบนฐานเดียวกันและมีสว นสูง
เทากัน สามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะมีพื้นที่เทากัน
A

B C
D

จากรูป
พื้นที่รูป ∆ ABD เทากับ
พื้นที่รูป ∆ADC

C:\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตร\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้ว\กลุมที่ 2 พื้นที่ผิว\กรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47


3

ปริซึม (Prism) คือทรงสามมิติที่มีหนาตัดหัวทายเปนรูปเหลี่ยมตาง ๆ เหมือนกันทั้งหัวและทาย


โดยมีพื้นทีเ่ ทากัน รูปแบบเดียวกันและขนานกัน ดานขางของปริซึมขนานกันและเปนความยาวของปริซึม
โดยพื้นทีด่ านขางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทุกรูป
ปริซึมมีหลายลักษณะขึ้นอยูก ับหนาตัดของรูปนั้น ๆ เชน หนาตัดเปนรูปสามเหลี่ยม เรียกปริซึม
สามเหลี่ยม หนาตัดเปนรูปหาเหลี่ยม เรียกปริซึมหาเหลีย่ ม เปนตน

ปริซึมทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ปริซึมหนาตัดสามเหลี่ยม ปริซึมหนาตัดหาเหลี่ยม

พื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึม = พื้นที่ผิวขาง + พื้นที่หนาตัดหัวทาย


พื้นที่ผิวขางของปริซึม = ความยาวเสนรอบฐาน × ความสูง
ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน × สูง

พีระมิด (Pyramid) คือทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปเหลีย่ มใด ๆ มียอดแหลมซึ่งไมอยูบ นระนาบ


เดียวกับฐาน และหนาทุกหนาเปนรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดรวมกันทีย่ อดแหลมนัน้
นิยมเรียกชื่อของพีระมิดตามลักษณะของฐาน เชน พีระมิดฐานสามเหลี่ยม พีระมิดฐาน
สี่เหลี่ยมผืนผา พีระมิดฐานหกเหลี่ยมดานเทา เปนตน

ยอด ยอด
สัน สัน
สัน
สวนสูง
สูงเอียง
สัน
สวนสูง สัน
สัน ฐาน
ฐาน พีระมิดฐานรูปสามเหลี่ยม พีระมิดฐานรูปหกเหลี่ยม

C:\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตร\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้ว\กลุมที่ 2 พื้นที่ผิว\กรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47


4

พีระมิดแบงออกเปน 2 ลักษณะคือ พีระมิดตรงและพีระมิดเอียง


พีระมิดตรง หมายถึงพีระมิดที่มีฐานเปนรูปเหลี่ยมดานเทามุมเทา มีสันยาวเทากันทุกเสน
จะมีสูงเอียงทุกเสนยาวเทากัน และสวนสูงตั้งฉากกับฐานที่จุดซึ่งอยูห า งจากจุดยอดมุมของรูปเหลี่ยม
ที่เปนฐานเปนระยะเทากันมีหนาทุกหนาเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจัว่ สวนกรณีที่สนั ทุกสันยาวไมเทากัน
สูงเอียงทุกเสนยาวไมเทากัน เรียกวา พีระมิดเอียง
ยอด
ยอด
สัน
สัน
สวนสูง
หนา หนา
สูงเอียง สวนสูง
ฐาน สูงเอียง
ฐาน
พีระมิดตรง พีระมิดเอียง

พื้นที่ผิวของพีระมิด (Surface area of pyramid)


พื้นที่ของหนาทุกหนาของพีระมิดรวมกันเรียกวา พื้นที่ผวิ ขางของพีระมิด และพืน้ ทีผ่ ิวขาง
ของพีระมิดรวมกับพื้นที่ฐานของพีระมิดเรียกวา พื้นที่ผิวของพีระมิด

สูตรการหาพืน้ ที่ผิวของพีระมิด
พื้นที่ผิวขาง 1 ดาน = 1
2
× ฐาน × สูงเอียง
พื้นที่ผิวทั้งหมด = พื้นที่ฐาน + พืน้ ที่ผวิ ขางทุกดาน

ในกรณีที่เปนพีระมิดตรงและมีฐานเปนรูปเหลี่ยมดานเทาทุกเทา

พื้นที่ผิวขางทุกดาน = 1
2
× ความยาวเสนรอบฐาน × สูงเอียง

ปริมาตรของพีระมิด = 1
3
× พื้นที่ฐาน × สูง

C:\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตร\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้ว\กลุมที่ 2 พื้นที่ผิว\กรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47


5

ทรงกระบอก
ทรงกระบอก (Cylinder) คือ ทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปวงกลมที่เทากันทุกประการ และอยูใน
ระนาบที่ขนานกัน เมื่อตัดทรงสามมิตินี้ดวยระนาบทีข่ นานกับฐานแลว จะไดรอยตัดเปนวงกลมที่เทากัน
ทุกประการกับฐานเสมอ

หนาตัดหรือฐาน
แกน
สวนสูง
หนาตัดหรือฐาน
รัศมี

พื้นที่ผิวของทรงกระบอก (Surface area of cylinder)


