You are on page 1of 99

กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

กฎหมายวิธีสบัญญัติ 1:
หลักทัว่ ไปในวิธีพิจารณาความแพง
Procedural Law I

1. ขั้นตอนการดําเนินคดีแพง
2. พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
3. คูความและการเสนอคดีตอศาล
4. เขตอํานาจศาล คําคูความและการคัดคานผูพิพากษา
5. อํานาจและหนาที่ของศาล
6. การชี้ขาดตัดสินคดี
7. คําพิพากษาและคําสั่ง
8. ผลแหงคําพิพากษาและคําสั่ง
9. คาฤชาธรรมเนียม
10. ขอพิจารณาเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน
11. ประเด็นในคดีกับพยานหลักฐาน
12. หนาที่นําสืบ หรือภาระการพิสูจน
13. การรับฟงพยานหลักฐานในคดีแพง
14. การนําสืบพยานหลักฐาน
15. การชั่งน้ําหนักพยานหลักฐาน

UPDATE : 12 FEBRUARY 2009


BY : DR.NITINAI KHUMMALAI

1
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

1. ขั้นตอนการดําเนินคดีแพง
„ บุคคลจะเสนอคดีตอ ศาลสวนแพงที่มีเขตอํานาจได เมื่อมีขอโตแยงเกี่ยวกับสิทธิหรือหนาที่ของบุคคลตามกฎหมาย
แพง หรือเมื่อตองใชสทิ ธิทางศาล
„ เมื่อมีการยื่นคําฟองหรือคํารองขอตอศาลแลว ศาลจะตรวจคําฟองหรือคํารองขอนั้น แลวจึงมีคาํ สั่งรับไมรับ หรือ
ใหคืนไปใหทาํ มาใหม เสร็จแลวจึงออกหมายเรียกและสงสําเนาคําฟองใหแกจําเลยเพื่อแกคดี ซึ่งจําเลยจะตองทํา
คําใหการเปนหนังสือยื่นตอศาลภายใน 15 วัน
„ ศาลตองชี้สองสถาน เพื่อกําหนดประเด็นขอพิพาท ภาระการพิสูจน และกําหนดลําดับในการนําพยานหลักฐานเขา
สืบกอนหลัง เวนแตกรณีที่กฎหมายบัญญัติยกเวน
„ เมื่อเสร็จสิ้นการสืบพยาน ศาลจะวินจิ ฉัยชี้ขาดคดีโดยทําเปนคําพิพากษาและหรือสั่งแลวแตกรณี
„ กรณีลูกหนาตามคําพิพากษาไมปฏิบัติตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลทั้งหมดหรือบางสวน เจาหนี้ตามคํา
พิพากษามีสิทธิบังคับคดีเอาแกลูกหนี้ได

1. การเสนอคดีตอศาล
„ การเสนอคดีตอศาลไดนั้น มีสองประเภท คือ คดีที่มขี อโตแยงสิทธิหรือหนาที่ของบุคคลตามกฎหมายแพง
ประเภทที่สองคือ คดีที่มคี วามจําเปนจะตองใชสทิ ธิทางศาล
„ การเสนอคําฟองหรือคํารองขอ ตองพิจารณาประมวลกฎหมายวิธพ ี ิจารณาความแพงและพระธรรมนูญศาล
ยุติธรรมประกอบกัน หากเสนอผิดศาล ศาลก็จะไมรับคําฟองหรือคํารองขอนั้นไวพิจารณา
1.1 เงื่อนไขการเสนอคดีตอศาล
มาตรา 55 เมื่อมีขอโตแยงเกิดขึ้น เกี่ยวกับสิทธิหรือหนาที่ของบุคคลใดตามกฎหมายแพง หรือบุคคลใดจะตองใชสิทธิทางศาล บุคคล
นั้นชอบที่จะเสนอคดีของตนตอศาลสวนแพงที่มีเขตอํานาจได ตามบทบัญญัติแหงกฎหมายแพงและประมวลกฎหมายนี้
ก. การเสนอคดีมีขอพิพาท
1. ตองเปนบุคคล
2. ตองมีขอโตแยงสิทธิหรือหนาที่ของบุคคลตามกฎหมายแพงเกิดขึ้น
ข. การเสนอคดีไมมีขอพิพาท
„ ตองมีกฎหมายรองรับวาคดีเรื่องนั้นมีความจําเปนจะตองใชสิทธิทางศาล ถาไมมีกฎหมายรองรับ ก็ไมอาจเสนอคดี
ตอศาลได
ค. รูปแบบการเสนอคดี
„ คดีมีขอพิพาท ทําเปนคําฟองตาม ม.172 วรรคหนึ่ง ผูเสนอขอหาจะเรียกวาโจทย ผูที่ถูกฟองจะเรียกวาจําเลย
„ คดีไมมีขอพิพาท ใหยื่นคํารองตอศาล ตาม ม.188 วรรคหนึ่ง บุคคลผูเสนอคดีตอศาลจะเรียกวาผูรอง
ง. คูความจะตองมีความสามารถตามกฎหมาย (ป.วิ.พ.มาตรา 56 วรรคหนึ่ง)
มาตรา 56 ผูไรความสามารถหรือผูทําการแทนจะเสนอขอหาตอศาลหรือดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ ได ตอเมื่อไดปฏิบัติตาม
บทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยความสามารถและตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ การใหอนุญาตหรือ
ยินยอมตามบทบัญญัติเชนวานั้น ใหทําเปนหนังสือยื่นตอศาลเพื่อรวมไวในสํานวนความ
แต กระบวนการพิจารณาที่ไดดาํ เนินไปแลวกอนทีจ่ ะปรากฎวาคูค วามกรณีฝายใดฝายหนึ่งเปนผูบกพรอง
ความสามารถ ไมทําใหกระบวนการพิจารณาที่ดําเนินไปแลวเสียไป
จ. วิธีดําเนินคดี ดําเนินคดีโดยทางใดทางหนึ่งตาม ป.วิ.พ.มาตรา 60 ดังนี้
2
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

1. ดําเนินคดีดวยตนเอง
2. โดยการแตงตัง้ ทนายความคนเดียวหรือหลายคนใหวา ความ
3. ทําหนังสือมอบอํานาจบุคคลใดเปนผูแทนตนในคดี ผูร ับมอบอํานาจเชนวานั้นจะวาความอยางทนายความ
ไมได แตยอมตั้งทนายความเพื่อดําเนินกระบวนพิจารณาได
มาตรา 60 คูความฝายใดฝายหนึ่ง หรือผูแทนโดยชอบธรรมในกรณีที่คูความเปนผูไรความสามารถ หรือผูแทนในกรณีที่คูความเปน
นิติบุคคลจะวาความดวยตนเองและดําเนินกระบวนพิจารณาทั้งปวงตามที่เห็นสมควรเพื่อประโยชนของตนหรือจะตั้งแตงทนายความ
คนเดียวหรือหลายคนใหวาความและดําเนินกระบวนพิจารณาแทนตนก็ได
ถาคูความ หรือผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูแทน ดังที่ไดกลาวมาแลวทําหนังสือมอบอํานาจใหบุคคลใดเปนผูแทนตนในคดี
ผูรับมอบอํานาจเชนวานั้นจะวาความอยางทนายความไมได แตยอมตั้งทนายความเพื่อดําเนินกระบวนพิจารณาได
1.2 ศาลที่จะเสนอคดี
„ การเสนอคําฟองหรือคํารองขอ นอกจากจะตองพิจารณาตาม ป.วิ.พ.แลว ยังตองพิจารณาตามพระธรรมนูญศาล
ยุติธรรมประกอบดวย
ก. การนําเสนอคําฟองคดีมีขอพิพาท (ม.4(1), 4 ทวิ และ 4 ตรี)
„ คําฟองที่เกีย่ วดวยหนี้เหนือบุคคล (ม.4(1) และ 4 ตรี)
มาตรา 4 (1) คําฟอง ใหเสนอตอศาลที่จําเลยมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลหรือตอศาลที่มูลคดีเกิดขึ้นในเขตศาลไมวาจําเลยจะมี
ภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักรหรือไม
มาตรา 4 ตรี(3) คําฟองอื่นนอกจากที่บัญญัติไวในมาตรา 4 ทวิ โโซึ่งจําเลยมิไดมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักร และมูลคดีมิได
เกิดขึ้นในราชอาณาจักรถาโจทกเปนผูมีสัญชาติไทยหรือมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักร ใหเสนอตอศาลแพงหรือตอศาลที่โจทกมี
ภูมิลําเนาอยูในเขตศาล
„ คําฟองเกี่ยวดวยอสังหาริมทรัพย (ม.4 ทวิ)
มาตรา 4 ทวิ คําฟองเกี่ยวดวยอสังหาริมทรัพย หรือสิทธิหรือประโยชนอันเกี่ยวดวยอสังหาริมทรัพย ใหเสนอตอศาลที่
อสังหาริมทรัพยนั้นตั้งอยูในเขตศาล ไมวาจําเลยจะมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักรหรือไม หรือตอศาลที่จําเลยมีภูมิลําเนาอยูในเขต
ศาล
ข. การเสนอคํารองขอในคดีไมมีขอพิพาท
„ การยื่นคํารองขอในคดีไมมขี อพิพาททั่วไป (ม.4 (2))
มาตรา 4 (2) คํารองขอ ใหเสนอตอศาลที่มูลคดีเกิดขึ้นในเขตศาล หรือตอศาลที่ผูรองมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาล
„ การยื่นคํารองขอใหศาลมีคาํ สั่งตั้งผูจดั การมรดก – ถาทายาทหรือผูม  ีสวนไดเสียประสงคจะตัง้ ผูห นึ่งผูใดเปน
ผูจัดการมรดก การยื่นคํารองขอมิไดเปนไปตามหลักทัว่ ไป แตเปนไปตามมาตรา 4 จัตวา วรรคหนึ่ง
มาตรา 4 จัตวา คํารองขอแตงตั้งผูจัดการมรดก ใหเสนอตอศาลที่เจามรดกมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลในขณะถึงแกความตาย
ในกรณีที่เจามรดกไมมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักร ใหเสนอตอศาลที่ทรัพยมรดกอยูในเขตศาล
„ นายเอกมีภูมิลําเนาอยูที่จังหวัดลําปาง ใหนายโท ซึ่งมีภูมิลําเนาอยูที่จังหวัดตากกูยืมเงิน 500,000 บาท โดยทําหลักฐานเปน
หนังสือที่จังหวัดพะเยา ตอมานายโทผิดนัดไมยอมชําระหนี้ใหแกนายเอก เชนนี้นายเอกจะฟองนายโทที่ศาลใดไดบาง
„ การฟองขอใหศาลบังคับใหนายโทชําระหนี้เงินกู เปนคําฟองเกี่ยวดวยหนี้เหนือบุคคล จึงตองบังคับตาม ป.วิ.พ.มาตรา 4 (1) ซึ่ง
บัญญัติใหโจทยมีอํานาจเสนอคําฟองตอศาลที่จําเลยมีภูมิลําเนาอยูในเขต หรือศาลที่มูลคดีเกิดขึ้นในเขตศาล ศาลใดศาลหนึ่ง กรณี
ตามปญหาขางตน นายเอกมีอํานาจเสนอคําฟองตอศาลจังหวัดตาก ซึ่งเปนศาลที่จําเลยมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาล หรือศาลจังหวัด
พะเยาซึ่งเปนศาลที่มูลคดีเกิดขึ้นอยูในเขตอํานาจ

2. กระบวนพิจารณาเมื่อเริ่มคดี

3
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ ในการตรวจคําคูค วามของศาลนั้น ศาลอาจจะมีคําสั่งอยางหนึ่งอยางใดใน 3 ประการ กลาวคือ คําสั่งคืนคําคูค วาม


คําสั่งไมรับคําคูความ หรือคําสั่งรับคําคูค วาม
„ เมื่อโจทยนําคําฟองไปยื่นตอศาลและศาลรับคําฟองไวแลว โจทยยังมีหนาที่รองขอตอพนักงานเจาหนาที่เพื่อใหสง
หมายเรียกใหแกคดีแกจําเลยภายใน 7 วัน นับแตวันยื่นคําฟอง
„ จําเลยตองทําคําใหการเปนหนังสือยื่นตอศาลภายใน 15 วัน นับแตไดรับหมายเรียกและสําเนาคําฟอง และจําเลย
จะฟองแยงมาในคําใหการก็ได
2.1 การตรวจคําคูความ (ม.18)
„ "คําคูความ" หมายความวา บรรดาคําฟอง คําใหการหรือคํารองทั้งหลายทีย่ ื่นตอศาลเพื่อตั้งประเด็นระหวาง
คูความ (มาตรา 1 (5))
มาตรา 18 ใหศาลมีอํานาจที่จะตรวจคําคูความที่พนักงานเจาหนาที่ของศาลไดรับไวเพื่อยื่นตอศาล หรือสงใหแกคูความหรือบุคคล
ใด ๆ
ถาศาลเห็นวาคําคูความที่ไดยื่นไวดังกลาวแลวนั้น อานไมออก หรืออานไมเขาใจ หรือเขียนฟุมเฟอยเกินไป หรือไมมีรายการ
ไมมีลายมือชื่อ ไมแนบเอกสารตาง ๆ ตามที่กฎหมายตองการ หรือมิไดปดแสตมปโดยบริบูรณ ศาลจะมีคําสั่งใหคืนคําคูความนั้นไปให
ทํามาใหม หรือแกไขเพิ่มเติม หรือปดแสตมปใหบริบูรณภายในระยะเวลาและกําหนดเงื่อนไขใด ๆ ตลอดจนเรื่องคาฤชาธรรมเนียม
ตามที่ศาลเห็นสมควรก็ได ถามิไดปฏิบัติตามขอกําหนดของศาลในระยะเวลาหรือเงื่อนไขที่กําหนดไวก็ใหมีคําสั่งไมรับคําคูความนั้น
ถาศาลเห็นวาคําคูความที่ไดนํามายื่นดังกลาวขางตน มิไดเปนไปตามเงื่อนไขแหงกฎหมายที่บังคับไว นอกจากที่กลาวมาใน
วรรคกอน และโดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อเห็นวาสิทธิของคูความหรือบุคคลซึ่งยื่นคําคูความนั้นไดถูกจํากัดหามโดยบทบัญญัติแหง
กฎหมายเรื่องเขตอํานาจศาล ก็ใหศาลมีคําสั่งไมรับหรือคืนคําคูความนั้นไปเพื่อยื่นตอศาลที่มีเขตอํานาจ
ถาไมมีขอขัดของดังกลาวแลว ก็ใหศาลจดแจงแสดงการรับคําคูความนั้นไวบนคําคูความนั้นเองหรือในที่อื่น
คําสั่งของศาลที่ไมรับหรือใหคืนคําคูความตามมาตรานี้ ใหอุทธรณและฎีกาไดตามที่บัญญัติไวในมาตรา 227228 และ
247
„ ในการตรวจคําคูค วามของศาลนั้น ศาลอาจจะมีคําสั่งอยางหนึ่งอยางใดใน 3 ประการคือ
1. คําสั่งคืนคําคูค วาม
2. คําสั่งไมรับคําคูความ
3. คําสั่งรับคําคูค
 วาม
„ คําสั่งคืนคําคูค วาม Æ เมื่อคําคูความอานไมออกหรืออานไมเขาใจ หรือฟุมเฟอยเกินไป แตศาลจะมีคําสั่งไมรับคํา
คูความไปเลยทีเดียวไมได ตองใหคคู วามทํามาใหม และศาลก็จะตรวจเปรียบเทียบกับคําคูค วามเดิม
„ คําสั่งไมรับคําคูความ Æ ตองไมใชตามกรณี ม.18 วรรคสอง แตตองบัญญัติไวตามวรรคสาม
„ คําสั่งรับคําคูค วาม Æ ศาลตรวจเห็นวาคําฟองถูกตอง
„ ในชั้นตรวจคําฟอง หากศาลเห็นวาคําฟองนั้นไมอยูในเขตอํานาจของศาล ศาลจะมีคําสั่งอยางไร
หากศาลเห็นวาคําฟองนั้นไมอยูในเขตอํานาจของศาล ศาลจะมีคําสั่งไมรับคําฟองนั้น
2.2 การยื่นและสงคําคูความและเอกสาร
ก. การยื่นคําคูความหรือเอกสารอื่นใดตอศาล (ม.69)
มาตรา 69 การยื่นคําคูความ หรือเอกสารอื่นใดตอศาลนั้นใหกระทําไดโดยสงตอพนักงานเจาหนาที่ของศาล หรือยื่นตอศาลใน
ระหวางนั่งพิจารณา
ข. การสงคําคูความหรือเอกสารไปยังคูความหรือบุคคลภายนอก
„ โดยทั่วไป การสงสงคําคูความจะใหเจาพนักงานศาลเปนผูสง แตบางกรณีกฎหมายยอมใหนําไปสงใหแกกันดวย
ตนเองโดยไมตองใหเจาพนักงานศาลเปนผูไปสง

4
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 70 บรรดาคําฟอง หมายเรียกและหมายอื่น ๆ คําสั่ง คําบังคับของศาลนั้น ใหเจาพนักงานศาลเปนผูสงใหแกคูความหรือ


บุคคลภายนอกที่เกี่ยวของแตวา
(1) หมายเรียกพยาน ใหคูความฝายที่อางพยานนั้นเปนผูสงโดยตรงเวนแตศาลจะสั่งเปนอยางอื่น หรือพยานปฏิเสธไม
ยอมรับหมาย ในกรณีเชนวานี้ใหเจาพนักงานศาลเปนผูสง
(2) คําสั่ง คําบังคับของศาล รวมทั้งคําสั่งกําหนดวันนั่งพิจารณาหรือสืบพยาน แลวแตกรณี หรือคําสั่งใหเลื่อนคดี ถาคูความ
หรือบุคคลที่เกี่ยวของนั้นอยูในศาลในเวลาที่มีคําสั่งและไดลงลายมื่อชื่อรับรูไว ใหถือวาไดสงโดยชอบดวยกฎหมายแลว
„ การสงหมายเรียกหรือสําเนาคําฟองหรือกรณีอื่นใดที่เจาพนักงานศาลเปนผูสง จะตองพิจารณากรอบเรื่องเวลาที่
สง ตัวบุคคลที่จะรับคําคูค วามหรือเอกสาร และสถานที่จะตองนําคําคูค วามหรือเอกสารไปสง
เวลา (ม.74 (1))
มาตรา 74 การสงคําคูความหรือเอกสารอื่นใดโดยเจาพนักงานศาลนั้นใหปฏิบัติดังนี้
(1) ใหสงในเวลากลางวันระหวางพระอาทิตยขึ้นและพระอาทิตยตก และ…
ตัวบุคคล (ม.74 (2))
(2) ใหสงแกคูความ หรือบุคคลซึ่งระบุไวในคําคูความหรือเอกสาร ณ ภูมิลําเนาหรือสํานักทําการงานของคูความหรือ
บุคคลนั้น แตใหอยูในบังคับแหงบทบัญญัติหกมาตราตอไปนี้
ขอยกเวน ตาม ม.75 สงใหทนายความ
มาตรา 75 การสงคําคูความหรือเอกสารอื่นใดใหแกทนายความที่คูความตั้งแตงใหวาคดี หรือใหแกบุคคลที่ทนายความเชนวานั้นได
ตั้งแตง เพื่อกระทํากิจการอยางใด ๆ ที่ระบุไวในมาตรา 64 นั้น ใหถือวาเปนการสงโดยชอบดวยกฎหมาย
หรือ ม.76 สงใหแกบุคคลใดๆ ที่มีอายุเกินยี่สิบป ซึ่งอยูหรือทํางานคูความนั้นๆ
มาตรา 76 เมื่อเจาพนักงานศาลไมพบคูความหรือบุคคลที่จะสงคําคูความหรือเอกสาร ณ ภูมิลําเนาหรือสํานักทําการงานของบุคคล
นั้น ๆ ถาไดสงคําคูความหรือเอกสารใหแกบุคคลใด ๆ ที่มีอายุเกินยี่สิบป ซึ่งอยูหรือทํางานในบานเรือนหรือที่สํานักทําการงานที่
ปรากฎวาเปนของคูความหรือบุคคลนั้น หรือไดสงคําคูความหรือเอกสารนั้นตามขอความในคําสั่งของศาล ใหถือวาเปนการเพียง
พอที่จะฟงวาไดมีการสงคําคูความหรือเอกสารถูกตองตามกฎหมายแลว
ในกรณีเชนวามานี้ การสงคําคูความหรือเอกสารแกคูความฝายใดหามมิใหสงแกคูความฝายปรปกษเปนผูรับไวแทน
สถานที่ เปนไปตาม ม.74 (2) แต ม.77 ยกเวนวา
มาตรา 77 การสงคําคูความหรือเอกสารอื่นใดโดยเจาพนักงานศาลไปยังที่อื่นนอกจากภูมิลําเนา หรือสํานักทําการงานของคูความ
หรือของบุคคลซึ่งระบุไวในคําคูความ หรือเอกสารนั้น ใหถือวาเปนการถูกตองตามกฎหมาย เมื่อ
(1) คูความหรือบุคคลนั้นยอมรับคําคูความหรือเอกสารนั้นไว หรือ
(2) การสงคําคูความหรือเอกสารนั้นไดกระทําในศาล
„ หากตัวจําเลยไมยอมรับสําเนาคําฟอง ใหใชตาม ม.78
มาตรา 78 ถาคูความหรือบุคคลที่ระบุไวในคําคูความหรือเอกสารปฏิเสธไมยอมรับคําคูความหรือเอกสารนั้นจากเจาพนักงานศาล
โดยปราศจากเหตุอันชอบดวยกฎหมาย เจาพนักงานนั้นชอบที่จะขอใหพนักงานเจาหนาที่ฝายปกครองที่มีอํานาจหรือเจาพนักงาน
ตํารวจไปดวยเพื่อเปนพยาน และถาคูความหรือบุคคลนั้นยังคงปฏิเสธไมยอมรับอยูอีก ก็ใหวางคําคูความหรือเอกสารไว ณ ที่นั้น เมื่อ
ไดทําดังนี้แลวใหถือวาการสงคําคูความหรือเอกสารนั้นเปนการถูกตองตามกฎหมาย
„ ขอสังเกต การวางคําคูความหรือเอกสารตาม ป.วิ.พ.มาตรา 78 จะตองเปนการวางตอคูค วามหรือบุคคลทีร่ ะบุไว
ในเอกสาร จะวางตอบุคคลที่ระบุไวใน ป.วิ.พ.มาตรา 75 หรือ 76 ไมได
„ หากไมสามารถทําตามมาตรา 74 ถึง 78 ได ใหทาํ ตาม ม.79 วรรคหนึ่ง
มาตรา 79 วรรคแรก ถาการสงคําคูความหรือเอกสารนั้นไมสามารถจะทําไดดังที่บัญญัติไวในมาตรากอน ศาลอาจสั่งใหสงโดยวิธี
อื่นแทนได กลาวคือปดคําคูความหรือเอกสารไวในที่แลเห็นไดงาย ณ ภูมิลําเนาหรือสํานักทําการงานของคูความหรือบุคคลผูมีชื่อระบุ

5
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

ไวในคําคูความหรือเอกสาร หรือมอบหมายคําคูความหรือเอกสารไวแกเจาพนักงานฝายปกครองในทองถิ่นหรือเจาพนักงานตํารวจ
แลวปดประกาศแสดงการที่ไดมอบหมายดังกลาวแลวนั้นไวดังกลาวมาขางตน หรือลงโฆษณาหรือทําวิธีอื่นใดตามที่ศาลเห็นสมควร
ขอสังเกต ศาลตองทําตามขั้นตอนตามมาตรากอนๆ เสียกอน จึงจะทําตามมาตรา 79 ได ถาศาลทําขามขั้นตอน ถือ
วาการสงหมายเรียกหรือสําเนาคําฟองนัน้ ไมชอบ
„ การสงคําคูความตาม ม.79 ไมไดมีผลทันทีนับแตวันปดหมายเรียก
มาตรา 79 วรรคสอง การสงคําคูความหรือเอกสารโดยวิธีอื่นแทนนั้น ใหมีผลใชไดตอเมื่อกําหนดเวลาสิบหาวันหรือระยะเวลานาน
กวานั้นตามที่ศาลเห็นสมควรกําหนด ไดลวงพนไปแลวนับตั้งแตเวลาที่คําคูความหรือเอกสารหรือประกาศแสดงการมอบหมายนั้นได
ปดไว หรือการโฆษณาหรือวิธีอื่นใดตามที่ศาลสั่งนั้นไดทําหรือไดตั้งตนแลว
„ กรณีที่คคู วามสามารถสงเอกสารใหแกกน ั เองไดนั้น เชนการสงหมายเรียกพยาน บัญญัติตาม ม.81
มาตรา 81 การสงหมายเรียกพยานโดยคูความที่เกี่ยวของนั้นใหปฏิบัติดังนี้
(1) ใหสงในเวลากลางวันระหวางพระอาทิตยขึ้นและพระอาทิตยตก และ
(2) ใหสงแกบุคคลซึ่งระบุไวในหมายเรียก ณ ภูมิลําเนาหรือสํานักทําการงานของบุคคลเชนวานั้น แตวาใหอยูภายในบังคับ
บทบัญญัติแหงมาตรา 76 และ 77
„ ขอสังเกต ม.81 (2) ใหนําบทบัญญัติ ม.76 และ 77 มาใชเทานั้น มิไดอนุโลมใหนํา ม.78 เรื่องการวางหมาย หรือ
ม.79 เรื่องการปดมาใช
„ กรณีจาํ เลยมิไดมีภูมิลาํ เนาในราชอาณาจักร การสงหมายเรียกและสําเนาคําฟองตั้งตนหรือเอกสารอื่นใด ให
เปนไปตาม ม.83 ทวิ ถึง 83 อัฎฐ
„ เจาพนักงานศาลนําหมายเรียกและสําเนาคําฟองไปสงใหแกจําเลยที่บาน ไมพบจําเลย พบแตนาย ก อายุ 25 ป ซึ่งเปนคนสวน
ทํางานอยูในบานเรือนของจําเลย นาย ก ยอมรับหมายเรียกและสําเนาคําฟองไว เจาพนักงานศาลจะสงหมายเรียกและสําเนาคําฟอง
ใหนาย ก รับไวแทนไดหรือไม
เจาพนักงานศาลนําหมายเรียกและสําเนาคําฟองไปสงใหกับจําเลยที่บาน แมไมพบจําเลย พบแตนาย ก ซึ่งอายุเกิน 20 ป คนสวน ถา
นาย ก ยอมรับสําเนาคําฟอง เจาพนักงานศาลก็มีอํานาจที่จะสงหมายเรียกและสําเนาคําฟองใหแกนาย ก ได ถือวาจําเลยไดรับ
หมายเรียกและสําเนาคําฟองแลวตาม ป.วิ.พ.มาตรา 76
2.3 การยื่นคําใหการและฟองแยง
„ "คําใหการ" หมายความวา กระบวนพิจารณาใด ๆ ซึ่งคูความฝายหนึ่งยกขอตอสูเปนขอแกคาํ ฟองตามที่บัญญัติไว
ในประมวลกฎหมายนี้ นอกจากคําแถลงการณ (ม.1 (4))
ก. ระยะเวลายื่นคําใหการคดีแพงสามัญ (ม.177 วรรคหนึ่ง)
มาตรา 177 เมื่อไดสงหมายเรียกและคําฟองใหจําเลยแลวใหจําเลยทําคําใหการเปนหนังสือยื่นตอศาลภายในสิบหาวัน
ข. การสงสําเนาคําใหการ (ม.71)
„ กรณีจาํ เลยยืน
่ คําใหการตอสูโจทย (ม.71 วรรคหนึ่ง)
มาตรา 71 วรรคหนึ่ง คําใหการนั้น ใหฝายที่ใหการนําตนฉบับยื่นไวตอศาลพรอมดวยสําเนาสําหรับใหคูความอีกฝายหนึ่ง หรือ
คูความอื่น ๆ รับไปโดยทางเจาพนักงานศาล
„ ถาตอมาจําเลยยื่นคํารองขอแกไขเพิ่มเติมคําใหการ (ม.71 วรรคสอง)
มาตรา 71 วรรคสอง คํารองเพื่อแกไขเพิ่มเติมคําใหการนั้น ใหเจาพนักงานศาลเปนผูสงใหคูความอีกฝายหนึ่งหรือคูความอื่น ๆ โดย
ฝายที่ยื่นคํารองเปนผูมีหนาที่จัดการนําสง
ค. ฟองแยง (ม.177 วรรคสาม)
„ ฟองแยง คือ การที่จาํ เลยฟองกลับใหโจทยมาในคําใหการ
มาตรา 177 วรรคสาม จําเลยจะฟองแยงมาในคําใหการก็ได แตถาฟองแยงนั้นเปนเรื่องอื่นไมเกี่ยวกับคําฟองเดิมแลว ใหศาลสั่งให
จําเลยฟองเปนคดีตางหาก

6
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

ง. ฟองแยงจะตองเกี่ยวของกับฟองเดิม
„ ฟองแยงจะตองเกี่ยวของกับฟองเดิม (ม.177 วรรคสาม) และตองเกีย่ วของพอทีจ่ ะรวมการพิจารณาและชี้ขาด
ตัดสินเขาดวยกันได (ม.179 วรรคทาย)
„ คดีไมมีขอพิพาท จะฟองแยงไมไดเนื่องจากไมมีจาํ เลย แตถาเริ่มแรกเปนคดีไมมขี อพิพาท แลวตอมาเปนคดีมีขอ
พิพาท ใหดําเนินคดีไปอยางคดีมีขอพิพาท (ม.188 (4))
จ. ผลของการที่จําเลยไมยื่นคําใหการภายในระยะเวลาที่กําหนด หรือภายในระยะเวลาที่ศาลอนุญาต
„ มาตรา 197 บัญญัติวา ใหถือวาจําเลยขาดนัดยื่นคําใหการ ศาลจะดําเนินกระบวนการพิจารณาวาดวยการ
พิจารณาโดยการขาดนัด
มาตรา 197 เมื่อจําเลยไดรับหมายเรียกใหยื่นคําใหการหรือเมื่อโจทกถูกฟองแยงแลว จําเลยหรือโจทกมิไดยื่นคําใหการหรือ
คําใหการแกฟองแยงภายในระยะเวลาที่กําหนดไวทั้งมิไดแจงเหตุขัดของตอศาลภายในกําหนดเวลาเชนวานัน้ ใหถือวาจําเลยหรือโจทก
ขาดนัดยื่นคําใหการ
ถาคูความฝายใดฝายหนึ่งไมมาศาลในวันสืบพยาน และมิไดรองขอเลื่อนคดีหรือแจงเหตุขัดของที่ไมมาศาลเสียกอนลงมือ
สืบพยาน ใหถือวาคูความฝายนั้นขาดนัดพิจารณา
„ นาย ก ฟองนาย ข ใหรับผิดตามสัญญากูยืมเงิน นาย ข ใหการปฏิเสธวาไมไดกูยืมเงินจากนาย ก โดยนําคําใหการพรอมสําเนา
คําใหการไปยื่นตอศาล เชนนี้ นาย ข จะตองสงสําเนาคําใหการแกนาย ก หรือไม
ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 71 วรรคหนึ่ง นาย ข เพียงแตนําคําใหการพรอมสําเนาคําใหการไปยื่นตอเจาพนักงานศาล ก็เปนไปตามกฎหมาย
ครบถวนแลว เพราะเปนหนาทีข่ องนาย ก ที่จะตองมารับสําเนาคําใหการไปจากศาลเอง

3. กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการสืบพยาน
„ การชี้สองสถานนั้นมีแตในคดีแพง โดยมีวัตถุประสงคหลักคือ เพื่อใหประเด็นขอพิพาทแหงคดีนน
ั้ กระชับเขา วาคดี
เรื่องนั้นมีประเด็นขอพิพาทอยางไรบาง เพื่อนําไปกําหนดภาระการพิสูจน
„ การสืบพยานทั้งในคดีแพงและคดีอาญา ในเบื้องตน คูความตองยืน ่ บัญชีระบุพยานตอศาลเสียกอน จึงจะมีสิทธินํา
พยานหลักฐานนั้นเขาสืบได เมื่อสืบพยานเสร็จ ในคดีแพงศาลจะใชวิธีชั่งน้ําหนักพยานหลักฐาน สวนคดีอาญา พยาน
โจทยตองรับฟงโดยปราศจากขอสงสัย ศาลจึงจะพิพากษาลงโทษจําเลยได
3.1 การชี้สองสถาน
ก. การชี้สองสถาน
„ การชี้สองสถาน คือ การทีศ่ าลนําคําฟองของโจทยและคําใหการของจําเลยมาตรวจดูวา คําฟองของโจทยมีขออาง
และคําใหการของจําเลยมีขอ เถียงอยางไร แลวศาลจะสอบถามโจทยจําเลยวาประเด็นดังกลาวนัน้ อาจจะสละขอใดได
บาง คงเหลือประเด็นขอที่โตเถียงกันเทานั้น ซึ่งประเด็นที่ยังโตเถียงกันนี้อาจจะเปนประเด็นปญหาขอกฎหมายหรือ
ประเด็นปญหาขอเท็จจริงก็ได ซึ่งเรียกวาประเด็นขอพิพาท สวนเรื่องที่โจทยจําเลย ยอมรับกันไปแลวก็ถือวาเปนอันยุติ
ไปตามนั้น
„ การดําเนินการชี้สองสถานตองเปนไปตามบัญญัติไวใน ป.วิ.พ.มาตรา 183 วรรคหนึ่ง
มาตรา 183 วรรคหนึ่ง ในวันชี้สองสถาน ใหคูความมาศาล และใหศาลตรวจคําคูความและคําแถลงของคูความ แลวนําขออาง ขอ
เถียงที่ปรากฎในคําคูความและคําแถลงของคูความเทียบกันดู และสอบถามคูความทุกฝายถึงขออาง ขอเถียงและพยานหลักฐานที่จะ
ยื่นตอศาลวาฝายใดยอมรับหรือโตแยงขออาง ขอเถียงนั้นอยางไรขอเท็จจริงใดที่คูความยอมรับกันก็เปนอันยุติไปตามนั้น สวนขอ
กฎหมายหรือขอเท็จจริงที่คูความฝายหนึ่งยกขึ้นอางแตคําคูความฝายอื่นไมรับและเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับประเด็นขอพิพาทตามคํา
คูความใหศาลกําหนดไวเปนประเด็นขอพิพาทและกําหนดใหคูความฝายใดนําพยานหลักฐานมาสืบในประเด็นขอใดกอนหรือหลังก็ได
ข. ประเด็นขอพิพาท

7
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ ในคดีแตละคดีจะมีประเด็นขอพิพาทไดเพียง 2 ประการคือ
1. ประเด็นปญหาขอกฎหมาย
2. ประเด็นปญหาขอเท็จจริง
„ แนวคิดวาประเด็นใดเปนประเด็นปญหาขอกฎหมายหรือขอเท็จจริง
ดูวาประเด็นเรื่องนั้นศาลจะตองแสวงหาขอเท็จจริงอีกตอไปหรือไม ถาศาลไมจําเปนตองแสวงหาขอเท็จจริงอีกเพราะ
ขอเท็จจริงที่อยูตรงหนาศาลนั้นมีเพียงพอแลว ปญหาอันนั้นก็เปนปญหาขอกฎหมาย แตถาศาลยังจะตองแสวงหา
ขอเท็จจริงตอไปอีกจึงจะวินจิ ฉัยคดีได ปญหานั้นก็เปนปญหาขอเท็จจริง
„ โดยปกติ ขอเท็จจริงอาจเขาสูสํานวนไดโดยการสืบพยาน แตบางทีกอ็ าจเขาสูสํานวนศาลโดยทางอื่นได
1. ขอเท็จจริงซึ่งรูกันอยูท
 ั่วไป
2. ขอเท็จจริงซึ่งไมอาจโตแยงได
3. ขอเท็จจริงที่คคู วามรับหรือถือวารับกันแลวในศาล
4. ขอเท็จจริงเขาสูสํานวนศาลในเบื้องตนโดยขอสันนิษฐานของกฎหมาย หรือโดยขอสันนิษฐานตามขอเท็จจริงที่
ควรจะเปน ซึง่ ปรากฎจากสภาพปกติธรรมดาของเหตุการณ
5. ขอเท็จจริงเขาสูสํานวนศาล โดยศาลไดมาในระหวางการพิจารณาของศาล
6. ขอเท็จจริงเขาสูสํานวนศาลโดยการสืบพยาน
3.2 วิธีการสืบพยาน
„ ในเบื้องตนคูค วามจะตองยืน ่ บัญชีระบุพยานตอศาลเสียกอน (ม.88 วรรคหนึ่ง)
มาตรา 88 เมื่อคูความฝายใดมีความจํานงที่จะอางอิงเอกสารฉบับใด หรือคําเบิกความของพยานคนใด หรือมีความจํานงที่จะใหศาล
ตรวจบุคคลวัตถุ สถานที่ หรืออางอิงความเห็นของผูเชี่ยวชาญที่ศาลตั้ง เพื่อเปนพยานหลักฐานสนับสนุนขออางหรือขอเถียงของตน ให
คูความฝายนั้นยื่นตอศาลกอนวันสืบพยานไมนอยกวาเจ็ดวันซึ่งบัญชีระบุพยาน โดยแสดงเอกสารหรือสภาพของเอกสารที่จะอาง และ
รายชื่อ ที่อยู ของบุคคล วัตถุ หรือสถานที่ซึ่งคูความฝายนั้นระบุอางเปนพยาน หรือขอใหศาลไปตรวจ หรือขอใหตั้งผูเชี่ยวชาญ แลวแต
กรณี พรอมทั้งสําเนาบัญชีระบุพยานดังกลาวในจํานวนที่เพียงพอ เพื่อใหคูความฝายอื่นมารับไปจากเจาพนักงานศาล
ก. ชนิดของพยานหลักฐานที่จะนํามาสืบในศาล
„ พยานที่จะนํามาสืบในศาล มีอยู 3 ประเภทคือ
1. พยานบุคคล
2. พยานเอกสาร
3. วัตถุพยาน
ข. การแบงประเภทของพยานตามคุณคาหรือที่มาของพยาน
1. ประจักษพยาน และ พยานบอกเลา
2. พยานคู และ พยานเดี่ยว
3. พยานแวดลอมกรณี และ พยานแวดลอมคดี
4. พยานนํา และ พยานหมาย
ค. หลักการรับฟงและชั่งน้ําหนักพยานหลักฐาน
„ คดีแพงศาลจะใชวิธีชั่งน้ําหนักพยาน แตการรับฟงพยานหลักฐานในคดีอาญาแตกตางไปจากคดีแพง ถาศาลมี
ความสงสัยตามสมควรวาจําเลยไดกระทําความผิดหรือไม ใหยกประโยชนแหงความสงสัยนั้นใหจาํ เลย
„ พยานที่เปนคนหูหนวกหรือเปนใบ สามารถเบิกความเปนพยานในศาลไดหรือไม
สามารถเบิกความเปนพยานในศาลได โดยอาจถูกถามหรือตอบคําถามโดยวิธีเขียนหนังสือ หรือโดยวิธีอื่นที่ศาลเห็นสมควรได

8
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

4. การวินิจฉัยชี้ขาดคดี
„ คดีที่ยื่นฟองตอศาล ถาคูความมีคาํ ขอในระหวางการพิจารณาคดี ศาลตองมีคาํ สั่งอนุญาตหรือยกเสีย สวนคําฟอง
หรือคํารองขอ ศาลตองวินจิ ฉัยชีข้ าดโดยทําเปนคําพิพากษาหรือคําสั่ง เวนแตในกรณีที่มีเหตุใหศาลจําหนายคดีเสีย
จากสารบบความได
„ ศาลจะพิพากษาหรือทําคําสั่งนอกจากทีป ่ รากฎในคําฟองไมได
„ คําพิพากษาหรือคําสั่งยอมผูกพันคูความในคดี หามดําเนินกระบวนพิจารณาอันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ได
วินิจฉัยชีข้ าดแลว และคูค วามเดียวกันรือรองฟองกันอีก ในประเด็นที่ไดวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกัน
„ เมื่อศาลชั้นตนหรือศาลอุทธรณมีคาํ พิพากษาหรือคําสัง่ แลว คูค วามที่ไมพอใจคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้น อาจ
อุทธรณคาํ พิพากษาหรือคําสั่งของศาลชัน้ ตนไปยังศาลอุทธรณ หรือฎีกาคําพิพากษาหรือคําสัง่ ของศาลอุทธรณไปยัง
ศาลฎีกาได ทัง้ นี้ ภายใตบทบัญญัติในเรื่องการหามอุทธรณ หรือหามฎีกา แลวแตกรณี
4.1 หลักทั่วไปวาดวยการวินิจฉัยชีข ้ าดคดี
„ หลัก (ม.131 ประกอบ 132)
1. คดีมีขอพิพาท ศาลตองทําคําวินิจฉัยชี้ขาดเปนรูปของคําพิพากษา
2. คดีไมมีขอพิพาท ศาลตองทําคําวินิจฉัยชีข ้ าดเปนรูปของคําสั่ง
3. ถาคูความยื่นคําขอตอศาล ไมวาเปนคํารองหรือคําขอกอนศาลจะมีคําพิพากษา ศาลจะมีคาํ วินิจฉัยเปนคําสั่ง
เสมอ
„ มีบางกรณีทศี่ าลมีคาํ สั่งจําหนายคดีจากสารบบความ โดยไมตองมีคาํ วินิจฉัยชี้ขาด คือ
1. โจทยทิ้งฟอง ถอนฟอง ไมมาศาล (ม.174, 175 และ 193 ทวิ)
2. โจทยไมหาประกันมาให (ม.253, 288) หรือคูความฝายใดฝายหนึ่งหรือทั้งสองขาดนัด (ม.198, 200 และ
201)
3. ความมรณะของคูความฝายใดฝายหนึ่งยังใหคดีไมเปนประโยชนอก ี ตอไป หรือไมมีผูใดเขามาแทนผูมรณะ
(ม.42)
4. ศาลมีคําสั่งใหพิจารณารวมคดีกัน หรือใหแยกกันซึ่งเปนเหตุใหตองโอนคดีไปยังอีกศาลหนึ่ง (ม.28 และ 29)
„ กฎหมายประสงคใหคคู วามทําการประนีประนอมยอมความกัน ศาลยังสามารถสั่งใหตัวความมาศาลแลวไกลเกลี่ย
หรือประนีประนอมยอมความกันได (ม.19)
มาตรา 19 ศาลมีอํานาจสั่งไดตามที่เห็นสมควรใหคูความทุกฝายหรือฝายใดฝายหนึ่งมาศาลดวยตนเอง ถึงแมวาคูความนั้น ๆ จะได
มีทนายความวาตางแกตางอยูแลวก็ดี อนึ่งถาศาลเห็นวาการที่คูความมาศาลดวยตนเองอาจยังใหเกิดความตกลงหรือการ
ประนีประนอมยอมความดังที่บัญญัติไวในมาตราตอไปนี้ก็ใหศาลสั่งใหคูความมาศาลดวยตนเอง
„ แมสืบพยานเสร็จแลว ศาลก็มีอํานาจทีจ่ ะไกลเกลี่ยคูความได (ม.20) ตามแนวทาง ม.20 ทวิ
มาตรา 20 ไมวาการพิจารณาคดีจะไดดําเนินไปแลวเพียงใด ใหศาลมีอํานาจที่จะไกลเกลี่ยใหคูความไดตกลงกัน หรือ
ประนีประนอมยอมความกันในขอที่พิพาทนั้น
มาตรา 20 ทวิ เพื่อปะโยชนในการไกลเกลี่ย เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งรองขอ ศาลจะสั่งใหดําเนินการเปน
การลับเฉพาะตอหนาตัวความทุกฝายหรือฝายใดฝายหนึ่งโดยจะใหมีทนายความอยูดวยหรือไมก็ได
เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งรองขอ ศาลอาจแตงตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลเปนผู-ประนีประนอม เพื่อ
ชวยเหลือศาลในการไกลเกลี่ยใหคูความไดประนีประนอมกัน
หลักเกณฑและวิธีการในการไกลเกลี่ยของศาล การแตงตั้งผูประนีประนอมรวมทั้งอํานาจหนาที่ของผู-ประนีประนอม ให
เปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

9
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ เมื่อการประนีประนอมยอมความเกิดจากความพอใจของคูความ ม.138 วรรคสอง


มาตรา 138 วรรคสอง หามมิใหอุทธรณคําพิพากษาเชนวานี้ เวนแตในเหตุตอไปนี้
(1) เมื่อมีขอกลาวอางวาคูความฝายใดฝายหนึ่งฉอฉล
(2) เมื่อคําพิพากษานั้นถูกกลาวอางวาเปนการละเมิดตอบทบัญญัติแหงกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของ
ประชาชน
(3) เมื่อคําพิพากษานั้นถูกกลาวอางวามิไดเปนไปตามขอตกลงหรือการประนีประนอมยอมความ
4.2 ผลของคําพิพากษาหรือคําสั่ง
ก. ศาลจะพิพากษาหรือคําสั่งนอกจากที่ปรากฎในคําฟองไมได
„ ศาลจะพิพากษาหรือคําสั่งนอกจากที่ปรากฎในคําฟองไมได (ม.172 วรรคสอง)
มาตรา 172 วรรคสอง คําฟองตองแสดงโดยแจงชัดซึ่งสภาพแหงขอหาของโจทกและคําขอบังคับทั้งขออางที่อาศัยเปนหลักแหงขอหา
เชนวานั้น
„ ยกเวน ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 142
มาตรา 142 คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลที่ชี้ขาดคดีตองตัดสินตามขอหาในคําฟองทุกขอ แตหามมิใหพิพากษาหรือทําคําสั่งใหสิ่ง
ใด ๆ เกินไปกวาหรือนอกจากที่ปรากฎในคําฟอง เวนแต
(1) ในคดีฟองเรียกอสังหาริมทรัพย ใหพึงเขาใจวาเปนประเภทเดียวกับฟองขอใหขับไลจําเลย ถาศาลพิพากษาใหโจทกชนะ
คดี เมื่อศาลเห็นสมควรศาลจะมีคําสั่งใหขับไลจําเลยก็ได คําสั่งเชนวานี้ใหใชบังคับตลอดถึงวงศญาติทั้งหลายและบริวารของจําเลยที่
อยูบนอสังหาริมทรัพยนั้น ซึ่งไมสามารถแสดงอํานาจพิเศษใหศาลเห็นได
(2) ในคดีที่โจทกฟองเรียกทรัพยใด ๆ เปนของตนทั้งหมดแตพิจารณาไดความวาโจทกควรไดแตสวนแบง เมื่อศาล
เห็นสมควรศาลจะพิพากษาใหโจทกไดรับแตสวนแบงนั้นก็ได
(3) ในคดีที่โจทกฟองขอใหชําระเงินพรอมดวยดอกเบี้ยจนถึงวันฟองเมื่อศาลเห็นสมควร ศาลจะพิพากษาใหจําเลยชําระ
ดอกเบี้ยจนถึงวันที่ไดชําระเสร็จตามคําพิพากษาก็ได
(4) ในคดีที่โจทกฟองเรียกคาเชาหรือคาเสียหายอันตอเนื่องคํานวณถึงวันฟอง เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลจะพิพากษาใหชําระ
คาเชาและคาเสียหายเชนวานี้จนถึงวันที่ไดชําระเสร็จตามคําพิพากษาก็ได
(5) ในคดีที่อาจยกขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชนขึ้นอางไดนั้น เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลจะยกขอ
เหลานั้นขึ้นวินิจฉัยแลวพิพากษาคดีไปก็ได
(6) ในคดีที่โจทกฟองขอใหชําระเงินพรอมดวยดอกเบี้ยซึ่งมิไดมีขอตกลงกําหนดอัตราดอกเบี้ยกันไว เมื่อศาลเห็นสมควรโดย
คํานึงถึงเหตุสมควรและความสุจริตในการสูความหรือการดําเนินคดี ศาลจะพิพากษาใหจําเลยชําระดอกเบี้ยในอัตราที่สูงขึ้นกวาที่
โจทกมีสิทธิไดรับตามกฎหมายแตไมเกินรอยละสิบหาตอปนับตั้งแตวันฟองหรือวันอื่นหลังจากนั้นก็ได
ข. คําพิพากษาของศาลจะผูกพันเฉพาะคูความในกระบวนพิจารณาคดีเทานัน้ (ม.145 วรรคหนึ่ง)
มาตรา 145 ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยการอุทธรณฎีกา และการพิจารณาใหม คําพิพากษาหรือคําสั่งใด
ๆ ใหถือวาผูกพันคูความในกระบวนพิจารณาของศาลที่พิพากษาหรือมีคําสั่ง นับตั้งแตวันที่ไดพิพากษาหรือมีคําสั่งจนถึงวันที่คํา
พิพากษาหรือคําสั่งนั้นไดถูกเปลี่ยนแปลง แกไข กลับหรืองดเสีย ถาหากมี
„ ยกเวน กรณีดังตอไปนี้
1. กรณีตาม ม.142 (1) ม.245 และ ม.274
2. คําพิพากษาเกี่ยวดวยฐานะหรือความสามารถของบุคคล การเลิกนิติบุคคล หรือเรื่องลมละลาย
3. คําพิพากษาเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์แหงทรัพยสินใดๆ เปนคุณแกคค
ู วามฝายใดฝายหนึ่งอาจใชยันแก
บุคคลภายนอกได เวนแตบคุ คลภายนอกนั้นจะพิสูจนไดวาตนมีสิทธิดีกวา
ค. หามมิใหดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ํา (ม.144)

10
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 144 เมื่อศาลใดมีคําพิพากษา หรือคําสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือในประเด็นขอใดแหงคดีแลว หามมิใหดําเนินกระบวนพิจารณา


ในศาลนั้นอันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ไดวินิจฉัยชี้ขาดแลวนั้น เวนแตกรณีจะอยูภายใตบังคับบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วา
ดวย
(1) การแกไขขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอยอื่น ๆ ตามมาตรา 143
(2) การพิจารณาใหมแหงคดีซึ่งไดพิจารณาและชี้ขาดตัดสินไปฝายเดียวตามมาตรา 209 และคดีที่เอกสารไดสูญหายหรือ
บุบสลายตามมาตรา 53
(3) การยื่น การยอมรับ หรือไมยอมรับ ซึ่งอุทธรณหรือฎีกาตามมาตรา 229 และ 247 และการดําเนินวิธีบังคับชั่วคราวใน
ระหวางการยื่นอุทธรณหรือฎีกาตามมาตรา 254 วรรคสุดทาย
(4) การที่ศาลฎีกาหรือศาลอุทธรณสงคดีคืนไปยังศาลลางที่ไดพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีนั้น เพือ่ ใหพิพากษาใหมหรือ
พิจารณาและพิพากษาใหมตามมาตรา 243
(5) การบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่งตามมาตรา 302
ทั้งนี้ไมเปนการตัดสิทธิในอันที่จะบังคับตามบทบัญญัติแหงมาตรา 16 และ 240 วาดวยการดําเนินกระบวนพิจารณาโดย
ศาลอื่นแตงตั้ง
„ หลักเกณฑ
1.
หามคูความทัง้ สองฝายดําเนินกระบวนพิจารณาซ้าํ
2. ศาลตองมีคาํ สั่งวินิจฉัยชี้ขาดแลว
3. คําสั่งวินิจฉัยในเรื่องแรกกับเรื่องหลังตองเปนประเด็นเดียวกัน
ง. หามคูความเดียวกันรือรองฟองคดีในประเด็นที่ไดวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกัน หรือ การฟองซ้ํา (ม.
148)
มาตรา 148 คดีที่ไดมีคําพิพากษาหรือคําสั่งถึงที่สุดแลวหามมิใหคูความเดียวกันรื้อรองฟองกันอีก ในประเด็นที่ไดวินิจฉัยโดยอาศัย
เหตุอยางเดียวกันเวนแตในกรณีตอไปนี้
(1) เมื่อเปนกระบวนพิจารณาชั้นบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาล
(2) เมื่อคําพิพากษาหรือคําสั่งไดกําหนดวิธีการชั่วคราวใหอยูภายในบังคับที่จะแกไขเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกเสียไดตาม
พฤติการณ
(3) เมื่อคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นใหยกฟองเสียโดยไมตัดสิทธิโจทกที่จะนําคําฟองมายื่นใหม ในศาลเดียวกันหรือในศาลอื่น
ภายใตบังคับแหงบทบัญญัติของกฎหมายวาดวยอายุความ
„ คูความเดียวกัน หมายความวา อาจสลับกันไดโดยโจทยเปนจําเลย จําเลยเปนโจทย รวมถึง บุคคลที่อยูใ นฐานะ
เชนเดียวกับคูค วามเดิม เชน เปนทายาทดวยกัน
„ คําสั่งหรือคําพิพากษาถึงทีส่ ุดหรือไม ตองเปนไปตาม ป.วิ.พ.มาตรา 147 วรรคหนึ่ง
มาตรา 147 คําพิพากษาหรือคําสั่งใด ซึ่งตามกฎหมายจะอุทธรณหรือฎีกาหรือมีคําขอใหพิจารณาใหมไมไดนั้น ใหถือวาเปนที่สุด
ตั้งแตวันที่ไดอานเปนตนไป
คําพิพากษาหรือคําสั่งใด ซึ่งอาจอุทธรณ ฎีกา หรือมีคําขอใหพิจารณาใหมไดนั้น ถามิไดอุทธรณ ฎีกาหรือรองขอใหพิจารณา
ใหมภายในเวลาที่กําหนดไวใหถือวาเปนที่สุดตั้งแตระยะเวลาเชนวานั้นไดสนิ้ สุดลง ถาไมมีอุทธรณ ฎีกา หรือมีคําขอใหพิจารณาใหม
และศาลอุทธรณหรือศาลฎีกาหรือศาลชั้นตนซึ่งพิจารณาคดีเรื่องนั้นใหมมีคําสั่งใหจําหนายคดีเสียจากสารบบความตามที่บัญญัติไวใน
มาตรา 132 คําพิพากษาหรือคําสั่งเชนวานั้นใหถือวาเปนที่สุดตั้งแตวันที่มีคําสั่งใหจําหนายคดีจากสารบบความ
„ การฟองซอน (ม.173 วรรคสอง)
มาตรา 173 วรรคสอง นับแตเวลาที่ไดยื่นคําฟองแลว คดีนั้นอยูในระหวางพิจารณาและผลแหงการนี้
(1) หามไมใหโจทกยื่นคําฟองเรื่องเดียวกันนั้นตอศาลเดียวกันหรือตอศาลอื่น…
4.3 การอุทธรณฎีกาคําพิพากษาหรือคําสั่ง
ก. หลักเกณฑเกี่ยวกับการอุทธรณ