พื้นที่ผิวของทรงกระบอก ประกอบดวยพืน้ ที่ผิวขางของทรงกระบอก และพื้นทีฐ่ านทั้งสองของ
ทรงกระบอก
พื้นที่ฐาน πr 2 2 πr 2

h h
คลี่ออก พื้นที่ผิวขาง

พื้นที่ฐาน πr 2

พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก + พื้นที่ฐานของทรงกระบอก


ถาทรงกระบอกมีสวนสูงยาว h หนวย
ฐานมีรัศมียาว r หนวย จะได
พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก = 2πrh
พื้นที่ฐานทั้งสองของทรงกระบอก = 2 πr 2

ดังนั้น พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = 2πrh + 2πr 2 ตารางหนวย


หรือ = 2πr (h + r ) ตารางหนวย

r แทนรัศมีของฐานของทรงกระบอก
h แทนความสูงของทรงกระบอก

C:\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตร\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้ว\กลุมที่ 2 พื้นที่ผิว\กรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47


6

ปริมาตรทรงกระบอก
ปริมาตรทรงกระบอก = พื้นที่ฐาน × สูง
ปริมาตรทรงกระบอก = πr 2 h

กรวย (Cone)
กรวย (Cone) คือทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไมอยูบนระนาบเดียวกับฐาน
และเสนที่ตอระหวางจุดยอดและจุดใด ๆ บนขอบของฐานเปนสวนของเสนตรงที่ยาวเทากัน เรียก สูงเอียง
และกรวยที่มสี ูงเอียงยาวเทากันเรียกวา กรวยตรง

ยอด
สูงเอียง
สวนสูง
แกน
ฐาน
รัศมี
กรวยตรง กรวยเอียง

พื้นที่ผิวของกรวย (Surface area of cone)


พื้นที่ผิวของกรวย เปนพื้นทีข่ องรูปสามเหลี่ยมฐานโคง ประกอบดวยพื้นที่ผิวขางกับพื้นที่ฐาน
ของกรวย
พื้นที่ผิวของกรวย = พื้นที่ผิวขางของกรวย + พืน้ ที่ฐานของกรวย
ถากรวยมีสวนสูงเอียง l หนวย และรัศมีที่ฐานของกรวยยาว r หนวย
จะได พื้นที่ผิวขางของกรวย = πrl ตารางหนวย
พื้นที่ฐานของกรวย = πr 2 ตารางหนวย

ดังนั้น พื้นที่ผิวของกรวย = πrl + πr 2 ตารางหนวย


เมื่อ r แทนรัศมีของฐานกรวย และ l แทนความสูงเอียงของกรวย

C:\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตร\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้ว\กลุมที่ 2 พื้นที่ผิว\กรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47


7

ปริมาตรของกรวย (Volume of cone)


ปริมาตรของกรวย = 13 ของปริมาตรของทรงกระบอกซึ่งมีพื้นที่ฐานและความสูงเทากับกรวย

ปริมาตรของกรวย = 1 2
3
πr h ลูกบาศกหนวย
เมื่อ r แทนรัศมีของฐานกรวย และ h แทนความสูงของกรวย

ทรงกลม (Sphere)
ทรงกลม (Sphere) คือทรงสามมิติที่มีผิวเรียบโคงและจุดทุกจุดบนผิวโคงอยูหางจากจุดคงที่จุดหนึง่
เปนระยะเทากัน จุดคงที่นนั้ เรียกวา จุดศูนยกลางของทรงกลม และระยะที่เทากันนั้นเรียกวา รัศมีของทรงกลม

วงกลมใหญ
ผิวโคงเรียบ
เสนผานศูนยกลางวงกลมใหญ

จุดศูนยกลาง
รัศมี

พื้นที่ผิวของทรงกลม (Surface area sphere)


พื้นที่ผิวของทรงกลม เปนสี่เทาของพื้นที่รูปวงกลม ซึ่งมีรัศมีเทากับรัศมีของทรงกลมนั้น

ดังนั้น พืน้ ที่ผิวของทรงกลม = 4πr 2 ตารางหนวย


เมื่อ r แทนรัศมีของทรงกลม

C:\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตร\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้ว\กลุมที่ 2 พื้นที่ผิว\กรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47


8

ปริมาตรของทรงกลม (Volume of sphere)

ปริมาตรของทรงกลม = 4 3
3
πr ลูกบาศกหนวย
เมื่อ r แทนรัศมีของทรงกลม

วิธีการนําเสนอ

ตัวอยาง ถังน้ําสี่เหลี่ยมมุมฉากกวาง 3 เมตร ยาว 7 เมตร มีน้ําบรรจุอยู 105 ลูกบาศกเมตร


ระดับน้ําจะสูงกี่เมตร
แนวคิด ปริมาตร = กวาง × ยาว × สูง
ปริมาตร
สูง =
กวาง × ยาว
105
ระดับน้ําสูง = 3×7
= 5 เมตร
ตอบ 5 เมตร

C:\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตร\คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้ว\กลุมที่ 2 พื้นที่ผิว\กรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47

You might also like