11
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ ตองอุทธรณภายในหนึ่งเดือน (ม.229)
„ ผูยื่นอุทธรณจงึ อยูในฐานะโจทยอุทธรณ และผูถูกอุทธรณจึงเปนจําเลยอุทธรณ แมผูเปนโจทยเมื่อเริ่มตนคดี อาจ
เปนจําเลยอุทธรณได
ข. ศาลใดเปนศาลที่มีหนาที่ตรวจรับอุทธรณ
„ การอุทธรณใหทาํ เปนหนังสือยื่นตอศาลชั้นตน (ม.229)
„ เมื่อศาลไดรับอุทธรณ ใหศาลชั้นตนตรวจอุทธรณ และสั่งใหสงหรือไมสงอุทธรณไปยังศาลอุทธรณ (ม.232)
„ ถาคูความอุทธรณในขอเท็จจริง ใหศาลชั้นตนตรวจวาฟองอุทธรณนั้นจะรับไวพิจารณาหรือไม (ม.230)
„ ศาลชั้นตนมีหนาที่ตรวจฎีกาดวย (ม.247)
ค. การอุทธรณขอ เท็จจริง (ม.224)
มาตรา 224 วรรคหนึ่ง ในคดีที่ราคาทรัพยสินหรือจํานวนทุนทรัพยที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณไมเกินหาหมื่นบาทหรือไมเกินจํานวนที่
กําหนดในพระราชกฤษฎีกา หามมิใหคูความอุทธรณในขอเท็จจริง เวนแตผูพิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีนั้นในศาลชั้นตนไดทําความเห็น
แยงไวหรือไดรับรองวามีเหตุอันควรอุทธรณได หรือถาไมมีความเห็นแยงหรือคํารับรองเชนวานี้ตองไดรับอนุญาตใหอุทธรณเปน
หนังสือจากอธิบดีผูพิพากษาชั้นตนหรืออธิบดีผูพิพากษาภาคผูมีอํานาจ แลวแตกรณี
ง. การอุทธรณคําสั่งระหวางพิจารณา (ม.226, 227, 228)
มาตรา 226 กอนศาลชั้นตนไดมีคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดตัดสินคดีถาศาลนั้นไดมีคําสั่งอยางใดอยางหนึ่งนอกจากที่ระบุไวใน
มาตรา 227 และ 228
(1) หามมิใหอุทธรณคําสั่งนั้นในระหวางพิจารณา
(2) ถาคูความฝายใดโตแยงคําสั่งใด ใหศาลจดขอโตแยงนั้นลงไวในรายงาน คูความที่โตแยงชอบที่จะอุทธรณคําสั่งนั้นได
ภายในกําหนดหนึ่งเดือนนับแตวันที่ศาลไดมีคําพิพากษา หรือคําสั่งชี้ขาดตัดสินคดีนั้นเปนตนไป
(2)เพือ่ ประโยชนแหงมาตรานี้ ไมวาศาลจะไดมีคําสั่งใหรับคําฟองไวแลวหรือไม ใหถือวาคําสั่งอยางใดอยางหนึ่งของศาล
นับตั้งแตมีการยื่นคําฟองตอศาลนอกจากที่ระบุไวในมาตรา 227 และ 228 เปนคําสั่งระหวางพิจารณา
มาตรา 227 คําสั่งของศาลชั้นตนที่ไมรับหรือใหคืนคําคูความตามมาตรา 18 หรือคําสั่งวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องตนตามมาตรา 24 ซึ่งทํา
ใหคดีเสร็จไปทั้งเรื่องนั้นมิใหถือวาเปนคําสั่งในระหวางพิจารณา และใหอยูภายในขอบังคับของการอุทธรณคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาด
ตัดสินคดี
มาตรา 228 กอนศาลชี้ขาดตัดสินคดี ถาศาลมีคําสั่งอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้ คือ
(1) ใหกักขัง หรือปรับไหม หรือจําขัง ผูใด ตามประมวลกฎหมายนี้
(2) มีคําสั่งอันเกี่ยวดวยคําขอเพื่อคุมครองประโยชนของคูความในระหวางการพิจารณา หรือมีคําสั่งอันเกี่ยวดวยคําขอเพื่อ
จะบังคับคดีตามคําพิพากษาตอไป หรือ
(3) ไมรับหรือคืนคําคูความตามมาตรา 18 หรือวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องตนตามมาตรา 24 ซึ่งมิไดทําใหคดีเสร็จไปทั้งเรื่องหาก
เสร็จไปเฉพาะแตประเด็นบางขอ
คําสั่งเชนวานี้ คูความยอมอุทธรณไดภายในกําหนดหนึ่งเดือน นับแตวันมีคําสั่งเปนตนไป
แมถึงวาจะมีอุทธรณในระหวางพิจารณา ใหศาลดําเนินคดีตอไป และมีคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดตัดสินคดีนั้น แตถาใน
ระหวางพิจารณา คูความอุทธรณคําสั่งชนิดที่ระบุไวในอนุมาตรา (3) ถาศาลอุทธรณเห็นวา การกลับหรือแกไขคําสั่งที่คูความอุทธรณ
นั้น จะเปนการวินิจฉัยชี้ขาดคดี หรือวินิจฉัยชี้ขาดประเด็นขอใดที่ศาลลางมิไดวินิจฉัยไว ใหศาลอุทธรณมีอํานาจทําคําสั่งใหศาลลางงด
การพิจารณาไวในระหวางอุทธรณ หรืองดการวินิจฉัยคดีไวจนกวาศาลอุทธรณจะไดวินิจฉัยชี้ขาดอุทธรณนั้น
ถาคูความมิไดอุทธรณคําสั่งในระหวางพิจารณาตามที่บัญญัติไวในมาตรานี้ก็ใหอุทธรณไดในเมื่อศาลพิพากษาคดีแลวตาม
ความในมาตรา 223
จ. หลักเกณฑเกี่ยวกับการฎีกา (ม.247)

12
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 247 ในกรณีที่ศาลอุทธรณไดพิพากษาหรือมีคําสั่งในชั้นอุทธรณแลวนั้น ใหยื่นฎีกาไดภายในกําหนดหนึ่งเดือนนับแตวันที่ได


อานคําพิพากษาหรือคําสั่งศาลอุทธรณนั้น และภายใตบังคับบทบัญญัติสี่มาตราตอไปนี้กับกฎหมายอื่นวาดวยการฎีกา ใหนํา
บทบัญญัติในลักษณะ 1 วาดวยอุทธรณมาใชบังคับดวยโดยอนุโลม
„ การกําหนดทุนทรัพย (ม.248 วรรคหนึ่ง)
มาตรา 248 วรรคหนึ่ง ในคดีที่ราคาทรัพยสินหรือจํานวนทุนทรัพยที่พิพาทกันในชั้นฎีกาไมเกินสองแสนบาทหรือไมเกินจํานวนที่
กําหนดในพระราชกฤษฎีกา หามมิใหคูความฎีกาในขอเท็จจริง เวนแตผูพิพากษาที่ไดนั่งพิจารณาคดีนั้นในศาลอุทธรณไดมีความเห็น
แยงหรือผูพิพากษาที่ไดนั่งพิจารณาคดีในศาลชั้นตนก็ดีศาลอุทธรณก็ดีไดรับรองไวหรือรับรองในเวลาตรวจฎีกาวามีเหตุสมควรที่จะ
ฎีกาได ถาไมมีความเห็นแยงหรือคํารับรองเชนวานี้ ตองไดรับอนุญาตใหฎีกาเปนหนังสือจากอธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณ
„ กรณีคดีฟอ งขับไลบุคคลออกจากอสังหาริมทรัพย (ม.248 วรรคสอง)
มาตรา 248 วรรคสอง บทบัญญัติในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับในคดีเกี่ยวดวยสิทธิแหงสภาพบุคคลหรือสิทธิในครอบครัว และคดีฟอง
ขอใหปลดเปลื้องทุกขอันไมอาจคํานวณเปนราคาเงินได เวนแตในคดีฟองขับไลบุคคลใด ๆ ออกจากอสังหาริมทรัพยอันมีคาเชาหรือ
อาจใหเชาได ในขณะยื่นคําฟองไมเกินเดือนละหนึ่งหมื่นบาทหรือไมเกินจํานวนที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา
„ หลักเกณฑการใหการฎีกามาสูศาลฎีกา
มาตรา 249 วรรคหนึ่ง ขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายที่จะยกขึ้นอางการยื่นฎีกานั้น คูความจะตองกลาวไวโดยชัดแจงในฎีกา และตอง
เปนขอที่ไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบในศาลชั้นตนและศาลอุทธรณ ทั้งจะเปนสาระแกคดีอันควรไดรับการวินิจฉัยดวย…

5. การบังคับคดี
„ เจาหนี้ตามคําพิพากษามีสิทธิที่จะบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่งไดภายใน 10 ป นับแตวันที่คาํ พิพากษาหรือ
คําสั่งถึงที่สุด
„ กรณีที่มีการยึดทรัพยของลูกหนี้ตามคําพิพากษาแลว หามเจาหนีต้ ามคําพิพากษาอื่นยึดทรัพยนั้นซ้ําอีก แตให
เจาหนี้ตามคําพิพากษานั้น รองเฉลี่ยในทรัพยสินหรือเงินที่ขาย หรือจําหนายทรัพยสินนั้น
„ เมื่อเจาหนี้ตามคําพิพากษาไดนํายึดทรัพยรายใดรายหนึ่งของลูกหนี้ ปรากฎวาทรัพยที่ยึดนั้นไมใชของลูกหนีต้ าม
คําพิพากษา แตเปนของบุคคลอื่น บุคคลอื่นอาจยื่นคํารองขอตอศาลที่ออกหมายบังคับคดีใหปลอยทรัพยสินนั้น โดย
จะตองยื่นคํารองกอนมีการขายทอดตลาดหรือจําหนายทรัพยนั้นดวยวิธีอื่น
„ ถาบุคคลภายนอกมีสิทธิเหนือทรัพยสิน ที่เจาหนี้ตามคําพิพากษายึดมา บุคคลนัน ้ มีสิทธิยื่นคํารองขอกันสวนของ
ตน กอนที่เจาพนักงานบังคับคดีจะนําเงินที่ไดจากการขายทรัพยสินนัน้ ชําระหนี้แกเจาหนี้ตามคําพิพากษา
5.1 กําหนดเวลาในการบังคับคดี
ก. ขั้นตอนการบังคับคดี
1. เมื่อศาลมีคําพิพากษาและมีการบังคับ
2. ศาลจะออกคําบังคับแกลูกหนี้ตามคําพิพากษา หรือ
3. คําสั่งในวันทีอ
่ านคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้น
„ คําบังคับตางกับหมายบังคับคดี การออกคําบังคับเปหนาที่ของศาลชั้นตน
ข. ระยะเวลาในการบังคับคดี (ม.271)
มาตรา 271 ถาคูความหรือบุคคลซึ่งเปนฝายแพคดี (ลูกหนี้ตามคําพิพากษา) มิไดปฏิบัติตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลทั้งหมด
หรือบางสวน คูความหรือบุคคลซึ่งเปนฝายชนะ(เจาหนี้ตามคําพิพากษา) ชอบที่จะรองขอใหบังคับคดีตามคําพิพากษา หรือคําสั่งนั้น
ไดภายในสิบปนับแตวันมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง โดยอาศัยและตามคําบังคับที่ออกตามคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้น
5.2 ปญหาคาบเกี่ยวจากการบังคับคดี
ก. รองขอเฉลี่ยทรัพย (ม.290)
13
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 290 เมื่อเจาพนักงานบังคับคดีไดยึดหรืออายัดทรัพยสินอยางใดของลูกหนี้ตามคําพิพากษาไวแทนเจาหนี้ตามคําพิพากษา


แลว หามไมใหเจาหนี้ตามคําพิพากษาอื่นยึดหรืออายัดทรัพยสินนั้นซ้ําอีก แตใหเจาหนี้ตามคําพิพากษาเชนวานี้มีอํานาจยื่นคําขอโดย
ทําเปนคํารองตอศาลที่ออกหมายบังคับใหยึดหรืออายัดทรัพยสินนั้น เพื่อใหศาลมีคําสั่งใหตนเขาเฉลี่ยในทรัพยสินหรือเงินที่ขายหรือ
จําหนายทรัพยสินนั้นไดตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ไมวาในกรณีใด ๆ หามมิใหศาลอนุญาตตามคําขอเชนวามานี้ เวนแตศาลเห็นวาผูยื่นคําขอไมสามารถเอาชําระไดจาก
ทรัพยสินอื่น ๆ ของลูกหนี้ตามคําพิพากษา
ข. รองขัดทรัพย (ม.288 วรรคหนึ่ง)
มาตรา 288 ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงมาตรา 55 ถาบุคคลใดกลาวอางวาจําเลยหรือลูกหนี้ตามคําพิพากษาไมใชเจาของทรัพยสิน
ที่เจาพนักงานบังคับคดีไดยึดไว กอนที่ไดเอาทรัพยสินเชนวานีอ้ อกขายทอดตลาดหรือจําหนายโดยวิธีอื่นบุคคลนั้นอาจยื่นคํารองขอตอ
ศาลที่ออกหมายบังคับคดีใหปลอยทรัพยสินเชนวานั้น ในกรณีเชนนี้ ใหผูกลาวอางนั้นนําสงสําเนาคํารองขอแกโจทกหรือเจาหนี้ตาม
คําพิพากษาและจําเลยหรือลูกหนี้ตามคําพิพากษาและเจาพนักงานบังคับคดีโดยลําดับ เมื่อเจาพนักงานบังคับคดีไดรับคํารองขอเชน
วานี้ใหงดการขายทอดตลาด หรือจําหนายทรัพยสินที่พิพาทนั้นไวในระหวางรอคําวินิจฉัยชี้ขาดของศาล ดังที่บัญญัติไวตอไปนี้
ค. รองขอกันสวน (ม.287)
มาตรา 287 ภายใตบังคับแหงบทบัญญัติมาตรา 288 และ 289 บทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยการบังคับคดีแกทรัพยสิน
ของลูกหนี้ตามคําพิพากษานั้น ยอมไมกระทบกระทั่งถึงบุริมสิทธิหรือสิทธิอื่น ๆ ซึ่งบุคคลภายนอกอาจรองขอใหบังคับเหนือทรัพยสิน
นั้นไดตามกฎหมาย

14
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

2. พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
„ กอนป 2540 ศาลยุติธรรมสังกัดอยูกับกระทรวงยุติธรรม ตอมามีการแยกศาลยุติธรรมออกจากกระทรวงยุติธรรม
โดยมีหนวยงานธุรการเปนอิสระ ไมสังกัดสวนราชการใด
„ ศาลยุติธรรมแบงออกเปนสามชั้นคือ ศาลชั้นตน ศาลอุทธรณ และศาลฎีกา
„ ตําแหนงหนาที่ของผูพิพากษา แบงออกเปน ผูพิพากษาธรรมดา กับผูพิพากษาหัวหนาผูร ับผิดชอบ มีหนาที่
แตกตางกัน
„ เขตศาลและอํานาจศาลมีความหมายแตกตางกัน
„ องคคณะผูพิพากษา หมายถึง จํานวนผูพิพากษาในการพิจารณาหรือพิพากษาคดี
„ การทําการแทนในการนั่งพิจารณาคดี และการตรวจสํานวนคดีทท ี่ าํ คําพิพากษาจะทําไดเมื่อมีเหตุสุดวิสัย หรือเหตุ
จําเปนอื่นอันมิอาจกาวลวงได ทําใหผูพิพากษาซึ่งเปนองคคณะในการพิจารณาคดีนั้น ไมอาจจะนั่งพิจารณาคดีหรือไม
อาจจะทําคําพิพากษาในคดีนั้นตอไปได
„ การจายสํานวน การเรียกคืนสํานวน การโอนสํานวน และคืนสํานวนคดี ตองเปนไปตามหลักเกณฑที่กฎหมาย
กําหนดเพื่อเฉลี่ยงานพิจารณาคดีแกผูพพิ ากษาในศาลไดอยางเหมาะสม และปองกันอิทธิพลใดๆ ทีจ่ ะเขาครอบงํา
การพิจารณาพิพากษาคดี

1. ศาลยุติธรรม
„ ศาลยุติธรรมแบงงานเปน 2 สวนคือ งานตุลาการและงานธุรการ
„ การจัดตั้งศาลจะตองตราเปนพระราชบัญญัติ
„ การแบงลําดับชั้นของศาลก็เพื่อใหการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลไดรับการกลั่นกรองอยางรอบคอบ
1.1 ประวัติและการบริหารงานศาลยุตธ
ิ รรม
ก. การแยกศาลยุติธรรมออกจากกระทรวงยุตธิ รรม
„ คณะรัฐมนตรีมีมติวันที่ 10 ตุลาคม 2540 มาตรา 275 ใหศาลยุติธรรมมีหนวยธุรการเปนอิสระ ทั้งในงาน
บุคคลและงบประมาณ
„ ไดมีการตราเปนพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ.2543
ข. การบริหารงานศาลยุตธิ รรม
„ งานแบงออกเปนสองสวนคือ
1. งานตุลาการ – งานพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง การทําคําสั่งหรือไตสวนคํารองคําขอตางๆ ในคดี
การไตสวนมูลฟองในคดีอาญา รวมตลอดถึงการบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่งศาล ซึ่งเปน
อํานาจหนาทีผ่ ูพิพากษาโดยเฉพาะ
2. งานธุรการ – งานบริหารทัว่ ไปของศาลยุติธรรม ซึ่งมีขา ราชการศาลยุติธรรมเปนผูดําเนินการ เชน
งานคลัง งานพัสดุ งานสงเสริมงานตุลาการ การโยกยาย การลงโทษทางวินยั
„ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.) ประกอบดวย ประธานศาลฎีกาเปนประธาน กรรมการแตละชั้นศาล
ไดแก ศาลฎีกา 4 คน ศาลอุทธรณและศาลอุทธรณภาค 4 คน และศาลชั้นตน 4 คน เลขาธิการสํานักงานศาล
ยุติธรรมเปนเลขานุการ และรองเลขาธิการเปนผูชวยเลขานุการ
„ ประธานศาลฎีกา เปนตําแหนงสูงสุดของขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมและเปนประมุขของฝายตุลาการ

15
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

1.2 พ.ร.บ.ใหใชพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
„ คดีที่เกิดขึ้นนับแตวันที่ 19 พฤษภาคม 2543 เปนตนไป จะตองใชพระธรรมนูญศาลยุติธรรมในปจจุบันบังคับ
ไดแก พระธรรมนูญศาลยุตธิ รรม ทาย พ.ร.บ.ใหใชพระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ.2543
1.3 การจัดตั้งศาลยุติธรรมและการแบงลําดับชัน ้ ของศาล
ก. การจัดตัง้ ศาลยุตธิ รรม
หลักเกณฑ
1. เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมเสนอจัดตั้ง ยุบ
เลิก หรือเปลี่ยนแปลงเขตตอคณะรัฐมนตรี
2. ตองคํานึงถึงจํานวนสภาพ สถานที่ตั้ง และเขตอํานาจศาล
3. เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นชอบก็จะดําเนินการเสนอรางพระราชบัญญัติจดั ตั้ง หรือยุบศาล
ข. การแบงลําดับชัน้ ศาล
1. ศาลชั้นตน ไดแก
a. ศาลแพง
b. ศาลแพงกรุงเทพใต
c. ศาลแพงธนบุรี
d. ศาลอาญา
e. ศาลอาญากรุงเทพใต
f. ศาลอาญาธนบุรี
g. ศาลจังหวัด
h. ศาลแขวง
i. ศาลยุติธรรมอื่น
i. ศาลเยาวชนและครอบครัว
ii. ศาลแรงงาน
iii. ศาลภาษีอากร
iv. ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
v. ศาลลมละลาย
2. ศาลอุทธรณ ไดแก
a. ศาลอุทธรณ
b. ศาลอุทธรณภาค
i. ศาลอุทธรณ ภาค 1 – 9 อยูที่กรุงเทพฯ
ii. ศาลอุทธรณภาค 2 จังหวัดระยอง
iii. ศาลอุทธรณภาค 5 จังหวัดเชียงใหม
3. ศาลฎีกา

2. ตําแหนงหนาที่ผูพิพากษา

16
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ ตําแหนงหนาที่ของผูพิพากษาแบงออกเปนสองประเภท คือ ผูพิพากษาธรรมดากับผูพิพากษาหัวหนาผูร ับผิดชอบ


ผูพิพากษาหัวหนาผูร ับผิดชอบ มีอํานาจมากกวาผูพิพากษาธรรมดา
„ การทําการแทนของผูพิพากษาหัวหนาผูร ับผิดชอบมีสองกรณีคือ เปนไปโดยผลของกฎหมาย หรือตามคําสัง่ ของ
ผูบังคับบัญชา
2.1 ผูพิพากษาธรรมดา
แบงไดเปน 3 ประเภทคือ
1. ผูพิพากษาที่เปนขาราชการประจํา
2. ดะโตะยุติธรรม
3. ผูพิพากษาสมทบ
ก. ผูพิพากษาที่เปนขาราชการประจํา ไดแก
1. ผูชวยผูพิพากษา – ผูผานการสอบคัดเลือก เพื่อบรรจุเปนขาราชการตุลาการในตําแหนงผูชวยพิพากษา
2. ผูพิพากษาประจําศาล – ไดรับการอบรมและผานการประเมินจาก ก.บ.ศ.
3. ผูพิพากษาศาลชั้นตน – เปนผูพิพากษาประจําศาลมาไมนอยกวาสามป และผาน ก.ต. เห็นชอบ
4. ผูพิพากษาศาลอุทธรณ ผูพพ ิ ากษาศาลอุทธรณภาค
5. ผูพิพากษาศาลฎีกา
6. ผูพิพากษาอาวุโส – ไดแกผพ ู ิพากษาซึ่งมีอายุครบ 60 ปบริบูรณ และไดรับการแตงตั้งใหเปนผูพิพากษา
อาวุโสไปไดจนอายุ 70 ปบริบูรณ
ข. ดะโตะยุตธิ รรม ไดแก ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม ทีม่ ีอํานาจชี้ขาดขอกฎหมายอิสลามในศาลชั้นตนในสี่
จังหวัดภาคใต ไดแก ปตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล
ค. ผูพิพากษาสมทบ ไดแก บุคคลที่ไมไดเปนขาราชการฝายตุลาการรวมเปนองคคณะผูพิพากษาในศาลไดแก ศาล
เยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน และศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
2.2 ผูพิพากษาหัวหนาผูรบ ั ผิดชอบ
ก. ตําแหนงผูพ ิพากษาหัวหนาผูรับผิดชอบ ไดแก
1. ประธานศาลฎีกา ประจําศาลฎีกา
2. ประธานศาลอุทธรณ
3. ประธานศาลอุทธรณภาค
4. อธิบดีผูพิพากษาศาลชั้นตน
5. อธิบดีผูพิพากษาศาลยุติธรรมอื่น
6. ผูพิพากษาหัวหนาศาลจังหวัด
7. ผูพิพากษาหัวหนาศาลแขวง
8. ผูพิพากษาหัวหนาแผนก
9. อธิบดีผูพิพากษาภาค
ข. ตําแหนงรองผูพิพากษาหัวหนาผูรับผิดชอบ ไดแก
1. รองประธานศาลฎีกา
2. รองประธานศาลอุทธรณ
3. รองประธานศาลอุทธรณภาค

17
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

4. รองอธิบดีผูพพิ ากษาศาลชัน้ ตน


5. รองอธิบดีผูพพ ิ ากษาศาลอืน่ ที่ พ.ร.บ.จัดตั้งศาลนั้นกําหนดใหเปนศาลชั้นตน
ค. อํานาจหนาที่ของผูพิพากษาหัวหนาผูร ับผิดชอบ
ง. อํานาจหนาที่ของอธิบดีผูพิพากษาภาค
จ. อํานาจหนาที่ของผูพิพากษาหัวหนาแผนกหรือผูพิพากษาหัวหนาหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอืน่
ฉ. อํานาจหนาที่ของตําแหนงรองผูพิพากษาหัวหนาผูร ับผิดชอบ
2.3 การทําการแทนผูพิพากษาหัวหนาผูรับผิดชอบ
ก. การทําการแทนประธานศาลฎีกา ประธานศาลอุทธรณ ประธานศาลอุทธรณภาค หรืออธิบดีผูพิพากษาศาล
ชั้นตน
ข. การทําการแทนผูพิพากษาหัวหนาศาลจังหวัด หรือผูพิพากษาหัวหนาศาลแขวง
ค. การทําการแทนผูพิพากษาหัวหนาแผนกหรือผูพิพากษาหัวหนาหนวยงานที่เรียกชื่อยางอื่น
ง. การทําการแทนอธิบดีผพู ิพากษาภาค

3. อํานาจพิจารณาพิพากษา
„ กฎหมายกําหนดใหศาลตองพิจารณาพิพากษาคดีเฉพาะที่อยูในเขตศาลของตนเทานั้น และอํานาจในการพิจารณา
พิพากษาคดีกจ็ ะตองอยูภ ายในขอบเขตทีก่ ําหนดไว
„ ศาลชั้นตนมีเขตอํานาจในการพิจารณาพิพากษาคดีแตกตางกัน
„ ศาลอุทธรณและศาลอุทธรณภาคมีเขตอํานาจแยกตางหากจากกัน สวนศาลฎีกามีเขตอํานาจพิจารณาพิพากษา
คดีแพงและคดีอาญาทั้งปวงทั่วราชอาณาจักร
3.1 ความหมายของเขตศาลและอํานาจศาล
„ เขตศาล หมายถึง พื้นที่ทางภูมิศาสตรซึ่งกําหนดอาณาเขตของศาลนัน ้ ไวตามพระราชบัญญัตจิ ัดตั้งศาลนั้นๆ
อํานาจศาล หมายถึง สิทธิหรือความสามารถของศาลในการพิจารณาพิพากษาคดี ซึ่งศาลแตละศาลจะมีอาํ นาจ
พิจารณาพิพากษาคดีประเภทใดนั้นเปนไปตามทีก่ ฎหมายกําหนดใหอํานาจไว
ขอสังเกต
1. เขตศาลทับซอนกันโดยเกิดขึ้นไดเฉพาะศาลตางเภทกัน เชน ศาลเยาวชนและครอบครัวกับศาลจังหวัด
3.2 เขตอํานาจของศาลชัน ้ ตน
ก. เขตอํานาจศาลแขวง
„ เขตศาลแขวง กําหนดโดย พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ.2499 มาตรา 3
„ เขตอํานาจศาลแขวง ตามมาตรา 17 พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มี 7 ประการ
1. ออกหมายเรียก หมายอาญา หรือหมายสัง่ ใหสงคนมาจากหรือไปยังจังหวัดอื่น
2. การออกคําสั่งใดๆ ซึ่งมิใชเปนไปในทางวินิจฉัยชี้ขาดขอพิพาทแหงคดี
3. ไตสวนและวินิจฉัยชี้ขาดคํารองหรือคําขอที่ยื่นตอศาลในคดีทั้งปวง
4. ไตสวนและมีคําสั่งเกี่ยวกับวิธีการเพื่อความปลอดภัย
5. ไตสวนมูลฟองและมีคาํ สั่งในคดีอาญา
6. พิจารณาพิพากษาคดีแพง
7. พิจารณาพิพากษาคดีอาญา

18
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ คดีมท
ี ุนทรัพย หมายถึง คดีที่มคี ําขอใหปลดเปลื้องทุกขอันอาจคํานวณเปนราคาเงินได
หลัก คําพิพากษาใหโจทยไดกรรมสิทธิ์หรือประโยชนที่คดิ คํานวณเปนราคาเงินได
„ คดีไมมที ุนทรัพย หมายถึง คดีที่มีคาํ ขอใหปลดเปลื้องทุกขอันไมอาจคํานวณเปนราคาเงินได
หลัก คําพิพากษาใหตามคําขอของโจทย ไมมีผลใหโจทยไดทรัพยสินมาเปนของโจทย
„ หลักเกณฑคดีแพงทีศ่ าลแขวงมีอํานาจพิจารณาพิพากษา (ม.17 ประกอบ ม.25(4))
1. ตองเปนคดีทม ี่ ีทุนทรัพย
a. ฟองเรียกเอาทรัพยสินมาเปนของตนหรือผลของคําพิพากษาทําใหโจทยไดมาซึ่งทรัพยสิน
b. ฟองขอใหเพิกถอนนิติกรรมการใหหรือเพิกถอนนิติกรรม
c. การฟองขอใหเพิกถอนการฉอฉล
d. ฟองขับไลผูเชาผูอาศัยหรือผูที่เขามาอยูโ ดยละเมิด
2. ทุนทรัพยที่พพิ าทหรือจํานวนเงินที่ฟองตองไมเกินสามแสนบาท
a. ดอกเบี้ย คาเชา หรือคาเสียหายที่คด ิ ถึงวัดฟองตองรวมคิดเปนทุนทรัพยดวย แตดอกเบี้ย คาเชาใน
อนาคตที่ขอมาตั้งแตวันถัดจากวันฟองจะนํามาคํานวณดวยไมได
b. ทุนทรัพยที่เพิม ่ ขึ้นหลังจากฟองมีมูลคาเพิ่มขึ้นเกิน 300,000 บาท ศาลแขวงไมมีอํานาจพิจารณา
พิพากษาคดีนั้น ตองจําหนายออกใหโจทยไปยื่นฟองใหมตอศาลทีม่ ีอํานาจ
c. กรณีฟอ  งแยง ถือทุนทรัพยในคดีเดิมไมได ตองถือทุนทรัพยฟองแยงตางหากจากฟองเดิม
ข. เขตอํานาจศาลจังหวัด
„ เขตศาลจังหวัด เปนไปตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 16 วรรคหนึ่ง
„ อํานาจศาลจังหวัด
1. พิจารณาพิพากษาคดีแพงและคดีอาญาทัง้ ปวง
2. เขตอํานาจของศาลจังหวัดซอนกับเขตอํานาจของศาลแขวง ม.16 วรรคสี่ใหศาลจังหวัดโอนไปยังศาลแขวง
ค. เขตอํานาจศาลชั้นตนในกรุงเทพมหานคร
„ เขตศาลแพงและศาลอาญา ใหเปนไปตามมาตรา 16 วรรคสองและวรรคสาม แบงได 2 กรณี
1. เขตอํานาจหลัก
2. เขตอํานาจพิเศษ
„ อํานาจศาลแพงและศาลอาญา ใหเปนไปตามพระธรรมนูญศาลยุตธิ รรม มาตรา 19 วรรคหนึง่
ง. เขตศาลยุติธรรมอืน่
„ ศาลยุติธรรมอื่นที่พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลนั้นกําหนดใหเปนศาลชั้นตน มี 5 ประเภท ไดแก ศาลเยาวชนและ
ครอบครัว ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ และศาลลมละลาย
3.3 เขตอํานาจของศาลอุทธรณ ศาลอุทธรณภาค และศาลฎีกา
ก. เขตอํานาจของศาลอุทธรณและศาลอุทธรณภาค
„ เขตศาลอุทธรณและศาลอุทธรณภาค เปนไปตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 21
„ อํานาจศาลอุทธรณและศาลอุทธรณภาค
1. พิพากษายืนตาม แกไข กลับ หรือยกคําพิพากษาของศาลชั้นตนทีพ ่ ิพากษาลงโทษประหารชีวิตหรือจําคุก
ตลอดชีวิต
2. วินิจฉัยชีข
้ าดคํารองคําขอทีย่ ื่นตอศาลอุทธรณหรือศาลอุทธรณ

19
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

3. วินิจฉัยชีข้ าดคดีที่ศาลอุทธรณและศาลอุทธรณภาคมีอํานาจวินิจฉัยได
ข. เขตอํานาจศาลฎีกา
„ เขตศาลฎีกา มีศาลเดียว จึงมีเขตอํานาจตลอดราชอาณาจักร
„ อํานาจศาลฎีกา ตามมาตรา 23
1. พิจารณาพิพากษาคดีที่รฐ ั ธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติใหเสนอตอศาลฎีกาไดโดยตรง
2. พิจารณาพิพากษาคดีที่ฎีกาคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลอุทธรณหรือศาลอุทธรณภาค
3. พิจารณาพิพากษาคดีที่อท ุ ธรณคําพิพากษา หรือคําสั่งของศาลชั้นตนตามที่กฎหมายบัญญัติ

4. องคคณะผูพิพากษา
„ การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลนั้น จะตองประกอบดวยองคคณะของผูพิพากษาตามที่กฎหมายกําหนดไว โดย
ถืออัตราโทษหรือจํานวนทุนทรัพยเปนเกณฑ และองคคณะของศาลแตละศาลอาจมีจาํ นวนไมเทากัน
„ ผูพิพากษาคนเดียวของศาลแตละศาลอาจจะมีอํานาจไมเทากัน
„ การนั่งพิจารณาคดีแทน และการตรวจสํานวนลงลายมือชื่อทําคําพิพากษาจะทําไดเมื่อมีเหตุสดุ วิสัยหรือเหตุ
จําเปนอันมิอาจกาวลวงได ทําใหผูพิพากษาซึ่งเปนองคคณะในการพิจารณาพิพากษาคดีนั้น ไมอาจจะนั่งพิจารณาคดี
หรือไมอาจจะทําคําพิพากษาในคดีนั้นตอไปได
„ การจาย การโอน การเรียกคืน และการคืนสํานวนคดีตอ งเปนไปตามหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนด
4.1 ความหมายของ “องคคณะผูพิพากษา”
„ องคคณะผูพิพากษา หมายถึง จํานวนผูพิพากษาอยางนอย ซึ่งกฎหมายบังคับไวในการนั่งพิจารณาหรือพิพากษา
คดี
„ การพิจารณาองคคณะแบงออกเปนสองกรณี
1. องคคณะนั่งพิจารณา ไดแก จํานวนผูพิพากษาที่ออกนั่งพิจารณาคดี
2. องคคณะพิพากษา ไดแก จํานวนผูพิพากษาที่ลงลายมือชื่อในคําพิพากษา
ก. องคคณะของศาลชั้นตน
1. ศาลแขวง – ใหผูพิพากษาคนเดียวมีอํานาจ
2. ศาลชั้นตนที่ไมใชศาลแขวงและศาลยุติธรรมอื่น ไดแก ศาลจังหวัด ศาลแพงกรุงเทพใต ศาลแพงธนบุรี ศาล
อาญา ศาลอาญากรุงเทพใต ศาลอาญาธนบุรี – มีผูพิพากษาอยางนอยสองคน และไมเปนผูพิพากษาประจํา
เกินหนึ่งคน
3. องคคณะในศาลยุติธรรมอืน ่
a. ศาลเยาวชนและครอบครัว – มีผูพิพากษาไมนอยกวาสองคน ผูพิพากษาสมทบสองคน อยางนอย
ตองเปนสตรีหนึ่งคน
b. ศาลแรงงาน – ผูพิพากษาแรงงานหนึ่งคน ผูพิพากษาสมทบฝายนายจางและลูกจางอยางละหนึง่ คน
c. ศาลภาษีอากร – มีผูพิพากษาอยางนอยสองคน
d. ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ – มีผูพิพากษาไมนอยกวาสองคน และผู
พิพากษาสมทบอีกหนึ่งคน
ข. องคคณะของศาลอุทธรณและศาลอุทธรณภาค (ม.27)

20
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ องคคณะของศาลอุทธรณและศาลอุทธรณภาค ตองมีผูพิพากษาอยางนอยสามคน จึงเปนองคคณะที่มีอํานาจ


พิพากษาคดีได
ค. องคคณะของศาลฎีกา
„ องคคณะของศาลฎีกา ตองมีผูพิพากษาอยางนอยสามคน จึงเปนองคคณะที่มีอาํ นาจพิพากษาคดีได
„ ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ตาม พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณา
คดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง พ.ศ.2542 มาตรา 13 ตองมีองคคณะ 9 คน
4.2 อํานาจของผูพิพากษาคนเดียว
„ อํานาจศาลผูพ  ิพากษาคนเดียวมีบัญญัตติ ามมาตรา 24 และ 25 แหงพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
4.3 การนั่งพิจารณาคดีแทนและการตรวจสํานวนลงลายมือชื่อทําคําพิพากษา
„ การนั่งพิจารณาคดีแทนและการตรวจสํานวนลงลายมือชื่อทําคําพิพากษาบัญญัติอยูในพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
มาตรา 28 ถึงมาตรา 31
4.4 การจาย การโอน การเรียกคืนและการคืนสํานวนคดี
ก. การจายสํานวนคดี (ม.32)
„ การจายสํานวนคดี หมายความวา การมอบหมายสํานวนคดีใหองคคณะผูพิพากษารับผิดชอบพิจารณาและ
พิพากษา
„ หลักเกณฑ
1. ผูมีอํานาจจายสํานวนในแตละศาล ไดแก ผูพิพากษาที่เปนหัวหนาผูรับผิดชอบในศาลนั้น
2. การจายสํานวนตองเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดโดยระเบียบราชการฝายตุลาการของศาล
ยุติธรรม
ข. การเรียกคืนหรือการโอนสํานวนคดี (ม.33)
„ ปกติเมื่อจายสํานวนคดีแลว เรียกคืนไมได ยกเวนตองเขาหลักเกณฑตอไปนี้
1. เปนกรณีที่จะกระทบกระเทือนตอความยุติธรรมในการพิจารณาหรือพิพากษาอรรถคดีของศาลนั้น
2. ผูมีอํานาจเรียกคืนสํานวนคดีหรือโอนสํานวนคดี คือ ผูพ  ิพากษาที่เปนหัวหนาผูรับผิดชอบในศาลนั้น
3. ตองมีผูเสนอความเห็น
ค. การขอคืนสํานวนคดี
„ วรรคทายมาตรา 33 กําหนดหลักเกณฑการขอคืนสํานวนคดี
1. ผูขอคืนสํานวนคดีตองเปนผูพิพากษาเจาของสํานวน หรือองคคณะผูพิพากษาเทานั้น
2. เหตุในการขอคืน คือ ผูพิพากษาเจาของสํานวนหรืองคคณะมีคดีคา งอยูเปนจํานวนมาก
3. สํานวนคดีทข ี่ อคืนตองเปนสํานวนคดีที่เจาของนั้นรับผิดชอบอยู
4. ผูมีอํานาจรับคืนสํานวนคดี

21
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

3. คูความและการเสนอคดีตอศาล
„ บุคคลที่มีขอโตแยงเกีย่ วกับสิทธิหรือหนาที่ตามกฎหมายแพง หรือจะตองใชสท
ิ ธิทางศาลชอบทีจ่ ะนําเสนอคดีของ
ตนได
„ บุคคลที่มีผลประโยชนรวมกันในมูลความแหงคดีอาจเปนคูความในคดีเดียวกันได
„ บุคคลภายนอกซึ่งมิใชคูความอาจเขามาเปนคูความไดดวยการรองสอด
„ คูความฝายใดฝายหนึ่งอาจตั้งทนายความใหวาความและดําเนินกระบวนพิจารณาแทนตนก็ได หรือคูความหรือ
ทนายความอาจตั้งแตงใหบคุ คลใดทําการแทนเพื่อทํากิจกรรมตามที่บัญญัติไวในกฎหมายก็ได

1. เงื่อนไขการเสนอคดีตอศาล
„ เมื่อมีขอโตแยงเกิดขึ้นเกี่ยวกับสิทธิหรือหนาที่ของบุคคลใดตามกฎหมายแพง บุคคลนั้นชอบที่จะเสนอคดีของตน
ตอศาลสวนแพงที่มีเขตอํานาจไดโดยทําเปนคําฟอง
„ เมื่อบุคคลใดจะตองใชสิทธิทางศาล บุคคลนั้นชอบที่จะเสนอคดีของตนตอศาลสวนแพงที่มีเขตอํานาจไดโดยทํา
เปนคํารองขอ
1. 1 กรณีมก ี ารโตแยงสิทธิหรือหนาที่
มาตรา 55 เมื่อมีขอโตแยงเกิดขึ้น เกี่ยวกับสิทธิหรือหนาที่ของบุคคลใดตามกฎหมายแพง หรือบุคคลใดจะตองใชสิทธิทางศาล บุคคล
นั้นชอบที่จะเสนอคดีของตนตอศาลสวนแพงที่มีเขตอํานาจได ตามบทบัญญัติแหงกฎหมายแพงและประมวลกฎหมายนี้
ก. ผูที่จะเปนโจทยและจําเลยตองมีฐานะเปนบุคคล
„ บุคคล ไดแก บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ตาม ปพพ.
„ ยกเวนบุคคลบางคน ไมสามารถถูกฟองเปนจําเลยได
1. ผูที่ถูกศาลสั่งพิทักษทรัพย
2. การฟองบุพการี
3. ผูแทนของรัฐบาลตางประเทศ
ข. เมื่อมีขอ โตแยงเกิดขึ้นเกี่ยวกับสิทธิหรือหนาที่ของบุคคลใดตามกฎหมายแพง
„ ขอสังเกต
1. ตองเปนสิทธิหรือหนาที่ตามกฎหมายหรือกฎหมายรับรอง
2. การโตแยงไมจําเปนตองใชกําลัง เพียงกระทําบางประการเพื่อไมใหใชสิทธิไดโดยบริบูรณก็เพียงพอแลว
3. บุคคลที่ถูกโตแยงชอบที่จะเสนอคดีตอศาลได
„ แดงปลูกบานอาศัยอยูในที่ดินมีโฉนดของตน ตอมาเทศบาลเอาปายไปปกไวในที่ดินแปลงดังกลาววาเปนปาชาสาธารณะ ดังนี้ แดง
จะฟองเทศบาลขอใหหามมิใหเกี่ยวของกับที่ดินแปลงดังกลาวไดหรือไม
„ ก เปนเจาของกรรมสิทธิ์ที่ดินมีโฉนด 1 แปลง ระหวางที่ ข นําเจาพนักงานศาลไปทําแผนที่พิพาทในคดีแพงเรื่องหนึ่งไดนําชี้วา
ที่ดินแปลงของ ก ดังกลาวเปนของตน ดังนี้ ก จะฟอง ข ขอใหศาลพิพากษาวาที่ดินแปลงดังกลาวเปนของ ก หาม ข เขามาเกี่ยวของได
หรือไม
1.2 กรณีตอ งใชสิทธิทางศาล
„ การนําคดีมาสูศาลมี 2 กรณีคือ
1. ยื่นฟองตอศาลเปนคดีมีขอพิพาท

22
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

2. ยื่นคํารองตอศาลเปนคดีไมมีขอพิพาทเมื่อจําตองใชสทิ ธิทางศาล
„ ก เปนเพศชายโดยกําเนิด ตอมาไดรับการผาตัดเปลี่ยนอวัยวะเปนเพศหญิง ดังนี้ ก จะยื่นคํารองขอตอศาลขอใหศาลสั่งอนุญาตให
ถือเพศเปนหญิงไดหรือไม

2. คูความ
„ บุคคลผูย ื่นคําฟองหรือถูกฟองตอศาลยอมเปนคูความ และหมายความรวมถึงบุคคลผูมีสิทธิกระทําการแทนบุคคล
นั้นๆ ตามกฎหมาย หรือในฐานะทนายความดวย
„ ผูไรความสามารถหรือทําการแทนจะเสนอขอหาตอศาลหรือดําเนินกระบวนพิจารณาใดๆ ไดตอ เมื่อไดปฏิบัติตาม
บทบัญญัตแิ หงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวา ดวยความสามารถและตามบทบัญญัตแิ หงประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพง
„ บุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปอาจเปนคูความในคดีเดียวกันไดโดยเปนโจทยรวม หรือจําเลยรวม
2.1 ความหมาย
„ "คูความ" หมายความวา บุคคลผูย ื่นคําฟอง หรือถูกฟองตอศาลและเพื่อประโยชนแหงการดําเนินกระบวน
พิจารณาใหรวมถึงบุคคลผูม ีสิทธิกระทําการแทนบุคคลนั้น ๆ ตามกฎหมายหรือในฐานะทนายความ (ม.1(11))
„ สรุปคูความ ไดแก
1. บุคคลผูย ื่นคําฟอง
2. บุคคลผูถูกฟอง
3. บุคคลผูมีสท ิ ธิกระทําการแทนบุคคลนั้น ๆ ตามกฎหมาย
4. ทนายความของบุคคลตาม 1) 2) หรือ 3)
2.2 กรณีผูไรความสามารถเปนคูความในคดี
มาตรา 56 ผูไรความสามารถหรือผูทําการแทนจะเสนอขอหาตอศาลหรือดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ ได ตอเมื่อไดปฏิบัติตาม
บทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยความสามารถและตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ การใหอนุญาตหรือ
ยินยอมตามบทบัญญัติเชนวานั้น ใหทําเปนหนังสือยื่นตอศาลเพื่อรวมไวในสํานวนความ
ไมวาเวลาใด ๆ กอนมีคําพิพากษาเมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายหนึ่งฝายใดยื่นคําขอโดยทําเปนคํารอง ใหศาลมี
อํานาจทําการสอบสวนในเรื่องความสามารถของผูขอหรือของคูความอีกฝายหนึ่ง และถาเปนที่พอใจวามีการบกพรองในเรื่อง
ความสามารถ ศาลอาจมีคําสั่งกําหนดใหแกไขขอบกพรองนั้นเสียใหบริบูรณภายในกําหนดเวลาอันสมควรที่ศาลจะสั่ง
ถาศาลเห็นวา เพื่อความยุติธรรมไมควรใหกระบวนพิจารณาดําเนินเนิ่นชาไป ศาลจะสั่งใหคูความฝายที่บกพรองในเรื่อง
ความสามารถนัน้ ดําเนินคดีไปกอนชั่วคราวก็ได แตหามมิใหศาลพิพากษาในประเด็นแหงคดีจนกวาขอบกพรองนั้นไดแกไขโดย
บริบูรณแลว
ถาผูไรความสามารถไมมีผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูแทนโดยชอบธรรมทําหนาที่ไมได ศาลมีอํานาจออกคําสั่งใหอนุญาตหรือ
ใหความยินยอมตามที่ตองการหรือตั้งผูแทนเฉพาะคดีนั้นใหแกผูไรความสามารถ ถาไมมีบุคคลอื่นใดใหศาลมีอํานาจตั้งพนักงาน
อัยการหรือเจาพนักงานฝายปกครองอื่นใหเปนผูแทนได
„ ก อายุ 17 ป ยังไมบรรลุนิติภาวะ และไมมีผูแทนโดยชอบธรรม หาก ก ถูก ข ทํารายรางกายไดรับบาดเจ็บสาหัส ดังนี้ ก จะฟอง
เรียกคาเสียหายจาก ข ก ตองดําเนินการอยางไร
2.3 คูความรวม
มาตรา 59 บุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไป อาจเปนคูความในคดีเดียวกันไดโดยเปนโจทกรวมหรือจําเลยรวม ถาหากปรากฎวาบุคคล
เหลานั้นมีผลประโยชนรวมกันในมูลความแหงคดี แตหามมิใหถือวาบุคคลเหลานั้นแทนซึ่งกันและกัน เวนแตมูลแหงความคดีเปนการ

23
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

ชําระหนี้ ซึ่งแบงแยกจากกันมิได หรือไดมีกฎหมายบัญญัติไว ดังนั้นโดยชัดแจง ในกรณีเชนนี้ ใหถือวาบุคคลเหลานั้นแทนซึ่งกันและ


กันเพียงเทาที่จะกลาวตอไปนี้
(1) บรรดากระบวนพิจารณาซึ่งไดทําโดย หรือทําตอคูความรวมคนหนึ่งนั้นใหถือวาไดทําโดย หรือทําตอ คูความรวมคนอื่น
ๆ ดวย เวนแตกระบวนพิจารณาที่คูความรวมคนหนึ่งกระทําไปเปนที่เสื่อมเสียแกคูความรวมคนอื่น ๆ
(2) การเลื่อนคดีหรือการงดพิจารณาคดีซึ่งเกี่ยวกับคูความรวมคนหนึ่งนั้นใหใชถึงคูความรวมคนอื่น ๆ ดวย
„ ก ขับรถยนตโดยสารดวยความประมาทรถพลิกคว่ําเปนเหตุให ข และ ค บาดเจ็บสาหัส ดังนี้ ข และ ค จะเปนโจทยฟองเรียก
คาเสียหายจาก ก เปนคดีเดียวกันไดหรือไม

3. การรองสอด
„ บุคคลภายนอกซึ่งมิใชคูความอาจเปนคูค วามไดดวยการองสอดเขามาในคดี อาจโดยสมัครใจหรือโดยถูกกฎหมาย
เรียกเขามาก็ได
„ ผูรองสอดที่เขามาเปนคูค วามยอมมีสิทธิแตกตางกันไป แลวแตวา ไดรอ งสอดเขามาในกรณีใด
3.1 หลักเกณฑการรองสอด
มาตรา 57 บุคคลภายนอกซึ่งมิใชคูความอาจเขามาเปนคูความไดดวยการรองสอด
(1) ดวยความสมัครใจเองเพราะเห็นวาเปนการจําเปนเพื่อยังใหไดรับความรับรอง คุมครอง หรือบังคับตามสิทธิของตนที่มี
อยู โดยยื่นคํารองขอตอศาลที่คดีนั้นอยูในระหวางพิจารณาหรือเมื่อตนมีสิทธิเรียกรองเกี่ยวเนื่องดวยการบังคับตามคําพิพากษาหรือ
คําสั่ง โดยยื่นคํารองขอตอศาลที่ออกหมายบังคับคดีนั้น
(2) ดวยความสมัครใจเองเพราะตนมีสวนไดเสียตามกฎหมายในผลแหงคดีนั้น โดยยื่นคํารองขอตอศาลไมวาเวลาใด ๆ
กอนมีคําพิพากษา ขออนุญาตเขาเปนโจทกรวมหรือจําเลยรวมหรือเขาแทนที่คูความฝายใดฝายหนึ่งเสียทีเดียวโดยไดรับความยินยอม
ของคูความฝายนั้น แตวาแมศาลจะไดอนุญาตใหเขาแทนที่กันไดก็ตาม คูความฝายนั้นจําตองผูกพันตนโดยคําพิพากษาของศาลทุก
ประการเสมือนหนึ่งวามิไดมีการเขาแทนที่กันเลย
(3) ดวยถูกหมายเรียกใหเขามาในคดี (ก) ตามคําขอของคูความฝายใดฝายหนึ่งทําเปนคํารองแสดงเหตุวาตนอาจฟองหรือ
ถูกคูความเชนวานั้น ฟองตนได เพื่อการใชสิทธิไลเบี้ย หรือเพื่อใชคาทดแทน ถาหากศาลพิจารณาใหคูความเชนวานั้นแพคดี หรือ (ข)
โดยคําสั่งของศาลเมื่อศาลนั้นเห็นสมควร หรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งมีคําขอ ในกรณีที่กฎหมายบังคับใหบุคคลภายนอกเขามาใน
คดี หรือศาลเห็นจําเปนที่จะเรียกบุคคลภายนอกเขามาในคดีเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม แตถาคูความฝายใดฝายหนึ่ง จะเรียก
บุคคลภายนอกเขามาในคดีดังกลาวแลว ใหเรียกดวยวิธียื่นคํารองเพื่อใหหมายเรียกพรอมกับคําฟองหรือคําใหการหรือในเวลาใด ๆ
ตอมากอนมีคําพิพากษาโดยไดรับอนุญาตจากศาล เมื่อศาลเปนที่พอใจวาคํารองนั้นไมอาจยื่นกอนนั้นได
การสงหมายเรียกบุคคลภายนอกตามอนุมาตรานี้ตองมีสําเนาคําขอหรือคําสั่งของศาล แลวแตกรณี และคําฟองตั้งตนคดีนั้น
แนบไปดวย
บทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้ไมตัดสิทธิของเจาหนี้ ในอันที่จะใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้และที่จะเรียกลูกหนี้ใหเขามาใน
คดีดังที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
„ แดงเปนโจทยฟองขับไลดําใหออกจากที่ดินแปลงหนึ่งโดยอางวาที่ดินแปลงดังกลาวเปนของตน ดํายื่นคําใหการตอสูคดี กอน
สืบพยานนัดแรก ขาวยื่นคํารองเขามาในคดีอางวาตนเปนเจาของที่ดินแปลงดังกลาวจึงขอรองสอดเขาเปนจําเลยเพื่อรักษาสงวนสิทธิ
ของตน ดังนี้ ศาลจะรับคํารองสอดของขาวไดหรือไม
3.2 ผลของการรองสอด
มาตรา 58 ผูรองสอดที่ไดเขาเปนคูความตามอนุมาตรา (1) และ (3) แหงมาตรากอนนี้ มีสิทธิเสมือนหนึ่งวาตนไดฟองหรือถูกฟอง
เปนคดีเรื่องใหมซึ่งโดยเฉพาะผูรองสอดอาจนําพยานหลักฐานใหมมาแสดง คัดคานเอกสารที่ไดยื่นไวถามคานพยานที่ไดสบื มาแลว
และคัดคานพยานหลักฐานที่ไดสืบไปแลวกอนที่ตนไดรองสอด อาจอุทธรณฎีกาคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลตามที่กฎหมายบัญญัติ
ไว และอาจไดรับหรือถูกบังคับใหใชคาฤชาธรรมเนียม
หามมิใหผูรองสอดที่ไดเปนคูความตามอนุมาตรา (2) แหงมาตรากอนใชสิทธิอยางอื่นนอกจากสิทธิที่มีอยูแกคูความฝายซึ่ง
ตนเขาเปนโจทกรวมหรือจําเลยรวมในชั้นพิจารณาเมื่อตนรองสอด และหามมิใหใชสิทธิเชนวานั้นในทางที่ขัดกับสิทธิของโจทกหรือ
24
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

จําเลยเดิม และใหผูรองสอดเสียคาฤชาธรรมเนียมอันเกิดแตการที่รองสอด แตถาศาลไดอนุญาตใหเขาแทนที่โจทกหรือจําเลยเดิม ผู


รองสอดจึงมีฐานะเสมอดวยคูความที่ตนเขาแทน
เมื่อไดมีคําพิพากษาหรือคําสั่งแลว ถามีขอเกี่ยวของกับคดีเปนปญหาจะตองวินิจฉัยในระหวางผูรองสอดกับคูความฝายที่ตน
เขามารวม หรือที่ตนถูกหมายเรียกใหเขามารวม ผูรองสอดยอมตองผูกพันตามคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้น เวนแตในกรณีตอไปนี้
(1) เนื่องจากความประมาทเลินเลอของคูความนั้น ทําใหผูรองสอดเขามาเปนคูความในคดีชาเกินสมควรที่จะแสดงขอเถียง
อันเปนสาระสําคัญได หรือ
(2) เมื่อคูความนั้นจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรงมิไดยกขึ้นใชซึ่งขอเถียงในปญหาขอกฎหมายหรือขอเท็จจริงอัน
เปนสาระสําคัญซึ่งผูรองสอดมิไดรูวามีอยูเชนนั้น
„ ก ถูก ข ขับรถชนโดยประมาทเลินเลอในทางการที่จางของ ค ซึ่งเปนนายจาง ก จึงฟอง ค ผูเดียวใหรับผิดชดใชคาเสียหาย ค ให
การสูคดี แตมิไดตอสูวาฟองของ ก ขาดอายุความแลว กอนเริ่มตนสืบพยาน ค ขอใหศาลหมายเรียก ข เขามาเปนจําเลยรวม ศาล
ชั้นตนอนุญาต ดังนี้ ข จะยื่นคําใหการตอสูวาฟองของ ก ขาดอายุความไดหรือไม

4. ทนายความและผูรับมอบอํานาจ
„ คูความฝายใดฝายหนึ่งหรือผูแทนโดยชอบธรรมในกรณีที่คคู วามเปนผูไรความสามารถ หรือผูแทนในกรณีที่
คูความเปนนิติบุคคลจะวาความดวยตัวเอง หรือจะตั้งแตงทนายวาความและดําเนินกระบวนพิจารณาแทนตนก็ได
„ การตัง้ ทนายความตองทําเปนหนังสือลงลายมือชื่อตัวความและทนายความแลวยืน ่ ตอศาลเพื่อรวมไวในสํานวน
ทนายความทีต่ ัวความไดตั้งแตงจะขอตอศาลใหสั่งถอนตนจากการตั้งแตงนั้นก็ได
„ ทนายความซึง่ คูความไดตั้งแตงนั้นมีอํานาจวาความและดําเนินกระบวนพิจารณาใดๆ แทนคูค วามไดตามที่
เห็นสมควร แตกระบวนพิจารณาใดเปนไปในทางจําหนายสิทธิของคูความทนายความ ไมมีอาํ นาจทีจ่ ะดําเนิน
กระบวนพิจารณานั้นโดยมิไดรับมอบอํานาจจากตัวความโดยชัดแจง
„ ตัวความหรือผูแทนโดยชอบธรรม หรือผูแ ทนมีสิทธิทําหนังสือมอบอํานาจใหบคุ คลอื่นเปนผูแทนตนในคดีได
„ ตัวความมีสท ิ ธิตั้งแตงผูแ ทนหรือทนายความ โดยทําเปนหนังสือยื่นตอศาลเพื่อใหรับเงินหรือทรัพยสินซึ่งไดชําระ
ไวในศาลหรือวางไวยังศาลเปนเงินคาธรรมเนียมหรืออยางอื่น และศาลไดสั่งใหจา ยคืนและสงมอบใหตัวความฝายนั้น
„ คูความหรือทนายความอาจตั้งแตงใหบคุ คลใดทําการแทนไดโดยยืน ่ ใบมอบฉันทะตอศาลทุกครั้งเพื่อทํากิจการ
อยางใดอยางหนึ่งตามที่บญ ั ญัติไวในกฎหมาย
„ ศาลมีอาํ นาจสอบสวนอํานาจของผูแทนโดยชอบธรรมของตัวความหรือผูแทนของนิติบุคคล ถาเห็นวาไมมีอาํ นาจ
หรืออํานาจบกพรอง ศาลอาจยกฟองหรือมีคําพิพากษาหรือคําสั่งอยางอื่นไดตามที่เห็นสมควร
4.1 การตั้งทนายความ
ก. การตั้งทนายความ (ม.60 วรรคแรก, 61)
มาตรา 60 วรรคแรก คูความฝายใดฝายหนึ่ง หรือผูแทนโดยชอบธรรมในกรณีที่คูความเปนผูไรความสามารถ หรือผูแทนในกรณีที่
คูความเปนนิติบุคคลจะวาความดวยตนเองและดําเนินกระบวนพิจารณาทั้งปวงตามที่เห็นสมควรเพื่อประโยชนของตนหรือจะตั้งแตง
ทนายความคนเดียวหรือหลายคนใหวาความและดําเนินกระบวนพิจารณาแทนตนก็ได
มาตรา 61 การตั้งทนายความนั้น ตองทําเปนหนังสือลงลายมือชื่อตัวความและทนายความ แลวยื่นตอศาลเพื่อรวมไวในสํานวน ใบ
แตงทนายนี้ใหใชไดเฉพาะคดีเรือ่ งหนึ่ง ๆ ตามที่ไดยื่นไวเทานัน้ เมื่อทนายความผูใดไดรับมอบอํานาจทั่วไปที่จะแทนบุคคลอื่นไมวาใน
คดีใด ๆ ใหทนายความผูนั้นแสดงใบมอบอํานาจทั่วไปแลวคัดสําเนายื่นตอศาลแทนใบแตงทนาย เพื่อดําเนินคดีเปนเรื่อง ๆ ไป ตาม
ความในมาตรานี้
ข. อํานาจทนายความ (ม.62)
มาตรา 62 ทนายความซึ่งคูความไดตั้งแตงนั้นมีอํานาจวาความและดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ แทนคูความไดตามที่เห็นสมควร
เพื่อรักษาผลประโยชนของคูความนั้น แตถากระบวนพิจารณาใดเปนไปในทางจําหนายสิทธิของคูความ เชน การยอมรับตามที่คูความ

25
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

อีกฝายหนึ่งเรียกรอง การถอนฟองการประนีประนอมยอมความ การสละสิทธิ หรือใชสิทธิในการอุทธรณหรือฎีกาหรือในการขอให


พิจารณาคดีใหม ทนายความไมมีอํานาจที่จะดําเนินกระบวนพิจารณาเชนวานี้ไดโดยมิไดรับอํานาจจากตัวความโดยชัดแจง อํานาจโดย
ชัดแจงเชนวานีจ้ ะระบุใหไวในใบแตงทนายสําหรับคดีเรื่องนั้น หรือทําเปนใบมอบอํานาจตางหากในภายหลังใบเดียวหรือหลายใบก็ได
และในกรณีหลังนี้ใหใชบทบัญญัติมาตรา 61 บังคับ
กรณีจะเปนอยางไรก็ตาม ตัวความหรือผูแทนจะปฏิเสธหรือแกไขขอเท็จจริงที่ทนายความของตนไดกลาวดวยวาจาตอหนา
ตนในศาลในขณะนั้นก็ไดแมถึงวาตัวความหรือผูแทนนั้นจะมิไดสงวนสิทธิเชนนั้นไวในใบแตงทนายก็ดี
ค. การถอนทนายความ (ม.65)
มาตรา 65 ทนายความที่ตัวความไดตั้งแตงใหเปนทนายในคดีจะมีคําขอตอศาลใหสั่งถอนตนจากการตั้งแตงนั้นก็ได แตตองแสดงให
เปนที่พอใจแกศาลวาทนายความผูนั้นไดแจงใหตัวความทราบแลว เวนแตจะหาตัวความไมพบ
เมื่อศาลมีคําสั่งอนุญาตตามคําขอแลว ใหศาลสงคําสั่งนั้นใหตัวความทราบโดยเร็วโดยวิธีสงหมายธรรมดาหรือโดยวิธีอื่น
แทนแลวแตจะเห็นสมควร
„ คดีแพงเรื่องหนึ่ง แดงแตงตั้งดําใหเปนทนายความโดยใบแตงทนายความไมมีขอความวาใหมีสิทธิอุทธรณหรือฎีกา ดังนี้ ดําจะมี
สิทธิลงชื่อยื่นอุทธรณแทนแดงไดหรือไม
4.2 การตั้งผูร ับมอบอํานาจ
ก. การมอบอํานาจใหดาํ เนินคดีแทน (ม.60 วรรคสอง)
มาตรา 60 วรรคสอง ถาคูความ หรือผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูแทน ดังที่ไดกลาวมาแลวทําหนังสือมอบอํานาจใหบุคคลใดเปน
ผูแทนตนในคดีผูรับมอบอํานาจเชนวานั้นจะวาความอยางทนายความไมได แตยอมตั้งทนายความเพื่อดําเนินกระบวนพิจารณาได
ข. การมอบอํานาจใหรับทรัพย (ม.63)
มาตรา 63 บทบัญญัติแหงมาตรากอนนี้ไมตัดสิทธิตัวความในอันที่จะตั้งแตงผูแทนหรือทนายความ โดยทําเปนหนังสือยื่นตอศาล
เพื่อใหรับเงินหรือทรัพยสินซึ่งไดชําระไวในศาลหรือวางไวยังศาลเปนเงินคาธรรมเนียมหรืออยางอื่น และศาลไดสั่งใหจายคืน หรือสง
มอบใหแกตัวความฝายนั้น แตถาศาลนั้นมีความสงสัยในความสามารถหรือตัวบุคคลผูแทน หรือทนายความซึ่งไดรับแตงตั้งดังกลาว
ขางตน ศาลมีอํานาจที่จะสั่งใหตัวความหรือทนายความหรือทั้งสองคนใหมาศาลโดยตนเองได
ค. การมอบฉันทะ (ม.64)
มาตรา 64 เวนแตศาลจะไดสั่งเปนอยางอื่น เมื่อคดีมีเหตุผลพิเศษอันเกี่ยวกับคูความฝายใดฝายหนึ่ง หรือทนายความฝายใดฝาย
หนึ่งโดยเฉพาะคูความหรือทนายความอาจตั้งแตงใหบุคคลใดทําการแทนได โดยยื่นใบมอบฉันทะตอศาลทุกครั้งเพื่อกระทํากิจการ
อยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้ คือกําหนดวันนั่งพิจารณาหรือวันสืบพยาน หรือวันฟงคําสั่ง คําบังคับ หรือคําชี้ขาดใด ๆ ของศาลมาฟง
คําสั่ง คําบังคับ หรือคําชี้ขาดใด ๆ ของศาล หรือสลักหลังรับรูซึ่งขอความนั้น ๆ รับสําเนาแหงคําใหการ คํารองหรือเอกสารอื่น ๆ
ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 71 และ 72 และแสดงการรับรูสิ่งเหลานั้น
ง. การสอบสวนอํานาจของผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูแทนนิติบุคคล (ม.66)
มาตรา 66 ผูใดอางวาเปนผูแทนโดยชอบธรรมของตัวความหรือเปนผูแทนของนิติบุคคล เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายที่
เกี่ยวของยื่นคําขอ โดยทําเปนคํารองในขณะที่ยื่นคําฟองหรือคําใหการ ศาลจะทําการสอบสวนถึงอํานาจของผูนั้นก็ได และถาเปนที่
พอใจวาผูนั้นไมมีอํานาจ หรืออํานาจของผูนั้นบกพรอง ศาลมีอํานาจยกฟองคดีนั้นเสีย หรือมีคําพิพากษาหรือคําสั่งอยางอื่นไดตามที่
เห็นสมควร เพือ่ ประโยชนแหงความยุติธรรม
„ คดีแพงเรื่องหนึ่ง แดงไดทําหนังสือมอบอํานาจใหดําฟองคดีเรียกคาเสียหายในมูลละเมิดจากขาว ดังนี้ ดําจะมีอํานาจตั้ง
ทนายความและลงชื่อเปนโจทยยื่นฟองคดีแทนแดงไดหรือไม

26
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

4. เขตอํานาจศาล การคัดคานผูพพ
ิ ากษา คําคูค วามและเอกสาร
„ ศาลแตละศาลมีเขตอํานาจตางกัน และการเสนอคดีตอ งคํานึงถึงสภาพแหงคําฟอง ชั้นของศาล อํานาจศาลและ
เขตศาล
„ ผูพิพากษาทีพ
่ ิจารณาอาจถูกคัดคานได
„ ศาลจะตองตรวจคําคูค วามที่พนักงานศาลรับไว เพื่อยื่นตอศาลและมีคําสั่งไปตามควรแกกรณี

1. เขตอํานาจศาล
„ การยื่นคําฟองและคํารองตองคํานึงถึงอํานาจศาลที่พจิ ารณาพิพากษาและเขตศาลที่จะรับฟองและคํารองขอนัน

ดวย
„ คําฟองเกี่ยวดวยหนี้เหนือบุคคลใหเสนอตอศาลทีจ่ ําเลยมีภูมิลาํ เนาอยูในเขตศาลหรือตอศาลทีม ่ ูลคดีเกิดในเขต
ศาล สวนคํารองขอใหเสนอตอศาลที่มูลคดีเกิดขึ้น หรือตอศาลที่ผรู องมีภูมิลําเนาในเขตศาล เวนแตจะมีบทบัญญัติ
เปนอยางอื่น
„ คําฟองหรือคํารองขอที่เสนอภายหลังที่เกี่ยวเนื่องกับคดีเดิมหรือเกี่ยวเนื่องกับการบังคับคดีใหยนื่ ตอศาลนั้น
„ การโอนคดีและรวมคดี จะทําไดก็ตอเมื่อคดีอยูใ นระหวางการพิจารณาของศาลชัน ้ ตน และคดีทั้งสองเรื่องนัน้
จะตองเกี่ยวเนื่องกัน นอกจากนี้ หากเปนเหตุสุดวิสัยอาจดําเนินกระบวนพิจารณาทีศ่ าลอื่นได
1.1 หลักทั่วไปเกี่ยวกับเขตอํานาจศาล
„ การเสนอคดีตอศาลกระทําได 2 รูปแบบคือ
1. หากมีขอโตแยงเกิดขึ้นเกี่ยวกับสิทธิหรือหนาที่ของบุคคลใดตามกฎหมายแพง ก็เสนอเปนคดีมีขอพิพาท โดย
ทําเปนคําฟองยื่นตอศาล ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 55 และ 172 วรรคหนึ่ง
2. หากบุคคลใดจะตองใชสิทธิทางศาล ก็เสนอเปนคดีไมมีขอพิพาท โดยทําเปนคํารองยื่นตอศาลตาม ป.วิ.พ.
มาตรา 55 และ 188(1)
„ การเสนอคําฟอง
มาตรา 2 หามมิใหเสนอคําฟองตอศาลใด เวนแต
(1) เมื่อไดพิจารณาถึงสภาพแหงคําฟองและชั้นของศาลแลว ปรากฎวาศาลนั้นมีอํานาจที่จะพิจารณาพิพากษาคดีนั้นไดตาม
บทบัญญัติแหงกฎหมายวาดวยพระธรรมนูญศาลยุติธรรม และ
(2) เมื่อไดพิจารณาถึงคําฟองแลว ปรากฎวาคดีนั้นอยูในเขตศาลนั้นตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ วาดวยศาลที่จะ
รับคําฟอง และตามบทบัญญัติแหงกฎหมายที่กําหนดเขตศาลดวย
การเสนอคําฟองมีขอที่จะตองพิจารณาในเบื้องตนคือ
1. สภาพแหงคําฟอง Æ คดีมีทุนทรัพยหรือไมมีทุนทรัพย
2. ชั้นของศาล – ตองเริ่มทีศ่ าลชั้นตน (ม.170 วรรคหนึ่ง)
3. อํานาจศาล
4. เขตศาล
1.2 การเสนอคําฟอง
ก. คําฟองเกีย่ วดวยหนี้เหนือบุคคล
หลักทั่วไปใชภูมิลําเนาและมูลคดีเปนที่เสนอคําฟอง
มาตรา 4 เวนแตจะมีบทบัญญัติเปนอยางอื่น

27
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

(1) คําฟอง ใหเสนอตอศาลที่จําเลยมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลหรือตอศาลที่มูลคดีเกิดขึ้นในเขตศาลไมวาจําเลยจะมี


ภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักรหรือไม…
„ การกําหนดเขตศาลแพงและภูมิลําเนาเปนพิเศษ
มาตรา 3 เพื่อประโยชนในการเสนอคําฟอง
(1) ในกรณีที่มูลคดีเกิดขึ้นในเรือไทยหรืออากาศยานไทยที่อยูนอกราชอาณาจักร ใหศาลแพงเปนศาลที่มีเขตอํานาจ
(2) ในกรณีที่จําเลยไมมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักร
(ก) ถาจําเลยเคยมีภูมิลําเนาอยู ณ ที่ใดในราชอาณาจักรภายในกําหนดสองปกอนวันที่มีการเสนอคําฟอง ใหถือวาที่นั้น
เปนภูมิลําเนาของจําเลย
(ข) ถาจําเลยประกอบหรือเคยประกอบกิจการทั้งหมดหรือแตบางสวนในราชอาณาจักรไมวาโดยตนเองหรือตัวแทนหรือ
โดยมีบุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูติดตอในการประกอบกิจการนั้นในราชอาณาจักร ใหถือวาสถานที่ที่ใชหรือเคยใชประกอบกิจการหรือ
ติดตอดังกลาว หรือสถานที่อันเปนถิ่นที่อยูของตัวแทนหรือของผูติดตอในวันที่มีการเสนอคําฟองหรือภายในกําหนดสองปกอนนั้น เปน
ภูมิลําเนาของจําเลย
ข. คําฟองเกีย่ วดวยอสังหาริมทรัพย
มาตรา 4 ทวิ คําฟองเกี่ยวดวยอสังหาริมทรัพย หรือสิทธิหรือประโยชนอันเกี่ยวดวยอสังหาริมทรัพย ใหเสนอตอศาลที่
อสังหาริมทรัพยนั้นตั้งอยูในเขตศาล ไมวาจําเลยจะมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักรหรือไม หรือตอศาลที่จําเลยมีภูมิลําเนาอยูในเขต
ศาล
ค. คําฟองซึง่ จําเลยไมมีภมู ิลําเนาในราชอาณาจักรและมูลคดีมิไดเกิดขึ้นในราชอาณาจักร
มาตรา 4 ตรี คําฟองอื่นนอกจากที่บัญญัติไวในมาตรา 4 ทวิ โโซึ่งจําเลยมิไดมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักร และมูลคดีมิไดเกิดขึ้นใน
ราชอาณาจักรถาโจทกเปนผูมีสัญชาติไทยหรือมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักร ใหเสนอตอศาลแพงหรือตอศาลที่โจทกมีภูมิลําเนาอยู
ในเขตศาล
คําฟองตามวรรคหนึ่ง ถาจําเลยมีทรัพยสินที่อาจถูกบังคับคดีไดอยูในราชอาณาจักร ไมวาจะเปนการชั่วคราวหรือถาวร โจทก
จะเสนอคําฟองตอศาลที่ทรัพยสินนั้นอยูในเขตศาลก็ได
1.3 การเสนอคํารองขอ
ก. คํารองขอในคดีไมมีขอ พิพาท
มาตรา 4 เวนแตจะมีบทบัญญัติเปนอยางอื่น
(1) ...
(2) คํารองขอ ใหเสนอตอศาลที่มูลคดีเกิดขึ้นในเขตศาล หรือตอศาลที่ผูรองมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาล
ข. คดีรองขอแตงตั้งผูจดั การมรดก
มาตรา 4 จัตวา คํารองขอแตงตั้งผูจัดการมรดก ใหเสนอตอศาลที่เจามรดกมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลในขณะถึงแกความตาย
ในกรณีที่เจามรดกไมมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักร ใหเสนอตอศาลที่ทรัพยมรดกอยูในเขตศาล
ค. คดีรองขอเกี่ยวกับนิติบคุ คล
มาตรา 4 เบญจ คํารองขอเพิกถอนมติของที่ประชุมหรือที่ประชุมใหญของนิติบุคคล คํารองขอเลิกนิติบุคคล คํารองขอตั้งหรือถอนผู
ชําระบัญชีของนิติบุคคลหรือคํารองขออื่นใดเกี่ยวกับนิติบุคคล ใหเสนอตอศาลที่นิติบุคคลนั้นมีสํานักงานแหงใหญอยูในเขตศาล
ง. คดีเกี่ยวกับทรัพยสินที่จะตองจัดการในราชอาณาจักร
มาตรา 4 ฉ คํารองขอเกี่ยวกับทรัพยสินที่อยูในราชอาณาจักรก็ดี คํารองขอที่หากศาลมีคําสั่งตามคํารองขอนั้นจะเปนผลใหตองจัดการ
หรือเลิกจัดการทรัพยสินที่อยูในราชอาณาจักรก็ดี ซึ่งมูลคดีมิไดเกิดขึ้นในราชอาณาจักรและผูรองไมมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักร
ใหเสนอตอศาลที่ทรัพยสินดังกลาวอยูในเขตศาล
1.4 คําฟองหรือคํารองขอที่อยูในเขตอํานาจศาลหลายศาล

28
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 5 คําฟองหรือคํารองขอซึ่งอาจเสนอตอศาลไดสองศาลหรือกวานั้น ไมวาจะเปนเพราะภูมิลําเนาของบุคคลก็ดี เพราะที่ตั้งของ


ทรัพยสินก็ดี เพราะสถานที่ที่เกิดมูลคดีก็ดี หรือเพราะมีขอหาหลายขอก็ดี
ถามูลความแหงคดีเกี่ยวของกันโจทกหรือผูรองจะเสนอคําฟองหรือคํารองขอตอศาลใดศาลหนึ่งเชนวานั้นก็ได
„ มูลความแหงคดี ตางกับคําวา มูลคดีเกิด ซึ่งหมายถึง ตนเหตุอันเปนที่มาแหงการโตแยงสิทธิอันจะทําใหโจทยเกิด
อํานาจฟองตามสิทธินั้น แต มูลความแหงคดี หมายถึง เนื้อหาแหงคดีที่จะใหรบั ผิด ถาตองรับผิดรวมกันก็ตเปนกรณี
ที่มูลความแหงคดีไมอาจจะแยกจากกันได เชน ลูกหนี้รวม ลูกหนี้กบั ผูค้ําประกัน หรือมูลความแหงคดีเกีย่ วของกัน
1.5 การเสนอคําฟอง คํารองขอ และคํารองที่เกีย่ วเนื่องกับคดีเดิม
มาตรา 7 บทบัญญัติในมาตรา 4 มาตรา 4 ทวิ มาตรา 4 ตรี มาตรา 4 จัตวา มาตรา 4 เบญจ มาตรา 4 ฉ มาตรา 5 และมาตรา 6
ตองอยูภายใตบังคับแหงบทบัญญัติดังตอไปนี้
(1) คําฟองหรือคํารองขอที่เสนอภายหลังเกี่ยวเนื่องกับคดีที่คางพิจารณาอยูในศาลใด ใหเสนอตอศาลนั้น
(2) คําฟองหรือคํารองขอที่เสนอเกี่ยวเนื่องกับการบังคับคดีตามคําพิพากษา หรือคําสั่งของศาลซึ่งคําฟองหรือคํารองขอนั้น
จําตองมีคําวินิจฉัยของศาลกอนที่การบังคับคดีจะไดดําเนินไปไดโดยครบถวนและถูกตองนั้น ใหเสนอตอศาลที่มีอํานาจในการบังคับ
คดีตามมาตรา 302
(3) คํารองตามมาตรา 101 ถาไดเสนอคําฟองหรือคํารองขอตอศาลใดแลวใหเสนอตอศาลนั้น ในกรณีที่ยังไมไดเสนอคํา
ฟองหรือคํารองขอตอศาลใด ถาพยานหลักฐานซึ่งจะเรียกมาสืบหรือบุคคลหรือทรัพยหรือสถานที่ที่จะตองตรวจอยูในเขตศาลใด ให
เสนอตอศาลนั้น
(4) คํารองที่เสนอใหศาลถอนคืนหรือเปลี่ยนแปลงคําสั่งหรือการอนุญาตที่ศาลไดใหไวก็ดี คํารองที่เสนอใหศาลถอดถอน
บุคคลใดจากฐานะที่ศาลไดแตงตั้งไวก็ดี คํารองที่เสนอใหศาลมีคําสั่งใดที่เกี่ยวกับการถอนคืนหรือเปลี่ยนแปลงคําสั่งหรือการอนุญาต
หรือที่เกี่ยวกับการแตงตั้งเชนวานั้นก็ดี คํารองขอหรือคํารองอื่นใดที่เสนอเกี่ยวเนื่องกับคดีที่ศาลไดมีคําพิพากษาหรือคําสั่งไปแลวก็ดี
ใหเสนอตอศาลในคดีที่ไดมีคาํ สั่งการอนุญาต การแตงตั้งหรือคําพิพากษานั้น
„ ศาลแพงออกหมายบังคับคดีสั่งใหศาลจังหวัดสมุทรปราการบังคับคดีแทน หากกอนที่ศาลจังหวัดสมุทรปราการสงทรัพยที่ยึดหรือ
เงินที่ไดจากการขายทอดตลาดทรัพยใหศาลแพง ลูกหนี้ตามคําพิพากษาเห็นวาการบังคับคดีโดยการขายทอดตลาดของศาลจังหวัด
สมุทรปราการไมชอบดวยกฎหมาย ลูกหนี้ตามคําพิพากษาจะยื่นคํารองขอใหเพิกถอนการขายทอดตลาดตอศาลใด
1.6 การโอนคดี รวมคดี แยกคดี และการดําเนินกระบวนพิจารณากรณีมีเหตุสุดวิสัย
ก. การโอนคดี
มาตรา 6 กอนยื่นคําใหการ จําเลยชอบที่จะยื่นคํารองตอศาลที่โจทกไดยื่นคําฟองไวขอใหโอนคดีไปยังศาลอื่นที่มีเขตอํานาจได คํารอง
นั้นจําเลยตองแสดงเหตุที่ยกขึ้นอางอิงวาการพิจารณาคดีตอไปในศาลนั้นจะไมสะดวก หรือจําเลยอาจไมไดรับความยุติธรรม เมื่อศาล
เห็นสมควร ศาลจะมีคําสั่งอนุญาตตามคํารองนั้นก็ได
หามมิใหศาลออกคําสั่งอนุญาตตามวรรคหนึ่ง เวนแตศาลที่จะรับโอนคดีไปนั้นไดยินยอมเสียกอน ถาศาลที่จะรับโอนคดีไม
ยินยอม ก็ใหศาลที่จะโอนคดีนั้นสงเรื่องใหอธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณชี้ขาด คําสั่งของอธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณใหเปนที่สุด
หลักเกณฑ
1. ผูที่มีสิทธิขอ
2. ระยะเวลาในการขอ
3. เหตุทข ี่ อ
a. การพิจารณาคดีที่ศาลเดิมนั้นไมสะดวก
b. ถามีการพิจารณาคดีที่ศาลเดิมแลวจําเลยจะไมไดรับความยุติธรรม
4. วิธีปฏิบัติของศาล
a. การพิจารณาคํารองขอโอนคดี ตองฟงโจทยและคูค วามอื่น
b. ตองไดรับความยินยอมจากศาลที่จะรับโอนคดีกอน

29
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

ศาลที่รับโอนคดีตองเปนศาลที่มีเขตอํานาจเหนือคดีที่จะรับโอน
c.
ข. การรวมคดี มี 2 กรณีคอื
1. การรวมคดีในชั้นศาลเดียวกัน
a. การขอรวมคดีตามมาตรา 8
b. การขอรวมคดีตามมาตรา 28
2. การขอรวมคดีกรณีทค ี่ ดีหนึ่งขึ้นสูศาลชัน้ อุทธรณตามมาตรา 9
มาตรา 8 ถาคดีสองเรื่องซึ่งมีประเด็นอยางเดียวกัน หรือเกี่ยวเนื่องใกลชิดกัน อยูในระหวางพิจารณาของศาลชั้นตนที่มีเขตอํานาจ
สองศาลตางกัน และศาลทั้งสองนั้นไดยกคํารองทั้งหลายที่ไดยื่นตอศาลขอใหคดีทั้งสองไดพิจารณาพิพากษารวมในศาลเดียวกันนั้น
เสีย ตราบใดที่ศาลใดศาลหนึ่งยังมิไดพิพากษาคดีนั้น ๆ คูความฝายใด
ฝายหนึ่งจะยื่นคําขอโดยทําเปนคํารองตออธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณเพื่อขอใหมีคําสั่งใหศาลใดศาลหนึ่งจําหนายคดีซึ่งอยูในระหวาง
พิจารณานั้นออกเสียจากสารบบความ หรือใหโอนคดีไปยังอีกศาลหนึ่งก็ไดแลวแตกรณี
คําสั่งใด ๆ ของอธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณเชนวานี้ใหเปนที่สุด
มาตรา 28 ถามีคดีหลายเรื่องคางพิจารณาอยูในศาลเดียวกันหรือในศาลชั้นตนสองศาลตางกัน และคูความทั้งหมดหรือแตบางฝาย
เปนคูความรายเดียวกันกับทั้งการพิจารณาคดีเหลานั้น ถาไดรวมกันแลว จะเปนการสะดวกหากศาลนั้นหรือศาลหนึ่งศาลใดเหลานั้น
เห็นสมควรใหพิจารณาคดีรวมกัน หรือหากคูความทั้งหมดหรือแตบางฝายมีคําขอใหพิจารณาคดีรวมกันโดยแถลงไวในคําใหการหรือ
ทําเปนคํารองไมวาในเวลาใด ๆ กอนมีคําพิพากษา เมื่อศาลไดฟงคูความทุกฝายแหงคดีนั้น ๆ แลวถาศาลเปนที่พอใจวา คดีเหลานั้น
เกี่ยวเนื่องกันก็ใหศาลมีอํานาจออกคําสั่งใหพิจารณาคดีเหลานั้นรวมกัน
ถาจะโอนคดีมาจากอีกศาลหนึ่งหรือโอนคดีไปยังอีกศาลหนึ่งที่มีเขตอํานาจเหนือคดีนั้น ศาลจะมีคําสั่งกอนที่ไดรับความ
ยินยอมของอีกศาลหนึ่งนั้นไมไดแตถาศาลที่จะรับโอนคดีไมยินยอม ก็ใหศาลที่จะโอนคดีนั้นสงเรื่องใหอธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณชี้
ขาด คําสั่งของอธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณใหเปนที่สุด
„ ความแตกตางของการรวมคดีตามมาตรา 8 และมาตรา 28
หลักเกณฑ มาตรา 8 มาตรา 28
ลักษณะคดีที่รวม พิจารณาประเด็นของคดีเปนสําคัญวาคดีมี พิจารณาที่ตัวคูความทั้งหมดหรือแตบางฝาย วาเปน
ประเด็นอยางเดียวกัน คูความรายเดียวกัน
เขตอํานาจศาลที่เกี่ยวของ ศาลที่มีคําสั่งโอนเปนศาลชั้นตนตางศาล ศาลที่มีคําสั่งโอนเปนศาลชั้นตนตางศาลกันหรือ
กันกับศาลที่รับโอน ศาลเดียวกันกับศาลที่รับโอน
การอุทธรณคําสั่งไมอนุญาต คําสั่งศาลไมอนุญาตคูความสามารถยื่นคํา คําสั่งศาลไมอนุญาตคูความไมสามารถที่จะอุทธรณ
รองใหอธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณชี้ขาด ไดทันที เพราะถือวาเปนคําสั่งระหวางพิจารณา
ได

มาตรา 9 ในกรณีดังกลาวในมาตรากอนนั้น ถาศาลใดศาลหนึ่งไดพิพากษาคดีแลว และไดมีการยื่นอุทธรณคัดคานคําพิพากษานั้น


คูความฝายใดฝายหนึ่งอาจยื่นคําขอโดยทําเปนคํารองตอศาลอุทธรณ ขอใหมีคําสั่งใหงดการพิจารณาคดีชั้นอุทธรณนั้นไวกอนจนกวา
อีกศาลหนึ่งจะไดพิพากษาคดีอีกเรื่องหนึ่งเสร็จแลวก็ได และถาไดมีการอุทธรณคดีเรื่องหลังนี้ ก็ใหศาลอุทธรณรวมวินิจฉัยคดีทั้งสอง
นั้นโดยคําพิพากษาเดียวกัน ถาคดีเรื่องหลังนั้นไมมีอุทธรณ ใหบังคับตามบทบัญญัติแหงมาตรา 146
หลัก
1. คดีมีประเด็นอยางเดียวกันหรือเกี่ยวเนื่องกันเชนเดียวกับมาตรา 8
2. คดีใดคดีหนึ่งมีคําพิพากษาของศาลชั้นตนและมีการอุทธรณ
3. โจทยหรือจําเลยยื่นคํารองตอศาลอุทธรณ
ค. การแยกคดี

30
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 29 ถาคดีที่ฟองกันนั้นมีขอหาหลายขอดวยกันและศาลเห็นวาขอหาขอหนึ่งขอใดเหลานั้นมิไดเกี่ยวของกันกับขออื่น ๆ เมื่อ


ศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคูความผูมีสวนไดเสียไดยื่นคําขอโดยทําเปนคํารองใหศาลมีคําสั่งใหแยกคดีเสียโดยเร็ว ถาโจทกประสงคจะให
พิจารณาขอหาเชนวานั้นตอไป ก็ใหศาลดําเนินการพิจารณาคดีไปเสมือนหนึ่งวาเปนคดีอีกเรื่องหนึ่งตางหาก โดยมีเงื่อนไขที่ศาลจะ
กําหนดไวตามที่เห็นสมควร
ถาคดีที่ฟองกันนั้นมีขอหาหลายขอ และศาลเห็นวาหากแยกพิจารณาขอหาทั้งหมดหรือขอใดขอหนึ่งออกจากกันแลว จะทํา
ใหการพิจารณาขอหาเหลานั้นสะดวกไมวาเวลาใด ๆ กอนมีคําพิพากษา เมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคูความผูมีสวนไดเสียยื่นคําขอ
โดยทําเปนคํารอง และเมื่อศาลไดฟงคูความทุกฝายแลวใหศาลมีอํานาจสั่งแยกขอหาเหลานั้นทั้งหมดหรือแตขอใดขอหนึ่งออก
พิจารณาตางหากเปนเรื่อง ๆ ไป
หลัก ม.29
1. การแยกคดีทไี่ มเกี่ยวของกัน (ม.29 วรรคหนี่ง)
a. ลักษณะคดีทแ ี่ ยก
i. มีหลายขอหา
ii. ขอหาใดขอหาหนึ่งไมเกี่ยวของขอหาอื่น
b. ศาลเห็นสมควรหรือคูค  วามผูมีสวนไดเสียยื่นคํารองขอ
2. การแยกคดีเพื่อความสะดวก (ม.29 วรรคสอง)
a. ลักษณะคดีทแ ี่ ยก
i. มีหลายขอหา
ii. เมื่อแยกขอหาใดขอหาหนึ่งจะทําใหการพิจารณาขอหาเหลานั้นสะดวก
b. ศาลเห็นสมควรหรือคูค  วามผูมีสวนไดเสียยื่นคํารองขอ
ง. การดําเนินกระบวนการพิจารณากรณีมีเหตุสุดวิสัย
มาตรา 10 ถาไมอาจดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลชั้นตนที่มีเขตศาลเหนือคดีนั้นไดโดยเหตุสุดวิสัย คูความฝายที่เสียหายหรืออาจ
เสียหายเพราะการนั้นจะยื่นคําขอฝายเดียวโดยทําเปนคํารองตอศาลชั้นตนซึ่งตนมีภูมิลําเนาหรืออยูในเขตศาลในขณะนั้นก็ได และให
ศาลนั้นมีอํานาจทําคําสั่งอยางใดอยางหนึ่งตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม

2. การคัดคานผูพิพากษา
„ ผูพิพากษาทีน ่ ั่งพิจารณาคดี อาจถูกคัดคานไดเมื่อมีเหตุตามที่กฎหมายบัญญัติ
„ เมื่อมีเหตุทจี่ ะคัดคานผูพิพากษาคนใดที่นงั่ พิจารณา ผูพ ิพากษาคนนั้นอาจขอถอนตัวออกจากการนั่งพิจารณาคดี
นั้นก็ได หรือ เมื่อคูความยืน่ คํารองคัดคานก็ใหศาลงดกระบวนพิจารณาทั้งปวงไวกอนจนกวาจะไดมีคาํ ชี้ขาดในเรื่องที่
คัดคานนั้นแลว
2.1 เหตุคดั คานผูพิพากษา (ม.11, 12)
มาตรา 11 เมื่อคดีถึงศาล ผูพิพากษาคนหนึ่งคนใดในศาลนั้นอาจถูกคัดคานได ในเหตุใดเหตุหนึ่งดังตอไปนี้
(1) ถาผูพิพากษานั้นมีผลประโยชนไดเสียเกี่ยวของอยูในคดีนั้น
(2) ถาเปนญาติเกี่ยวของกับคูความฝายใดฝายหนึ่ง คือวาเปนบุพการีหรือผูสืบสันดานไมวาชั้นใด ๆ หรือเปนพี่นองหรือ
ลูกพี่ลูกนองนับไดเพียงภายในสามชั้น หรือเปนญาติเกี่ยวพันทางแตงงานนับไดเพียงสองชั้น
(3) ถาเปนผูที่ไดถูกอางเปนพยานโดยที่ไดรูไดเห็นเหตุการณหรือโดยเปนผูเชี่ยวชาญมีความรูเปนพิเศษเกี่ยวของกับคดีนั้น
(4) ถาไดเปนหรือเปนผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูแทนหรือไดเปนทนายความของคูความฝายใดฝายหนึ่งมาแลว
(5) ถาไดเปนผูพิพากษานั่งพิจารณาคดีเดียวกันนั้นในศาลอื่นมาแลวหรือเปนอนุญาโตตุลาการมาแลว

31
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

(6) ถามีคดีอีกเรื่องหนึ่งอยูในระหวางพิจารณาซึ่งผูพิพากษานั้นเองหรือภริยา หรือญาติทางสืบสายโลหิตตรงขึ้นไป หรือตรง


ลงมาของผูพิพากษานั้นฝายหนึ่ง พิพาทกับคูความฝายใดฝายหนึ่ง หรือภริยา หรือญาติทางสืบสายโลหิตตรงขึ้นไปหรือตรงลงมาของ
คูความฝายนั้นอีกฝายหนึ่ง
(7) ถาผูพิพากษานั้นเปนเจาหนี้หรือลูกหนี หรือเปนนายจางของคูความฝายใดฝายหนึ่ง
มาตรา 12 เมื่อศาลใดมีผูพิพากษาแตเพียงคนเดียวผูพิพากษานั้นอาจถูกคัดคานดวยเหตุใดเหตุหนึ่งตามที่กําหนดไวในมาตรากอน
นั้นได หรือดวยเหตุประการอื่นอันมีสภาพรายแรงซึ่งอาจทําใหการพิจารณาหรือพิพากษาคดีเสียความยุติธรรมไป
2.2 วิธปี ฏิบตั ิเมื่อมีเหตุคดั คานผูพิพากษา (ม.13, 14)
มาตรา 13 ถามีเหตุที่จะคัดคานไดอยางใดอยางหนึ่งดังที่กลาวไวในสองมาตรากอนเกิดขึ้นแกผูพิพากษาคนใดที่นั่งในศาล
(1) ผูพิพากษานั้นเองจะยื่นคําบอกกลาวตอศาลแสดงเหตุที่ตนอาจถูกคัดคาน แลวขอถอนตัวออกจากการนั่งพิจารณาคดี
นั้นก็ได
(2) คูความที่เกี่ยวของอาจยกขอคัดคานขึ้นอางโดยทําเปนคํารองยื่นตอศาล แตถาตนไดทราบเหตุที่พึงคัดคานไดกอนวัน
สืบพยาน ก็ใหยื่นคํารองคัดคานเสียกอนวันสืบพยานนั้น หรือถาทราบเหตุที่พึงคัดคานไดในระหวางพิจารณาก็ใหยื่นคํารองคัดคานไม
ชากวาวันนัดสืบพยานครั้งตอไป แตตองกอนเริ่มสืบพยานเชนวานั้น
เมื่อไดยื่นคํารองดังกลาวแลว ใหศาลงดกระบวนพิจารณาทั้งปวงไวกอนจนกวาจะไดมีคําชี้ขาดในเรื่องที่คัดคานนั้นแลว แต
ความขอนี้มิใหใชแกกระบวนพิจารณาซึ่งจะตองดําเนินโดยมิชักชา อนึ่ง กระบวนพิจารณาทั้งหลายที่ไดดําเนินไปกอนไดยื่นคํารอง
คัดคานก็ดี และกระบวนพิจารณาทั้งหลายในคดีที่จะตองดําเนินโดยมิชักชา แมถึงวาจะไดดําเนินไปภายหลังที่ไดยื่นคํารองคัดคานก็ดี
เหลานี้ยอมสมบูรณไมเสียไป เพราะเหตุที่ศาลมีคําสั่งยอมฟงคําคัดดาน เวนแตศาลจะไดกําหนดไวในคําสั่งเปนอยางอื่น
ถาศาลใดมีผูพิพากษาคนเดียว และผูพิพากษาคนนั้นถูกคัดคาน หรือถาศาลใดมีผูพิพากษาหลายคน และผูพิพากษา
ทั้งหมดถูกคัดคาน ใหศาลซึ่งมีอํานาจสูงกวาศาลนั้นตามลําดับเปนผูชี้ขาดคําคัดคาน
ถาศาลใดมีผูพิพากษาหลายคน และผูพิพากษาที่มิไดถูกคัดคานรวมทั้งขาหลวงยุติธรรม ถาไดนั่งพิจารณาดวยมีจํานวนครบ
ที่จะเปนองคคณะและมีเสียงขางมากตามที่กฎหมายตองการใหศาลเชนวานั้นเปนผูชี้ขาดคําคัดคาน แตในกรณีที่อยูในอํานาจของผู
พิพากษาคนเดียวจะชี้ขาดคําคัดคาน หามมิใหผูพิพากษาคนนั้นมีคําสั่งใหยกคําคัดคาน โดยผูพิพากษาอีกคนหนึ่งหรือขาหลวง
ยุติธรรมมิไดเห็นพองดวย
ถาศาลใดมีผูพิพากษาหลายคน และผูพิพากษาที่มิไดถูกคัดคาน แมจะนับรวมขาหลวงยุติธรรมเขาดวย ยังมีจํานวนไมครบที่
จะเปนองคคณะและมีเสียงขางมากตามที่กฎหมายตองการ หรือถาผูพิพากษาคนเดียวไมสามารถมีคําสั่งใหยกคําคัดคานเสียดวย
ความเห็นพองของผูพิพากษาอีกคนหนึ่งหรือขาหลวงยุติธรรมตามที่บัญญัติไวในวรรคกอน ใหศาลซึ่งมีอํานาจสูงกวาศาลนั้นตามลําดับ
เปนผูชี้ขาดคําคัดคาน
มาตรา 14 เมื่อไดมีการรองคัดคานขึ้น และผูพิพากษาที่ถูกคัดคานไมยอมถอนตัวออกจากการนั่งพิจารณาคดี ใหศาลฟงคําแถลงของ
คําคูความฝายที่เกี่ยวของและของผูพิพากษาที่ถูกคัดคาน กับทําการสืบพยานหลักฐานที่บุคคลเหลานั้นไดนํามาและพยานหลักฐานอื่น
ตามที่เห็นสมควร แลวออกคําสั่งยอมรับหรือยกเสียซึ่งคําคัดคานนั้น คําสั่งเชนวานี้ใหเปนที่สุด
เมื่อศาลที่ผูพิพากษาแหงศาลนั้นเองถูกคัดคาน จะตองวินิจฉัยชี้ขาดคําคัดคาน หามมิใหผูพิพากษาที่ถูกคัดคานนั้นนั่งหรือ
ออกเสียงกับผูพิพากษาอื่น ๆ ในการพิจารณาและชี้ขาดคําคัดคานนั้น
ถาผูพพิ ากษาคนใดไดขอถอนตัวออกจากการนั่งพิจาณาคดีก็ดี หรือศาลไดยอมรับคําคัดคานผูพิพากษาคนใดก็ดี ใหผู
พิพากษาคนอื่นทําการแทนตามบทบัญญัติในพระธรรมนูญศาลยุติธรรม

3. คําคูความและเอกสาร
„ คําคูความ หมายความวา บรรดาคําฟอง คําใหการ หรือคํารองทั้งหลายที่ยื่นตอศาลเพื่อตั้งประเด็นระหวางคูค วาม
„ ศาลมีอาํ นาจที่จะตรวจคําคูความที่พนักงานเจาหนาทีข่ องศาลไดรับไวเพื่อยื่นตอศาล หรือสงใหแกคคู วามหรือ
บุคคลใดๆ

32
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ บรรดาคําคูค วามและเอกสารตางๆ ที่ยื่นตอศาลเพื่อเขารวมอยูใ นสํานวนความนั้น กฎหมายไดบัญญัติหลักเกณฑ


ในการสงในหลายลักษณะตามแตประเภทของคําคูความ ซึ่งมีทั้งการสงโดยวิธีปกติ โดยวิธีพิเศษ หรือการสงไป
ตางประเทศ
3.1 คําคูความ
„ "คําคูความ" หมายความวา บรรดาคําฟอง คําใหการหรือคํารองทั้งหลายทีย่ ื่นตอศาลเพื่อตั้งประเด็นระหวาง
คูความ (ม.1(5))
ก. คําฟอง
„ "คําฟอง" หมายความวา กระบวนพิจารณาใด ๆ ที่โจทกไดเสนอขอหาตอศาล ไมวาจะไดเสนอดวยวาจาหรือทํา
เปนหนังสือ ไมวาจะไดเสนอตอศาลชั้นตน หรือชั้นอุทธรณ หรือฎีกา ไมวาจะไดเสนอในขณะที่เริ่มคดีโดยคําฟอง
หรือคํารองขอหรือเสนอในภายหลังโดยคําฟองเพิ่มเติมหรือแกไข หรือฟองแยง หรือโดยสอดเขามาในคดีไมวา ดวย
สมัครใจ หรือถูกบังคับ หรือโดยมีคําขอใหพิจารณาใหม (ม.1(3))
„ การเสนอคําฟองแบงออกเปน 2 ระยะ
1. การเสนอคําฟองเริ่มคดี
a. คําฟอง กรณีคดีมีขอพิพาท
b. คํารองขอ กรณีคดีไมมีขอพิพาท
2. การเสนอคําฟองภายหลังเริ่มคดี
a. คําฟองเพิ่มเติมหรือแกไขคําฟอง
b. ฟองแยง
c. คํารองสอด
d. คําขอใหพิจารณาใหม
ขอสังเกต
1. คํารองขัดทรัพย เปนเสมือนหนึ่งคําฟอง
2. กรณีที่ถือวาเปนคําฟองตองอยูในหลักเกณฑของมาตรา 1(3) และหลักเกณฑการเสนอคําฟองตามมาตรา
172
3. คําแถลงการณไมถือวาเปนคําฟองฃ
ข. คําใหการ
„ "คําใหการ" หมายความวา กระบวนพิจารณาใด ๆ ซึ่งคูความฝายหนึ่งยกขอตอสูเปนขอแกคาํ ฟองตามที่บัญญัติไว
ในประมวลกฎหมายนี้ นอกจากคําแถลงการณ (ม.1(4))
„ คําใหการเปนสิ่งควบคูกับคําฟอง ตองทําเปนหนังสือและแสดงโดยชัดแจงในคําใหการวา จําเลยยอมรับหรือ
ปฏิเสธคําฟองของโจทยตามหลักเกณฑในมาตรา 177 วรรคสอง บางกรณีเชนคดีมโนสาเรกส็ ามารถใหการดวยวาจา
ได
ค. คํารองที่ยนื่ ตอศาลเพื่อตั้งประเด็นระหวางคูความ
„ คํารองนี้ ไมถือวาเปนคําฟองหรือคําใหการ แตก็ถือวาเปนคําคูค วามอยางหนึ่ง สวนคํารองที่ไมไดตั้งประเด็น
ระหวางคูค วามก็ไมถือวาเปนคําคูความ
3.2 การตรวจคําคูความ
มาตรา 18 ใหศาลมีอํานาจที่จะตรวจคําคูความที่พนักงานเจาหนาที่ของศาลไดรับไวเพื่อยื่นตอศาล หรือสงใหแกคูความหรือบุคคล
ใด ๆ

33
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

ถาศาลเห็นวาคําคูความที่ไดยื่นไวดังกลาวแลวนั้น อานไมออก หรืออานไมเขาใจ หรือเขียนฟุมเฟอยเกินไป หรือไมมีรายการ


ไมมีลายมือชื่อ ไมแนบเอกสารตาง ๆ ตามที่กฎหมายตองการ หรือมิไดปดแสตมปโดยบริบูรณ ศาลจะมีคําสั่งใหคืนคําคูความนั้นไปให
ทํามาใหม หรือแกไขเพิ่มเติม หรือปดแสตมปใหบริบูรณภายในระยะเวลาและกําหนดเงื่อนไขใด ๆ ตลอดจนเรื่องคาฤชาธรรมเนียม
ตามที่ศาลเห็นสมควรก็ได ถามิไดปฏิบัติตามขอกําหนดของศาลในระยะเวลาหรือเงื่อนไขที่กําหนดไวก็ใหมีคําสั่งไมรับคําคูความนั้น
ถาศาลเห็นวาคําคูความที่ไดนํามายื่นดังกลาวขางตน มิไดเปนไปตามเงื่อนไขแหงกฎหมายที่บังคับไว นอกจากที่กลาวมาใน
วรรคกอน และโดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อเห็นวาสิทธิของคูความหรือบุคคลซึ่งยื่นคําคูความนั้นไดถูกจํากัดหามโดยบทบัญญัติแหง
กฎหมายเรื่องเขตอํานาจศาล ก็ใหศาลมีคําสั่งไมรับหรือคืนคําคูความนั้นไปเพื่อยื่นตอศาลที่มีเขตอํานาจ
ถาไมมีขอขัดของดังกลาวแลว ก็ใหศาลจดแจงแสดงการรับคําคูความนั้นไวบนคําคูความนั้นเองหรือในที่อื่น
คําสั่งของศาลที่ไมรับหรือใหคืนคําคูความตามมาตรานี้ ใหอุทธรณและฎีกาไดตามที่บัญญัติไวในมาตรา 227228 และ
247
ก. อํานาจของศาลในการตรวจคําคูความ
1. การตรวจขอบกพรองของคําคูความ
a. ตรวจรูปแบบ
b. ตรวจถอยคําสํานวนในคําคูความ
c. ตรวจเอกสารที่กฎหมายบังคับใหแนบ
d. ตรวจคาฤชาธรรมเนียม
2. การตรวจเนื้อหาของคําคูค  วาม
ข. คําสั่งศาลในการตรวจคําคูความ
1. คําสั่งใหคืนคําคูค วาม
2. คําสั่งไมรับคําคูความ
3. คําสั่งรับคําคูค
 วาม
ค. ผลของคําสั่งศาลในการตรวจคําคูความ
1. คําสั่งศาลที่ใหคืนกบับไปทํามาใหมใหถูกตองเปนคําสั่งระหวางพิจารณา
2. คําสั่งไมรับ หรือใหคืนไปยืน
่ ตอศาลอื่น เปนคําสั่งไมรบั คําคูค วาม สามารถที่จะอุทธรณไดทันที
3.3 หลักเกณฑการสงคําคูความและเอกสาร
ก. รูปแบบของคําคูความและเอกสารที่ยื่นตอศาล (ม.67)
มาตรา 67 เมื่อประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติวาเอกสารใดจะตองสงใหแกคูความฝายใดฝายหนึ่ง หรือบุคคลที่เกี่ยวของ
(เชน คําคูความที่ทําโดยคําฟอง คําใหการ หรือคํารองหรือคําขอโดยทําเปนคํารองหมายเรียกหรือหมายอื่น ๆ สําเนาคําแถลงการณ
หรือสําเนาพยานเอกสาร ฯลฯ) เอกสารนั้นตองทําขึ้นใหปรากฎขอความแนชัดถึงตัวบุคคลและมีรายการตอไปนี้
(1) ชือ่ ศาลที่จะรับคําฟอง หรือถาคดีอยูในระหวางพิจารณา ชื่อของศาลนั้นจะเลขหมายคดี
(2) ชือ่ คูความในคดี
(3) ชือ่ คูความหรือบุคคล ซึ่งจะเปนผูรับคําคูความหรือเอกสารนั้น
(4) ใจความ และเหตุผลถาจําเปนแหงคําคูความหรือเอกสาร
(5) วัน เดือน ป ของคําคูความ หรือเอกสาร และลายมือชื่อของเจาพนักงาน คูความ หรือบุคคลซึ่งเปนผูยื่นหรือเปนผูสง
ในการยื่นหรือสงคําคูความหรือเอกสารอื่นใดอันจะตองทําตามแบบพิมพที่จัดไว เจาพนักงาน คูความ หรือบุคคลผูเกี่ยวของ
จะตองใชกระดาษแบบพิมพนั้นสวนราคากระดาษแบบพิมพนั้นใหเรียกตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมจะไดกําหนดไว
ข. วิธีการยื่นคําคูความ (ม.69)
1. ยื่นตอเจาพนักงานศาล
2. ยื่นตอศาลในระหวางพิจารณา

34
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 69 การยื่นคําคูความ หรือเอกสารอื่นใดตอศาลนั้นใหกระทําไดโดยสงตอพนักงานเจาหนาที่ของศาล หรือยื่นตอศาลใน


ระหวางนั่งพิจารณา
ค. การสงคําคูความหรือเอกสาร (ม.70, 71, 72)
มาตรา 70 บรรดาคําฟอง หมายเรียกและหมายอื่น ๆ คําสั่ง คําบังคับของศาลนั้น ใหเจาพนักงานศาลเปนผูสงใหแกคูความหรือ
บุคคลภายนอกที่เกี่ยวของแตวา
(1) หมายเรียกพยาน ใหคูความฝายที่อางพยานนั้นเปนผูสงโดยตรงเวนแตศาลจะสั่งเปนอยางอื่น หรือพยานปฏิเสธไม
ยอมรับหมาย ในกรณีเชนวานี้ใหเจาพนักงานศาลเปนผูสง
(2) คําสั่ง คําบังคับของศาล รวมทั้งคําสั่งกําหนดวันนั่งพิจารณาหรือสืบพยาน แลวแตกรณี หรือคําสั่งใหเลื่อนคดี ถาคูความ
หรือบุคคลที่เกี่ยวของนั้นอยูในศาลในเวลาที่มีคําสั่งและไดลงลายมื่อชื่อรับรูไว ใหถือวาไดสงโดยชอบดวยกฎหมายแลว
คําฟองนั้น ใหโจทกเสียคาธรรมเนียมในการสง สวนการนําสงนั้นโจทกจะนําสงหรือไมก็ได เวนแตศาลจะสั่งใหโจทกมีหนาที่
จัดการนําสง สวนหมายเรียกหมายอื่น ๆ คําสั่ง คําบังคับของศาลที่ไดออกตามคําขอของคูความฝายใดถาศาลมิไดสั่งใหจัดการนําสง
ดวย ก็ใหคูความฝายนั้นเพียงแตเสียคาธรรมเนียมในการสงในกรณีอื่น ๆ ใหเปนหนาที่ของศาลที่จะจัดการสงใหแกคูความหรือบุคคล
ที่เกี่ยวของ
มาตรา 71 คําใหการนั้น ใหฝายที่ใหการนําตนฉบับยื่นไวตอศาลพรอมดวยสําเนาสําหรับใหคูความอีกฝายหนึ่ง หรือคูความอื่น ๆ
รับไปโดยทางเจาพนักงานศาล
คํารองเพื่อแกไขเพิ่มเติมคําใหการนั้น ใหเจาพนักงานศาลเปนผูสงใหคูความอีกฝายหนึ่งหรือคูความอื่น ๆ โดยฝายที่ยื่นคํา
รองเปนผูมีหนาที่จัดการนําสง
มาตรา 72 คํารองและคําแถลงการณซึ่งไดยื่นตอศาลภายในเวลาที่กฎหมายหรือศาลกําหนดไว หรือโดยขอตกลงของคูความตามที่
ศาลจดลงไวในรายงานนั้น ใหผูยื่นคํารองหรือคําแถลงการณนําตนฉบับยื่นไวตอศาลพรอมดวยสําเนาเพื่อใหคูความอีกฝายหนึ่งหรือ
คูความอื่น ๆ หรือบุคคลที่เกี่ยวของมารับไปโดยทางเจาพนักงานศาล
บรรดาคํารองอื่น ๆ ใหยื่นตอศาลพรอมดวยสําเนา เพื่อสงใหแกคูความอีกฝายหนึ่งหรือคูความอื่น ๆ หรือบุคคลที่เกี่ยวของ
และถาศาลกําหนดใหเจาพนักงานศาลเปนผูสงสําเนาเชนวานัน้ ก็ใหเจาพนักงานศาลเปนผูสงโดยใหคูความฝายที่ยื่นคํารองเปนผูออก
คาใชจาย
บรรดาเอกสารอื่น ๆ เชนสําเนาคําแถลงการณหรือสําเนาพยานเอกสารนั้น ใหสงแกคูความอีกฝายหนึ่งหรือคูความอื่น ๆ
หรือบุคคลที่เกี่ยวของโดยวิธีใดวิธีหนึ่งในสองวิธีดังตอไปนี้
(1) โดยคูความฝายที่ตองสงนั้น สงสําเนาใหแกคูความอีกฝายหนึ่งหรือคูความอื่น ๆ หรือบุคคลที่เกี่ยวของเอง แลวสงใบรับ
ตอศาลพรอมกับตนฉบับนั้น ๆ ใบรับนั้นจะทําโดยวิธีลงไวในตนฉบับวาไดรับสําเนาแลว และลงลายมือชื่อผูรับกับวัน เดือน ป ที่ไดรับ
ก็ได หรือ
(2) โดยคูความฝายที่ตองสงนั้นนําสําเนายื่นไวตอศาลพรอมกับตนฉบับแลวขอใหเจาพนักงานศาลเปนผูนําสงใหแกคูความ
อีกฝายหนึ่งหรือคูความอื่น ๆ หรือบุคคลที่เกี่ยวของ ในกรณีเชนนี้ผูขอตองไปกับเจาพนักงานศาลและเสียคาธรรมเนียมในการสงนั้น
ดวย
ง. การสงคําคูความหรือเอกสารโดยเจาพนักงานศาล (ม.73, 74)
„ การสงโดยเจาพนักงานศาลสามารถแยกไดสองกรณี
1. คูความมีหนาที่ตองนําสง
2. คูความไมมห ี นาที่ตองนําสง – หมายศาล
หลักเกณฑการสงโดยเจาพนักงาน
1. เวลาสง (ม.74(1))
2. ผูรับคําคูค
 วามหรือเอกสาร (ม.74(2), 75, 76)
3. สถานที่สงคําคูความหรือเอกสาร

35
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 73 ถาคําคูความหรือเอกสารอื่นใดจะตองใหเจาพนักงานศาลเปนผูสง เมื่อคูความผูมีหนาที่ตองสงไดรองขอ ใหพนักงาน


เจาหนาที่ดําเนินการสงโดยเร็วเทาที่จะทําได เพื่อการนี้พนักงานผูสงหมายจะใหผูขอหรือบุคคลที่ผูขอเห็นสมควรไปดวยเพื่อชี้ตัว
คูความหรือบุคคลผูรับหรือเพื่อคนหาภูมิลําเนาหรือสํานักทําการของผูรับก็ได
ในกรณีที่ตองสงคําคูความหรือเอกสารอื่นใดไปตามคําสั่งของศาล ซึ่งบุคคลอื่นหรือคูความไมมีหนาที่ตองรับผิดชอบในการ
สงนั้น ใหเปนหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ของศาลจะดําเนินการสง
มาตรา 74 การสงคําคูความหรือเอกสารอื่นใดโดยเจาพนักงานศาลนั้นใหปฏิบัติดังนี้
(1) ใหสงในเวลากลางวันระหวางพระอาทิตยขึ้นและพระอาทิตยตก และ
(2) ใหสงแกคูความ หรือบุคคลซึ่งระบุไวในคําคูความหรือเอกสาร ณ ภูมิลําเนาหรือสํานักทําการงานของคูความหรือ
บุคคลนั้น แตใหอยูในบังคับแหงบทบัญญัติหกมาตราตอไปนี้
มาตรา 75 การสงคําคูความหรือเอกสารอื่นใดใหแกทนายความที่คูความตั้งแตงใหวาคดี หรือใหแกบุคคลที่ทนายความเชนวานั้นได
ตั้งแตง เพื่อกระทํากิจการอยางใด ๆ ที่ระบุไวในมาตรา 64 นัน้ ใหถือวาเปนการสงโดยชอบดวยกฎหมาย
มาตรา 76 เมื่อเจาพนักงานศาลไมพบคูความหรือบุคคลที่จะสงคําคูความหรือเอกสาร ณ ภูมิลําเนาหรือสํานักทําการงานของบุคคล
นั้น ๆ ถาไดสงคําคูความหรือเอกสารใหแกบุคคลใด ๆ ที่มีอายุเกินยี่สิบป ซึ่งอยูหรือทํางานในบานเรือนหรือที่สํานักทําการงานที่
ปรากฎวาเปนของคูความหรือบุคคลนั้น หรือไดสงคําคูความหรือเอกสารนั้นตามขอความในคําสั่งของศาล ใหถือวาเปนการเพียง
พอที่จะฟงวาไดมีการสงคําคูความหรือเอกสารถูกตองตามกฎหมายแลว
ในกรณีเชนวามานี้ การสงคําคูความหรือเอกสารแกคูความฝายใดหามมิใหสงแกคูความฝายปรปกษเปนผูรับไวแทน
มาตรา 77 การสงคําคูความหรือเอกสารอื่นใดโดยเจาพนักงานศาลไปยังที่อื่นนอกจากภูมิลําเนา หรือสํานักทําการงานของคูความ
หรือของบุคคลซึ่งระบุไวในคําคูความ หรือเอกสารนั้น ใหถือวาเปนการถูกตองตามกฎหมาย เมื่อ
(1) คูความหรือบุคคลนั้นยอมรับคําคูความหรือเอกสารนั้นไว หรือ
(2) การสงคําคูความหรือเอกสารนั้นไดกระทําในศาล
หลักฐานการสงของเจาพนักงาน (ม.80)
มาตรา 80 การสงคําคูความหรือเอกสารโดยเจาพนักงานศาลหรือทางเจาพนักงานศาลนั้น ใหเจาพนักงานศาลสงใบรับลงลายมือชื่อ
คูความ หรือผูรับคําคูความหรือเอกสาร หรือสงรายงานการสงคําคูความหรือเอกสารลงลายมือชื่อเจาพนักงานศาลตอศาล แลวแต
กรณี เพื่อรวมไวในสํานวนความ
ใบรับหรือรายงานนั้นตองลงขอความใหปรากฎแนชัดถึงตัวบุคคลและรายการตอไปนี้
(1) ชือ่ เจาพนักงานผูสงหมาย และชื่อผูรับหมาย ถาหากมี
(2) วิธีสง วัน เดือน ป และเวลาที่สง
รายงานนั้นตองลงวันเดือนป และลงลายมือชื่อของเจาพนักงานผูทํารายงาน
ใบรับนั้นจะทําโดยวิธีจดลงไวที่ตนฉบับซึ่งยื่นตอศาลก็ได
ง. การสงคําคูความหรือเอกสาร
1. การสงคําคูความหรือเอกสารทางไปรษณียตอบรับ (ม.73 ทวิ)
2. การสงโดยวิธก ี ารวางหมาย (ม.78)
3. การสงคําคูความหรือเอกสารใหคค
ู วามหลายคน (ม.82)
4. กรณีที่กฎหมายกําหนดใหตองยื่นหรือสงใหทราบลวงหนา (ม.83)
มาตรา 73 ทวิ คําคูความหรือเอกสารที่เจาพนักงานศาลเปนผูสงไมวาการสงนั้นจะเปนหนาที่ของศาลจัดการสงเองหรือคูความมี
หนาที่จัดการนําสงก็ตาม ศาลอาจสั่งใหสงโดยทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ โดยใหคูความฝายที่มีหนาที่นําสงเปนผูเสีย
คาธรรมเนียมไปรษณียากร กรณีเชนนี้ใหถือวาคําคูความหรือเอกสารที่สงโดยเจาพนักงานไปรษณีย มีผลเสมือนเจาพนักงานศาลเปน
ผูสงและใหนําบทบัญญัติมาตรา 74 มาตรา 76 และมาตรา 77 มาใชบังคับโดยอนุโลม
มาตรา 78 ถาคูความหรือบุคคลที่ระบุไวในคําคูความหรือเอกสารปฏิเสธไมยอมรับคําคูความหรือเอกสารนั้นจากเจาพนักงานศาล
โดยปราศจากเหตุอันชอบดวยกฎหมาย เจาพนักงานนั้นชอบที่จะขอใหพนักงานเจาหนาที่ฝายปกครองที่มีอํานาจหรือเจาพนักงาน

36
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

ตํารวจไปดวยเพื่อเปนพยาน และถาคูความหรือบุคคลนั้นยังคงปฏิเสธไมยอมรับอยูอีก ก็ใหวางคําคูความหรือเอกสารไว ณ ที่นั้น เมื่อ


ไดทําดังนี้แลวใหถือวาการสงคําคูความหรือเอกสารนั้นเปนการถูกตองตามกฎหมาย
มาตรา 82 ถาจะตองสงคําคูความหรือเอกสารอื่นใดไปยังคูความหรือบุคคลหลายคน ใหสงสําเนาคูความหรือเอกสารที่จะตองสงไป
ใหทุก ๆ คนในกรณีที่ตองสงคําคูความหรือเอกสารโดยเจาพนักงานศาลหรือทางเจาพนักงานศาลนั้นใหคูความฝายซึ่งมีหนาที่จัดการ
นําสง มอบสําเนาคําคูความหรือเอกสารตอพนักงานเจาหนาที่ใหพอกับจํานวนคูความหรือบุคคลที่จะตองสงใหนั้น
มาตรา 83 ถาคูความฝายใดจะตองยื่นตอศาลหรือจะตองสงใหแกคูความฝายใดฝายหนึ่ง หรือบุคคลภายนอกซึ่งคําคูความหรือ
เอกสารอื่นใด ภายในเวลาหรือกอนเวลาที่กฎหมายหรือศาลไดกําหนดไว และการสงเชนวานีจ้ ะตองกระทําโดยทางเจาพนักงานศาล
ใหถือวาคูความฝายนั้นไดปฏิบัติตามความมุงหมายของกฎหมายหรือของศาลแลว เมื่อคูความฝายนั้นไดสงคําคูความหรือเอกสารเชน
วานั้นแกพนักงานเจาหนาที่ของศาลเพื่อใหยื่นหรือใหสงในเวลาหรือกอนเวลาที่กําหนดนั้นแลว แมถึงวาการรับคําคูความหรือเอกสาร
หรือการขอใหสงคําคูความหรือเอกสาร หรือการสงคําคูความหรือเอกสารใหแกคูความอีกฝายหนึ่งหรือบุคคลภายนอกนั้น จะได
เปนไปภายหลังเวลาที่กําหนดนั้นก็ดี
ถาประมวลกฎหมายนี้บัญญัติไววาการสงคําคูความหรือเอกสารอื่นใดจะตองใหคูความอีกฝายหนึ่งหรือบุคคลภายนอกทราบ
ลวงหนาตามระยะเวลาที่กําหนดไวกอนวันเริ่มตนนั่งพิจารณาหรือสืบพยาน ใหถือวาคูความฝายที่ตองรับผิดในการสงนั้นไดปฏิบัติตาม
ความมุงหมายของกฎหมายหรือของศาลตามที่บัญญัติไวในวรรคกอนนั้นไดตอเมื่อคูความฝายนั้นไดยื่นคําคูความหรือเอกสารที่จะตอง
สงใหแกพนักงานเจาหนาที่ของศาลไมต่ํากวาสามวันกอนวันเริม่ ตนแหงระยะเวลาที่กําหนดลวงหนาไวนั้น
ในกรณีที่คูความอาจสงคําคูความหรือเอกสารโดยวิธีสงสําเนาตรงไปยังคูความอีกฝายหนึ่งหรือบุคคลภายนอกไดนั้น
บทบัญญัติแหงมาตรานี้มิไดหามคูความที่มีหนาที่ตองสงคําคูความหรือเอกสารดังกลาวแลวในอันที่จะใชวิธีเชนวานี้ แตคูความฝายนั้น
จะตองสงใบรับของคูความอีกฝายหนึ่งหรือบุคคลภายนอกตอศาลในเวลาหรือกอนเวลาที่กฎหมายหรือศาลไดกําหนดไว
3.4 การสงคําคูความและเอกสารโดยวิธีพิเศษ (ม.79)
มาตรา 79 ถาการสงคําคูความหรือเอกสารนั้นไมสามารถจะทําไดดังที่บัญญัติไวในมาตรากอน ศาลอาจสั่งใหสงโดยวิธีอื่นแทนได
กลาวคือปดคําคูความหรือเอกสารไวในที่แลเห็นไดงาย ณ ภูมิลําเนาหรือสํานักทําการงานของคูความหรือบุคคลผูมีชื่อระบุไวในคํา
คูความหรือเอกสาร หรือมอบหมายคําคูความหรือเอกสารไวแกเจาพนักงานฝายปกครองในทองถิ่นหรือเจาพนักงานตํารวจ แลวปด
ประกาศแสดงการที่ไดมอบหมายดังกลาวแลวนั้นไวดังกลาวมาขางตน หรือลงโฆษณาหรือทําวิธีอื่นใดตามที่ศาลเห็นสมควร
การสงคําคูความหรือเอกสารโดยวิธีอื่นแทนนั้น ใหมีผลใชไดตอเมื่อกําหนดเวลาสิบหาวันหรือระยะเวลานานกวานัน้ ตามที่
ศาลเห็นสมควรกําหนด ไดลวงพนไปแลวนับตั้งแตเวลาที่คําคูความหรือเอกสารหรือประกาศแสดงการมอบหมายนั้นไดปดไว หรือการ
โฆษณาหรือวิธีอื่นใดตามที่ศาลสั่งนั้นไดทําหรือไดตั้งตนแลว
3.5 การสงคําคูความและเอกสารไปตางประเทศ (ม.83 ทวิ ถึง อัฏฐ)
มาตรา 83 ทวิ ในกรณีที่จําเลยไมมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักรใหสงหมายเรียกและคําฟองตั้งตนคดีแกจําเลย ณ ภูมิลําเนาหรือ
สํานักทําการงานของจําเลยนอกราชอาณาจักร เวนแตในกรณีที่จําเลยประกอบกิจการในราชอาณาจักรดวยตนเองหรือโดยตัวแทน
หรือในกรณีที่มีการตกลงเปนหนังสือวาคําคูความและเอกสารที่จะตองสงใหแกจําเลยนั้น ใหสงแกตัวแทนซึ่งมีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร
ที่จําเลยไดแตงตั้งไวเพื่อการนี้ใหสงหมายเรียกและคําฟองตั้งตนคดีแกจําเลยหรือตัวแทนในการประกอบกิจการหรือตัวแทนในการ
รับคําคูความและเอกสาร ณ สถานที่ที่จําเลยหรือตัวแทนใชประกอบกิจการ หรือสถานที่อันเปนถิ่นที่อยูของตัวแทนในการประกอบ
กิจการหรือของตัวแทนในการรับคําคูความและเอกสาร ซึ่งตั้งอยูในราชอาณาจักร แลวแตกรณี
ในกรณีที่มีการเรียกบุคคลภายนอกซึ่งไมมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักรเขามาเปนคูความตามมาตรา 57 (3) ใหนําความ
ในวรรคหนึ่งมาใชบังคับโดยอนุโลม
มาตรา 83 ตรี การสงคํารองขอฟองคดีอยางคนอนาถา คําคูความคํารอง คําแถลง หรือเอกสารอื่นใดนอกจากที่บัญญัติไวในมาตรา
83 ทวิ ถาผูรับไมมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักรแตประกอบกิจการในราชอาณาจักรดวยตนเองหรือโดยตัวแทนหรือมีตัวแทนในการ
รับคําคูความและเอกสารหรือทนายความในการดําเนินคดีอยูในราชอาณาจักร ใหสงแกผูรับหรือตัวแทนเชนวานั้นหรือทนายความ ณ
สถานที่ที่ผูรับหรือตัวแทนใชประกอบกิจการหรือสถานที่อันเปนถิ่นที่อยูของตัวแทนหรือภูมิลําเนาหรือสํานักทําการงานของ
ทนายความซึ่งตั้งอยูในราชอาณาจักรแลวแตกรณี แตถาผูรับมิไดประกอบกิจการในราชอาณาจักรดวยตนเอง หรือไมมีตัวแทนดังกลาว
หรือทนายความอยูในราชอาณาจักรใหสงโดยวิธีปดประกาศไวที่ศาล

37
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 83 จัตวา ในกรณีที่จะตองสงหมายเรียกและคําฟองตั้งตนคดีตามมาตรา 83 ทวิ แกจําเลย ณ ภูมิลําเนาหรือสํานักทําการ


งานของจําเลยนอกราชอาณาจักรใหโจทกยื่นคําตองตอศาลภายในกําหนดเจ็ดวันนับแตวันยื่นคําฟองเพื่อใหศาลจัดสงหมายเรียกและ
คําฟองตั้งตนคดีแกจําเลย ในกรณีเชนวานี้ ถาไมมีขอตกลงระหวางประเทศที่ประเทศไทยเปนภาคีกําหนดไวเปนอยางอื่น ใหโจทกทํา
คําแปลหมายเรียกคําฟองตั้งตนคดีและเอกสารอื่นใดที่จะสงไปยังประเทศที่จําเลยมีภูมิลําเนาหรือสํานักทําการงานอยู เปนภาษา
ราชการของประเทศนั้นหรือเปนภาษาอังกฤษพรอมทั้งคํารับรองคําแปลวาถูกตองยื่นตอศาลพรอมกับคํารองดังกลาว และวางเงิน
คาใชจายไวตอศาลตามจํานวนและภายในระยะเวลาที่ศาลกําหนด
ในกรณีที่ศาลเห็นสมควร ศาลจะมีคําสั่งใหโจทกจัดทําเอกสารอื่นเพิ่มเติมยื่นตอศาลภายในระยะเวลาที่ศาลกําหนดก็ได
ในกรณีที่โจทกเพิกเฉยไมดําเนินการตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองใหถือวาโจทกทิ้งฟองตามมาตรา 174
ในกรณีที่มีการเรียกบุคคลภายนอกซึ่งไมมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักรเขามาเปนคูความตามมาตรา 57 (3) ใหนําความ
ในวรรคหนึ่ง วรรคสองและวรรคสาม มาใชบังคับโดยอนุโลม
มาตรา 83 เบญจ การสงหมายเรียกและคําฟองตั้งตนคดีตามมาตรา 83 ทวิ แกจําเลยหรือบุคคลภายนอก ณ ภูมิลําเนาหรือสํานัก
ทําการงานของบุคคลดังกลาวนอกราชอาณาจักร ใหมีผลใชไดตอเมื่อพนกําหนดเวลาหกสิบวันนับแตวันที่ไดมีการสง และในกรณีสง
โดยวิธีอื่นแทนการสงใหแกจําเลยหรือบุคคลภายนอก ใหมีผลใชไดตอเมื่อพนกําหนดเวลาเจ็ดสิบหาวันนับแตวันที่ไดมีการสงโดยวิธีอื่น
มาตรา 83 ฉ การสงหมายเรียกและคําฟองตั้งตนคดีตามมาตรา 83 ทวิ แกจําเลยหรือตัวแทนซึ่งประกอบกิจการในราชอาณาจักร
หรือตัวแทนในการรับคําคูความและเอกสาร ใหมีผลใชไดตอเมื่อพนกําหนดเวลาสามสิบวันนับแตวันที่ไดมีการสงโดยชอบดวย
กฎหมาย
การสงคําคูความหรือเอกสารอื่นตามมาตรา 83 ตรี แกผูรับหรือตัวแทนหรือทนายความ ใหมีผลใชไดตอเมื่อพน
กําหนดเวลาสิบหาวันนับแตวันที่ไดมีการสงโดยชอบดวยกฎหมาย
การปดประกาศตามมาตรา 83 ตรี ใหมีผลใชไดตอเมื่อพนกําหนดเวลาสามสิบวันนับแตวันปดประกาศและมิใหนํา
บทบัญญัติมาตรา 79 มาใชบังคับ
มาตรา 83 สัตต เมื่อโจทกไดปฏิบัติตามมาตรา 83 จัตวาแลวถาไมมีขอตกลงระหวางประเทศที่ประเทศไทยเปนภาคีกําหนดไวเปน
อยางอื่นใหศาลดําเนินการสงใหแกจําเลยหรือบุคคลภายนอกโดยผานกระทรวงยุติธรรมและกระทรวงการตางประเทศ
มาตรา 83 อัฎฐ ในกรณีที่จะตองสงหมายเรียกและคําฟองตั้งตนคดีตามมาตรา 83 ทวิ แกจําเลยหรือบุคคลภายนอก ณ ภูมิลําเนา
หรือสํานักทําการงานของบุคคลดังกลาวนอกราชอาณาจักร ถาโจทกยื่นคําขอฝายเดียวโดยทําเปนคํารองและสามารถแสดงใหเปนที่
พอใจแกศาลไดวาการสงตามมาตรา 83 สัตต ไมอาจกระทําไดเพราะเหตุที่ภูมิลําเนาและสํานักทําการงานของบุคคลดังกลาวไม
ปรากฎหรือเพราะเหตุอื่นใด หรือเมื่อศาลไดดําเนินการตามมาตรา 83 สัตต เปนเวลาหนึ่งรอยแปดสิบวันแลว แตยังมิไดรับแจงผล
การสง ถาศาลเห็นสมควร ก็ใหศาลอนุญาตใหสงโดยวิธีปดประกาศไวที่ศาลแทน ในกรณีเชนวานี้ศาลจะสั่งใหสงโดยวิธีประกาศ
โฆษณาในหนังสือพิมพหรือโดยวิธีอื่นใดดวยก็ได
การสงโดยวิธีการตามวรรคหนึ่ง ใหมีผลใชไดตอเมื่อพนกําหนดเวลาหกสิบวันนับแตวันที่ปดประกาศไวที่ศาล และมิใหนํา
บทบัญญัติมาตรา 79 มาใชบังคับ

38
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

39
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

5. อํานาจและหนาที่ของศาล
„ กฎหมายหามมิใหศาลใชอาํ นาจนอกเขตศาล
„ วิธีการในการเสนอคําขอหรือคําแถลงตอศาล
„ ศาลมีอาํ นาจในการไกลเกลีย่ ใหคคู วามไดตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกัน รวมทั้งมีอํานาจแตงตั้งผู
ประนีประนอมเพื่อทําหนาที่ชวยเหลือศาล
„ กฎหมายใหคาํ นวณระยะเวลาตาม ป.พ.พ. และใหศาลมีอํานาจในการขยายหรือยนระยะเวลา
„ ศาลมีอาํ นาจวินิจฉัยชีข้ าดเบื้องตนในปญหาขอกฎหมาย
„ กฎหมายกําหนดใหศาลสั่งคําขอคุมครองสิทธิในระหวางพิจารณาหรือคําขอเพื่อบังคับคดีโดยไมชักชา
„ กฎหมายใหอาํ นาจศาลในการสั่งเพิกถอนหรือแกไขกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบได
„ การดําเนินกระบวนพิจารณาในตางประเทศจะตองปฏิบัติตามขอตกลงระหวางประเทศหรือกฎหมายเฉพาะ หาก
ไมมีตองปฏิบัติตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ
„ กฎหมายกําหนดใหศาลนั่งพิจารณาติดตอกันโดยไมเลือ่ นคดีจนกวาจะเสร็จการพิจารณาและพิพากษาเวนแตมี
เหตุตามกฎหมาย กิจธุระของศาล หรือคูค วามขอเลื่อน
„ ในกรณีทคี่ ูความมรณะ ศาลจะตองเลื่อนการพิจารณาจนกวาทายาท ผูจัดการทรัพยมรดก หรือผูปกครองทรัพย
มรดกจะเขามาเปนคูความแทนที่ผูมรณะ
„ ศาลมีอาํ นาจลงโทษผูกระทําความผิดฐานละเมิดอํานาจศาล
„ การดําเนินกระบวนพิจารณาตองทําเปนภาษาไทย
„ ศาลมีอาํ นาจตรวจสอบใบมอบอํานาจทีค่ ูความหรือบุคคลใดยื่นตอศาลได
„ ศาลมีหนาที่ตอ งจดรายงานกระบวนพิจารณา โดยกฎหมายกําหนดรายการตางๆ ในรายงานกระบวนพิจารณา
การอานและการลงลายมือชื่อ
„ ศาลมีหนาที่ลงทะเบียนสํานวนความ ลงทะเบียนคําพิพากษาและเก็บรักษาสํานวนความ รวมทัง้ กําหนดวิธีการ
แกไขในกรณีที่สํานวนความสูญหายหรือบุบสลาย

1. หลักทั่วไปวาดวยการใชอํานาจและหนาที่ของศาล
„ กฎหมายกําหนดขอบเขตอํานาจศาลไว โดยหามศาลใชอํานาจนอกเขตศาล เวนแตจะเขาขอยกเวน
„ กฎหมายกําหนดหลักเกณฑในการเสนอคําขอหรือคําแถลงตอศาล รวมทั้งวิธีการในการพิจารณาเพื่อสั่งคําขอหรือ
คําแถลง
„ อํานาจศาลในการไกลเกลีย่ เพื่อใหคูความไดตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความ โดยศาลมีอํานาจสั่งใหตวั
ความมาศาลดวยตัวเองเพื่อทําการไกลเกลี่ยได หรือแตงตั้งผูประนีประนอมเพื่อชวยเหลือศาลในการไกลเกลี่ยได
1.1 ขอบเขตอํานาจศาล
มาตรา 15 หามมิใหศาลใชอํานาจนอกเขตศาล เวนแต
(1) ถาบุคคลผูที่จะถูกซักถามหรือถูกตรวจ หรือบุคคลผูเปนเจาของทรัพยหรือสถานที่ซึ่งจะถูกตรวจมิไดยกเรื่องเขตศาลขึ้น
คัดคาน ศาลจะทําการซักถามหรือตรวจดังวานั้นนอกเขตศาลก็ได
(2) ศาลจะออกหมายเรียกคูความหรือบุคคลนอกเขตศาลก็ได สวนการที่จะนําบทบัญญัติมาตรา 31,33,108,109 และ
111 แหงประมวลกฎหมายนี้และมาตรา 147 แหงกฎหมายลักษณะอาญามาใชบังคับไดนั้น ตองใหศาลซึ่งมีอํานาจในเขตศาลนั้น
สลักหลังหมายเสียกอน

40
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

(3) หมายบังคับคดีและหมายของศาลที่ออกใหจับและกักขังบุคคลผูใดตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้อาจบังคับได
ไมวาในที่ใด ๆ
ในกรณีที่มีการบังคับคดีนอกเขตศาลที่ออกหมายบังคับคดี ใหเจาหนี้ตามคําพิพากษายื่นคําแถลงหรือเจา-พนักงานบังคับ
คดีรายงานใหศาลที่จะมีการบังคับคดี ในกรณีเชนวานี้ ใหศาลที่จะมีการบังคับคดีตั้งเจาพนักงานบังคับคดีเพื่อดําเนินการบังคับคดีโดย
ไมชักชา และใหศาลนั้นดําเนินการไปเสมือนหนึ่งเปนศาลที่บังคับคดีแทนตามมาตรา 302 วรรคสาม
ก. ถาศาลใชอํานาจนอกเขตศาล แตผทู ี่จะถูกซักถามหรือถูกตรวจมิไดยกเรือ่ งเขตอํานาจศาลขึ้นคัดคาน
„ ศาลจะทําการซักถามตรวจดังวานั้นนอกเขตศาลก็ได
ข. หมายเรียกใชไดทั่วราชอาณาจักร
ค. หมายบังคับคดีและหมายจับและกักขังบุคคลใดๆ ใชบังคับไดทั่วราชอาณาจักร
มาตรา 16 ถาจะตองทําการซักถาม หรือตรวจ หรือดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ
(1) โดยศาลชั้นตนศาลใด นอกเขตศาลนั้น หรือ
(2) โดยศาลแพงหรือศาลอาญา นอกเขตจังหวัดพระนครและธนบุรีหรือโดยศาลอุทธรณหรือฎีกา
ใหศาลที่กลาวแลวมีอํานาจที่จะแตงตั้งศาลอื่นที่เปนศาลชั้นตนใหทําการซักถาม หรือตรวจภายในบังคับบทบัญญัติมาตรา
102 หรือดําเนินกระบวนพิจารณาแทนได
1.2 กระบวนพิจารณาเมือ่ มีการยื่นของหรือคําแถลง
มาตรา 21 เมื่อคูความฝายใดเสนอคําขอหรือคําแถลงตอศาล
(1) ถาประมวลกฎหมายนี้มิไดบัญญัติวา คําขอหรือคําแถลงจะตองทําเปนคํารองหรือเปนหนังสือ ก็ใหศาลมีอํานาจที่จะ
ยอมรับคําขอหรือคําแถลงที่คูความไดทําในศาลดวยวาจาได แตศาลตองจดขอความนั้นลงไวในรายงาน หรือจะกําหนดใหคูความฝาย
นั้นยื่นคําขอโดยทําเปนคํารอง หรือยื่นคําแถลงเปนหนังสือก็ได แลวแตศาลจะเห็นสมควร
(2) ถาประมวลกฎหมายนี้มิไดบัญญัติไววา คําขออันใดจะทําไดแตฝายเดียว หามมิใหศาลทําคําสั่งในเรื่องนั้น ๆ โดยมิให
คูความอีกฝายหนึ่งหรือคูความอื่น ๆ มีโอกาสคัดคานกอน แตทั้งนี้ตองอยูในบังคับแหงบทบัญญัติของประมวลกฎหมายนี้วาดวยการ
ขาดนัด

(3) ถาประมวลกฎหมายนี้บัญญัติไววา คําขออันใดอาจทําไดแตฝายเดียวแลว ใหศาลมีอํานาจที่จะฟงคูความอีกฝายหนึ่ง


หรือคูความอื่น ๆ กอนออกคําสั่งในเรื่องนั้น ๆ ได เวนแตในกรณีที่คําขอนั้นเปนเรื่องขอหมายเรียกใหใหการหรือเพื่อยึดหรืออายัด
ทรัพยสินกอนคําพิพากษา หรือเพื่อใหออกหมายบังคับ หรือเพื่อจับหรือกักขังจําเลยหรือลูกหนี้ตามคําพิพากษา
(4) ถาประมวลกฎหมายนี้มิไดบัญญัติไววาศาลตองออกคําสั่งอนุญาตตามคําขอที่ไดเสนอตอศาลนั้นโดยไมตองทําการไต
สวนแลว ก็ใหศาลมีอํานาจทําการไตสวนไดตามที่เห็นสมควรกอนมีคําสั่งตามคําขอนั้น
ในกรณีเรื่องใดที่ศาลอาจออกคําสั่งไดเองหรือตอเมื่อคูความมีคําขอใหใชบทบัญญัติอนุมาตรา (2),(3) และ
(4) แหงมาตรานี้บังคับ
ในกรณีเรื่องใดที่คูความไมมีอํานาจขอใหศาลมีคําสั่ง แตหากศาลอาจมีคําสั่งในกรณีเรื่องนั้นไดเอง ใหศาลมีอํานาจภายใน
บังคับบทบัญญัติแหงมาตรา 103 และ 181 (2) ที่จะงดฟงคูความหรืองดทําการไตสวนกอนออกคําสั่งได
ก. วิธีการการเสนอคําขอหรือคําแถลง
1. ทําเปนหนังสือ
2. ทําเปนคํารอง
3. ทําดวยวาจา
ข. การใหโอกาสคูความอีกฝายคัดคานคําขอหรือคําแถลง
ค. การไตสวนคําขอหรือคําแถลงและมีคําสั่ง
1.3 อํานาจศาลในการไกลเกลี่ย

41
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 19 ศาลมีอํานาจสั่งไดตามที่เห็นสมควรใหคูความทุกฝายหรือฝายใดฝายหนึ่งมาศาลดวยตนเอง ถึงแมวาคูความนั้น ๆ จะได


มีทนายความวาตางแกตางอยูแลวก็ดี อนึ่งถาศาลเห็นวาการที่คูความมาศาลดวยตนเองอาจยังใหเกิดความตกลงหรือการ
ประนีประนอมยอมความดังที่บัญญัติไวในมาตราตอไปนี้ก็ใหศาลสั่งใหคูความมาศาลดวยตนเอง
มาตรา 20 ไมวาการพิจารณาคดีจะไดดําเนินไปแลวเพียงใด ใหศาลมีอํานาจที่จะไกลเกลี่ยใหคูความไดตกลงกัน หรือ
ประนีประนอมยอมความกันในขอที่พิพาทนั้น
มาตรา 20 ทวิ เพื่อประโยชนในการไกลเกลี่ย เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งรองขอ ศาลจะสั่งใหดําเนินการเปน
การลับเฉพาะตอหนาตัวความทุกฝายหรือฝายใดฝายหนึ่งโดยจะใหมีทนายความอยูดวยหรือไมก็ได
เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งรองขอ ศาลอาจแตงตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลเปนผู-ประนีประนอม เพื่อ
ชวยเหลือศาลในการไกลเกลี่ยใหคูความไดประนีประนอมกัน
หลักเกณฑและวิธีการในการไกลเกลี่ยของศาล การแตงตั้งผูประนีประนอมรวมทั้งอํานาจหนาที่ของผู-ประนีประนอม ให
เปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
„ คดีแพงเรื่องหนึ่ง ศาลแตงตั้งในนาย ก เปนผูประนีประนอมทําหนาที่ไกลเกลี่ย อยากทราบวาในการไกลเกลี่ย หากนาย ก
ตองการใหตัวโจทยมาศาลดวยตัวเอง จะสามารถทําไดหรือไมอยางไร

2. การคํานวน ขยาย หรือยนระยะเวลา การวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องตนในปญหาขอกฎหมาย


การสั่งวิธีการชั่วคราว การคัดคานของคูความ การพิจารณาที่ผิดระเบียบ และการดําเนิน
กระบวนพิจารณาในตางประเทศ
„ การคํานวณระยะเวลานั้น ป.วิ.พ.ใหคํานวณตาม ป.พ.พ.วาดวยระยะเวลา และใหศาลมีอาํ นาจศาลในการขยาย
หรือยนระยะเวลาตามที่เห็นสมควรเองหรือตามทีค่ ูความรองขอได
„ ศาลมีอาํ นาจวินิจฉัยปญหาขอกฎหมายเบื้องตนที่จะทําใหคดีนั้นเสร็จไปทั้งเรื่องหรือบางประเด็น
„ เมื่อมีคํารองขอใหคุมครองสิทธิของคูค วามในระหวางพิจารณาหรือเพื่อบังคับตามคําพิพากษา ศาลตองสั่งโดยไม
ชักชา
„ คูความมีสิทธิคัดคานการตัง้ คําถาม คําสัง่ หรือคําชี้ขาดของศาลได
„ การพิจารณาในศาลจะตองปฏิบัติตาม ป.วิ.พ.อันเกี่ยวกับความยุติธรรมหรือเกีย่ วดวยความสงบเรียบรอยของ
ประชาชน ดังนี้หากไมปฏิบตั ิตามถือวาเปนการพิจารณาที่ผดิ ระเบียบ เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายที่
เสียหายยื่นคํารอง ศาลมีอาํ นาจที่จะสั่งใหเพิกถอนหรือแกไขการพิจารณาที่ผิดระเบียบหรือสั่งอยางใดตามที่
เห็นสมควรได
„ กรณีที่ศาลจะตองดําเนินกระบวนพิจารณาในตางประเทศ จะตองปฏิบัติตามขอตกลงระหวางประเทศ หรือตาม
กฎหมายที่บัญญัติไวโดยเฉพาะ หากไมมี ใหปฏิบัติตามหลักทั่วไปแหงกฎหมายระหวางประเทศ
2.1 การคํานวน ขยาย หรือยนระยะเวลา
มาตรา 23 เมื่อศาลเห็นสมควรหรือมีคูความฝายที่เกี่ยวของไดยื่นคําขอโดยทําเปนคํารอง ใหศาลมีอํานาจที่จะออกคําสั่งขยายหรือยน
ระยะเวลาตามที่กําหนดไวในประมวลกฎหมายนี้ หรือตามที่ศาลไดกําหนดไว หรือระยะเวลาที่เกี่ยวดวยวิธีพิจารณาความแพงอัน
กําหนดไวในกฎหมายอื่น เพื่อใหดําเนินหรือมิใหดําเนินกระบวนวิธีพิจารณาใด ๆ กอนสิ้นระยะเวลานั้น แตการขยายหรือยนเวลาเชน
วานี้ใหพึงทําไดตอเมื่อมีพฤติการณพิเศษและศาลไดมีคําสั่งหรือคูความมีคําขอขึ้นมากอนสิ้นระยะเวลานั้นเวนแตในกรณีที่มีเหตุ
สุดวิสัย
2.2 การวินิจฉัยชี้ขาดเบือ
้ งตนในปญหาขอกฎหมาย
มาตรา 24 เมือ่ คูความฝายใดยกปญหาขอกฎหมายขึ้นอาง ซึ่งถาหากไดวินิจฉัยใหเปนคุณแกฝายนั้นแลว จะไมตองมีการพิจารณาคดี
ตอไปอีก หรือไมตองพิจารณาประเด็นสําคัญแหงคดีบางขอ หรือถึงแมจะดําเนินการพิจารณาประเด็นขอสําคัญแหงคดีไปก็ไมทําใหได

42
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

ความชัดขึ้นอีกแลว เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งมีคําขอใหศาลมีอํานาจที่จะมีคําสั่งใหมีผลวากอนดําเนินการ
พิจารณาตอไป ศาลจะไดพิจารณาปญหาขอกฎหมายเชนวานี้แลววินิจฉัยชี้ขาดเบื้องตนในปญหานั้น
ถาศาลเห็นวาคําวินิจฉัยชี้ขาดเชนวานี้จะทําใหคดีเสร็จไปไดทั้งเรื่องหรือเฉพาะแตประเด็นแหงคดีบางขอ ศาลจะวินิจฉัยชี้
ขาดปญหาที่กลาวแลวและพิพากษาคดีเรื่องนั้นหรือเฉพาะแตประเด็นที่เกี่ยวของไปโดยคําพิพากษาหรือคําสั่งฉบับเดียวกันก็ได
คําสั่งใด ๆ ของศาลที่ไดออกตามมาตรานี้ ใหอุทธรณและฎีกาไดตามที่บัญญํติไวในมาตรา 227, 228 และ247
„ หลักเกณฑและเงื่อนไข
ก. ตองเปนการดําเนินคดีอยูในศาลชั้นตน
ข. คูความมีคาํ ขอหรือศาลเห็นเอง
ค. การวินจิ ฉัยชี้ขาดเบื้องตนในปญหาขอกฎหมายเปนดุลยพินิจของศาล
ง, ตองเปนการวินิจฉัยชี้ขาดในปญหาขอกฎหมายเทานั้น
จ. กรณีคูความมีคําขอ การชี้ขาดปญหาขอกฎหมายนัน้ ตองเปนคุณแกผูขอ
ฉ. การชี้ขาดปญหาขอกฎหมายจะตองทําใหคดีเสร็จไปทั้งเรื่องหรือประเด็นแหงคดีบางขอ
ช. การอุทธรณคาํ สั่ง
„ คดีแพงเรื่องหนึ่งระหวางพิจารณาของศาลชั้นตน จําเลยยื่นคํารองขอใหศาลวินิจฉัยวาโจทยไมมีอํานาจฟอง แตศาลพิจารณาแลว
เห็นวาโจทยมีอํานาจฟอง ดังนี้ศาลจะชี้ขาดในปญหาขอกฎหมายเบื้องตนไดหรือไม
2.3 การสั่งวิธีการชั่วคราว และการคัดคานของคูค วาม
ก. การสั่งวิธกี ารชั่วคราว
มาตรา 25 ถาคูความฝายใดยื่นคําขอโดยทําเปนคํารองใหศาลสั่งกําหนดวิธีการอยางใด ๆ ที่บัญญัติไวในภาค 4 เพื่อคุมครองสิทธิ
ของคูความในระหวางการพิจารณา หรือเพื่อบังคับตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง ใหศาลมีคําสั่งอนุญาตหรือยกคําขอนั้นเสียโดยไมชักชา
ถาในเวลาที่ยื่นคําขอนั้นศาลจะชี้ขาดคดีไดอยูแลว ศาลจะวินิจฉัยคําขอนั้นในคําพิพากษา หรือในคําสั่งชี้ขาดคดีก็ได
ข. การคัดคานของคูความ
มาตรา 26 ถาศาลไดตั้งขอถาม หรือออกคําสั่งหรือชี้ขาดเกี่ยวดวยการดําเนินคดีเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และคูความฝายใดฝายหนึ่งในคดี
เรื่องนั้นคัดคานขอถามหรือคําสั่ง หรือคําชี้ขาดนั้นวาไมชอบดวยกฎหมาย กอนที่ศาลจะดําเนินคดีตอไป ใหศาลจดขอถามหรือคําสั่ง
หรือคําชี้ขาดที่ถูกคัดคานและสภาพแหงการคัดคานลงไวในรายงาน แตสวนเหตุผลที่ผูคัดคานยกขึ้นอางอิงนั้น ใหศาลใชดุลพินิจจดลง
ไวในรายงาน หรือกําหนดใหคูความฝายที่คัดคานยื่นคําแถลงเปนหนังสือเพื่อรวมไวในสํานวน
2.4 การพิจารณาที่ผิดระเบียบ
มาตรา 27 ในกรณีที่มิไดปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ในขอที่มุงหมายจะยังใหการเปนไปดวยความยุติธรรมหรือที่
เกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชนในเรื่องการเขียน และการยื่นหรือการสงคําคูความหรือเอกสารอื่น ๆ หรือในการพิจารณา
คดี การพิจารณาพยานหลักฐาน หรือการบังคับคดีเมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายที่เสียหายเนื่องจากการที่มิไดปฏิบัติเชนวา
นั้นยื่นคําขอโดยทําเปนคํารอง ใหศาลมีอํานาจที่จะสั่งใหเพิกถอนการพิจารณาที่ผิดระเบียบนั้นเสีย ทั้งหมดหรือบางสวน หรือสั่งแกไข
หรือมีคําสั่งในเรื่องนั้นอยางใดอยางหนึ่งตามที่ศาลเห็นสมควร
ขอคานเรื่องผิดระเบียบนั้น คูความฝายที่เสียหายอาจยกขึ้นกลาวไดไมวาในเวลาใด ๆ กอนมีคําพิพากษา แตตองไมชากวา
แปดวันนับแตวันที่คูความฝายนั้นไดทราบขอความหรือพฤติการณอันเปนมูลแหงขออางนั้น แตทั้งนี้คูความฝายนั้นตองมิไดดําเนินการ
อันใดขึ้นใหมหลังจากที่ไดทราบเรื่องผิดระเบียบแลว หรือตองมิไดใหสัตยาบันแกการผิดระเบียบนั้น ๆ
ถาศาลสั่งใหเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบใด ๆ อันมิใชเรื่องที่คูความละเลยไมดําเนินกระบวนพิจารณาเรื่องนั้น
ภายในระยะเวลาซึ่งกฎหมายหรือศาลกําหนดไว เพียงเทานี้ไมเปนการตัดสิทธิคูความฝายนั้นในอันที่จะดําเนินกระบวนพิจารณานั้น ๆ
ใหมใหถูกตองตามที่กฎหมายบังคับ
หลักเกณฑ
ก. ตองเปนการพิจารณาที่ผิดระเบียบ

43
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

ก. การเขียน
ข. การยื่นหรือการสงคําคูความหรือเอกสารอื่น
ค. การพิจารณาคดี
ง. การพิจารณาพยานหลักฐาน
จ. การบังคับคดี
ข. การเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผดิ ระเบียบ ทําไดสองทางคือ
1. ศาลมีคําสั่งใหเพิกถอนหรือแกไขเอง
2. คูความยื่นคําขอโดยทําเปนคํารองใหศาลสั่งเพิกถอนหรือแกไข
ค. การมีคําสั่ง (ม.27 วรรคสาม)
1. สั่งเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ
2. สั่งแกไขกระบวนพิจารณาทีผ ่ ิดระเบียบ
3. สั่งอยางใดอยางหนึ่งตามทีศ
่ าลเห็นสมควร
2.5 การดําเนินกระบวนพิจารณาในตางประเทศ
มาตรา 34 ถาจะตองดําเนินกระบวนพิจารณาทั้งเรื่องหรือแตบางสวนโดยทางอาศัยหรือโดยรองขอตอเจาหนาที่ในเมืองตางประเทศ
เมื่อไมมีขอตกลงระหวางประเทศอยางใดอยางหนึ่ง หรือไมมีกฎหมายบัญญัติไวสําหรับเรื่องนั้นแลวใหศาลปฏิบัติตามหลักทั่วไปแหง
กฎหมายระหวางประเทศ

3. หลักเกณฑวาดวยการนั่งพิจารณา
„ การนั่งพิจารณา ตองกระทําในศาลนั้นในวันเปดทําการและตามวันเวลาที่ศาลกําหนดไว โดยมีขอยกเวนในกรณี
จําเปนหรือมีเหตุฉุกเฉินที่ศาลจะนั่งพิจารณา ณ สถานที่อื่นและในวันหยุดได
„ การนั่งพิจารณาตองทําตอหนาคูความทีม ่ าศาลและโดยเปดเผย แตมีขอยกเวนทีศ่ าลจะพิจารณาโดยไมเปดเผยได
„ การนั่งพิจารณา ศาลจะตองดําเนินการติดตอกันไปจนกวาจะเสร็จการพิจารณาและพิพากษาคดีเวนแตจะมีการ
เลื่อนคดี
„ หากในระหวางการพิจารณาของศาล โจทกหรือจําเลยซึ่งเปนคูความในคดีถึงแกความตาย ป.วิ.พ.ใหศาลเลื่อนการ
นั่งพิจารณาคดีออกไปจนกวาทายาทหรือผูจัดการทรัพยมรดกหรือผูปกครองทรัพยมรดกของคูความที่ถึงแกความตาย
จะเขามาเปนคูความแทนทีผ่ ูนั้น
„ ศาลมีอาํ นาจในการออกขอกําหนดใหคคู วามหรือบุคคลภายนอกที่มาศาลใหปฏิบัติ และศาลมีอาํ นาจสั่งลงโทษผูที่
กระทําความผิดฐานละเมิดอํานาจศาลได
3.1 การนั่งพิจารณาคดี
„ "การนั่งพิจารณา" หมายความวา การทีศ่ าลออกนั่งเกีย่ วกับการพิจารณาคดี เชน ชี้สองสถาน สืบพยาน ทําการไต
สวน ฟงคําขอตาง ๆ และฟงคําแถลงการณดวยวาจา (ม.1(9))
มาตรา 35 ถาประมวลกฎหมายนี้มิไดบัญญัติไวเปนอยางอื่น การนั่งพิจารณาคดีที่ยื่นไวตอศาลใดจะตองกระทําในศาลนั้นในวันที่
ศาลเปดทําการและตามเวลาทํางานที่ศาลไดกําหนดไว แตในกรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือเปนการจําเปนศาลจะมีคําสั่งกําหนดการนั่ง
พิจารณา ณ สถานที่อื่น หรือในวันหยุดงาน หรือในเวลาใด ๆ ก็ได
มาตรา 36 การนั่งพิจารณาคดีจะตองกระทําในศาลตอหนาคูความที่มาศาลและโดยเปดเผย เวนแต
(1) ในคดีเรื่องใดที่มีความจําเปนเพือ่ รักษาความเรียบรอยในศาลเมื่อศาลไดขับไลคูความฝายใดออกไปเสียจากบริเวณศาล
โดยที่ประพฤติไมสมควรศาลจะดําเนินการนั่งพิจารณาคดีตอไปลับหลังคูความฝายนั้นก็ได

44
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

(2) ในคดีเรื่องใด เพื่อความเหมาะสม หรือเพื่อคุมครองสาธารณประโยชน ถาศาลเห็นสมควรจะหามมิใหมีการเปดเผยซึ่ง


ขอเท็จจริง หรือพฤติการณตาง ๆ ทั้งหมด หรือแตบางสวนแหงคดีซึ่งปรากฎจากคําคูความหรือคําแถลงการณของคูความหรือจากคํา
พยานหลักฐานที่ไดสืบมาแลวศาลจะมีคําสั่งดังตอไปนี้ก็ได
(ก) หามประชาชนมิใหเขาฟงการพิจารณาทั้งหมดหรือแตบางสวนแลวดําเนินการพิจารณาไปโดยไมเปดเผย หรือ
(ข) หามมิใหออกโฆษณาขอเท็จจริงหรือพฤติการณตาง ๆ เชนวานั้น
ในบรรดาคดีทั้งปวงที่ฟองขอหยาหรือฟองชายชูหรือฟองใหรับรองบุตรใหศาลหามมิใหมีการเปดเผยซึ่งขอเท็จจริงหรือ
พฤติการณใด ๆ ที่ศาลเห็นเปนการไมสมควร หรือพอจะเห็นไดวาจะทําใหเกิดการเสียหายอันไมเปนธรรมแกคูความหรือบุคคลที่
เกี่ยวของ
ไมวาศาลจะไดมีคําสั่งตามอนุมาตรา (2) นี้หรือไม คําสั่งหรือคําพิพากษาชี้ขาดคดีของศาลนั้น ตองอานในศาลโดยเปดเผย
และมิใหถือวาการออกโฆษณาทั้งหมดหรือแตบางสวนแหงคําพิพากษานั้นหรือยอเรื่องแหงคําพิพากษาโดยเปนกลางและถูกตองนั้น
เปนผิดกฎหมาย
3.2 การเลือ่ นการนั่งพิจารณาคดี
มาตรา 37 ใหศาลดําเนินการนั่งพิจารณาคดีติดตอกันไปเทาที่สามารถจะทําไดโดยไมตองเลื่อนจนกวาจะเสร็จการพิจารณาและ
พิพากษาคดี
มาตรา 38 ถาในวันที่กําหนดนัดนั่งพิจารณาศาลไมมีเวลาพอที่จะดําเนินการนั่งพิจารณา เนื่องจากกิจธุระของศาล ศาลจะมีคําสั่งให
เลื่อนการนั่งพิจารณาไปในวันอื่นตามที่เห็นสมควรก็ได
มาตรา 39 ถาการที่จะชี้ขาดตัดสินคดีเรื่องใดที่คางพิจารณาอยูในศาลใดจําตองอาศัยทั้งหมดหรือแตบางสวนซึ่งคําชี้ขาดตัดสินบาง
ขอที่ศาลนั้นเองหรือศาลอื่นจะตองกระทําเสียกอน หรือจําตองรอใหเจาพนักงานฝายธุรการวินิจฉัยชี้ขาดในขอเชนนั้นเสียกอน หรือถา
ปรากฏวาไดมีการกระทําผิดอาญาเกิดขึ้นซึ่งอาจมีการฟองรองอันอาจกระทําใหการชี้ขาดตัดสินคดีที่พิจารณาอยูแลวนั้นเปลี่ยนแปลง
ไปหรือในกรณีอื่นใดซึ่งศาลเห็นวาถาไดเลื่อนการพิจารณาไปจักทําใหความยุติธรรมดําเนินไปดวยดีเมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อ
คูความที่เกี่ยวของรองขอศาลจะมีคําสั่งเลื่อนการนั่งพิจารณาตอไปจนกวาจะไดมีการพิพากษาหรือชี้ขาดในขอนั้น ๆ แลวหรือภายใน
ระยะเวลาใด ๆ ตามที่ศาลเห็นสมควรก็ได
ถาศาลมีคําสั่งใหเลื่อนการนั่งพิจารณาดังกลาวแลวโดยไมมีกําหนดเมื่อศาลเห็นสมควรหรือคูความที่เกี่ยวของรองขอศาลจะ
มีคําสั่งใหเริ่มการนั่งพิจารณาตอไปในวันใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได
มาตรา 40 เมื่อศาลไดกําหนดนัดวันนั่งพิจารณาและแจงใหคูความทราบแลว ถาคูความฝายใดฝายหนึ่งมีเหตุจําเปนที่จะตองขอเลื่อน
การนั่งพิจารณาตอไปโดยเสนอคําขอในวันนั้นหรือกอนวันนั้น ศาลจะสั่งใหเลื่อนตอไปก็ได แตเมื่อศาลไดสั่งใหเลื่อนไปแลวคูความฝาย
นั้นจะขอเลื่อนการนั่งพิจารณาอีกไมได เวนแตมีเหตุจําเปนอันไมอาจกาวลวงเสียได และคูความฝายที่จะขอเลื่อนแสดงใหเปนที่พอใจ
ของศาลไดวาถาศาลไมอนุญาตใหเลื่อนตอไปอีก จะทําใหเสียความยุติธรรมก็ใหศาลสั่งเลื่อนคดีตอไปไดเทาที่จําเปน แมจะเกินกวา
หนึ่งครั้ง
ในกรณีที่ศาลสั่งใหเลื่อนการนั่งพิจารณาตอไปตามวรรคหนึ่งตามคําขอของคูความฝายใด ศาลอาจสั่งใหคูความฝายนั้นเสีย
คาปวยการพยานซึ่งมาศาลตามหมายเรียก และเสียคาใชจายในการที่คูความฝายอื่นมาศาล เชน คาพาหนะเดินทางและคาเชาที่พัก
ของตัวความ ทนายความหรือพยานเปนตน ตามจํานวนที่ศาลเห็นสมควร คาปวยการหรือคาใชจายดังกลาวใหตกเปนพับ ถาคูความ
ฝายที่ขอเลื่อนคดีไมชําระคาปวยการหรือคาใชจายตามที่ศาลกําหนด ใหศาลยกคําขอเลื่อนคดีนั้นเสีย
คําขอเลื่อนคดีตามวรรคหนึ่ง ถาไมไดเสนอตอหนาศาลดวยวาจาก็ใหทําเปนคํารองและจะทําฝายเดียวโดยไดรับอนุญาตจาก
ศาลก็ได
มาตรา 41 ถามีการขอเลื่อนการนั่งพิจารณาโดยอางวาตัวความผูแทน ทนายความ พยาน หรือบุคคลอื่นที่ถูกเรียกใหมาศาลไม
สามารถมาศาลไดเพราะปวยเจ็บ เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งมีคําขอฝายเดียวศาลจะมีคําสั่งตั้งเจาพนักงานไป
ทําการตรวจก็ได และถาสามารถหาแพทยไดก็ใหตั้งแพทยไปตรวจดวย ถาผูที่ศาลตั้งใหไปตรวจไดรายงานโดยสาบานตนหรือกลาวคํา
ปฏิญาณแลว และศาลเชื่อวาอาการของผูที่อางวาปวยนั้นไมรายแรงถึงกับจะมาศาลไมได ใหศาลดําเนินกระบวนพิจารณาตาม
บทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยการขาดนัดหรือการไมมาศาลของบุคคลที่อางวาปวยนั้น แลวแตกรณี

45
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

ศาลอาจสั่งใหคูความฝายที่ขอใหไปตรวจตามวรรคหนึ่งหรือคูความใดไปกับผูที่ศาลตั้งใหไปตรวจ คูความนั้นจะมอบใหผูใด
ไปแทนตนก็ได
คาพาหนะและคาปวยการของเจาพนักงานและแพทย ใหถือวาเปนคาฤชาธรรมเนียม และใหนํามาตรา 166 มาใชบังคับ
3.3 การเลือ่ นคดีเพราะเหตุมรณะ
มาตรา 42 ถาคูความฝายใดฝายหนึ่งในคดีที่คางพิจารณาอยูในศาลไดมรณะเสียกอนศาลพิพากษาคดี ใหศาลเลื่อนการนั่งพิจารณา
ไปจนกวาทายาทของผูมรณะหรือผูจัดการทรัพยมรดกของผูมรณะ หรือบุคคลอื่นใดที่ปกครองทรัพยมรดกไวจะไดเขามาเปนคูค วาม
แทนที่ผูมรณะ โดยมีคําขอเขามาเอง หรือโดยที่ศาลหมายเรียกใหเขามา เนื่องจากคูความฝายใดฝายหนึ่งมีคําขอฝายเดียว คําขอเชน
วานี้จะตองยื่นภายในกําหนดหนึ่งปนับแตวันที่คูความฝายนั้นมรณะ
ถาไมมีคําขอของบุคคลดังกลาวมาแลว หรือไมมีคําขอของคูความฝายใดฝายหนึ่งภายในเวลาที่กําหนดไว ใหศาลมีคําสั่ง
จําหนายคดีเรื่องนั้นเสียจากสารบบความ
มาตรา 43 ถาทายาทของผูมรณะ หรือผูจัดการทรัพยมรดกของผูมรณะหรือบุคคลอื่นใดที่ปกครองทรัพยมรดก ประสงคจะขอเขามา
เปนคูความแทนก็ใหยื่นคําขอโดยทําเปนคํารองตอศาลเพื่อการนั้น
ในกรณีเชนนี้ เมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งมีคําขอ ศาลอาจสั่งใหผูที่จะเขามาเปนคูความแทนนั้น
แสดงพยานหลักฐานสนับสนุนคําขอเชนวานั้นได เมื่อไดแสดงพยานหลักฐานดังกลาวนั้นแลว ใหศาลมีคําสั่งอนุญาตหรือไมอนุญาตใน
การที่จะเขามาเปนคูความแทน
มาตรา 44 คําสั่งใหหมายเรียกบุคคลใดเขามาแทนผูมรณะนั้นจะตองกําหนดระยะเวลาพอสมควรเพื่อใหบุคคลนั้นมีโอกาศคัดคานใน
ศาลวาตนมิไดเปนทายาทของผูมรณะ หรือมิไดเปนผูจัดการทรัพยมรดก หรือผูปกครองทรัพยมรดกนั้น
ทายาท ผูจัดการทรัพยมรดก หรือบุคคลผูถูกเรียกไมจําตองปฏิบัติตามหมายเชนวานั้นกอนระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดไว
เพื่อการยอมรับฐานะนั้นไดลวงพนไปแลว
ถาบุคคลที่ถูกศาลหมายเรียกนั้น ยินยอมรับเขามาเปนคูความแทนผูมรณะใหศาลจดรายงานพิสดารไวและดําเนินคดีตอไป
ถาบุคคลนั้นไมยินยอมหรือไมมาศาล ใหศาลทําการไตสวนตามที่เห็นสมควร ถาศาลเห็นวาหมายเรียกนั้นมีเหตุผลฟงไดก็
ใหออกคําสั่งตั้งบุคคลผูถูกเรียกเปนคูความแทนผูมรณะแลวดําเนินคดีตอไป ถาศาลเห็นวาขอคัดคานของบุคคลผูถูกเรียกมีเหตุผลฟง
ได ก็ใหศาลสั่งเพิกถอนหมายเรียกนั้นเสีย และถาคูความฝายใดฝายหนึ่งไมสามารถเรียกทายาทอันแทจริงหรือผูจัดการทรัพยมรดก
หรือบุคคลที่ปกครองทรัพยมรดกของผูมรณะเขามาเปนคูความแทนผูมรณะไดภายในกําหนดเวลาหนึ่งป ก็ใหศาลมีคําสั่งตามที่
เห็นสมควรเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม
มาตรา 45 ถาปรากฎตอศาลวาคูความฝายหนึ่งตกเปนผูไรความสามารถก็ดี หรือผูแทนโดยชอบธรรมของคูความฝายที่เปนผูไร
ความสามารถได มรณะหรือหมดอํานาจเปนผูแทนก็ดี ใหศาลเลื่อนการนั่งพิจารณาไปภายในระยะเวลาอันสมควร เพื่อผูแทนโดยชอบ
ธรรม หรือผูแทนโดยชอบธรรมคนใหม จะไดแจงใหทราบถึงการไดรับแตงตั้งของตนโดยยื่นคําขอเปนคํารองตอศาลเพื่อการนั้นถามิได
ยื่นคําขอดังกลาวมาแลวใหนํามาตรา 56 มาใชบังคับ
ถาผูแทนหรือทนายความของคูความไดมรณะหรือหมดอํานาจเปนผูแทนใหศาลเลื่อนการนั่งพิจารณาไปจนกวาตัวความจะ
ไดยื่นคํารองตอศาลแจงใหทราบถึงการที่ไดแตงตั้งผูแทนหรือทนายความขึ้นใหม หรือคูความฝายนั้นมีความประสงคจะมาวาคดีดวย
ตนเอง แตถาศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคูความอีกฝายหนึ่งมีคําขอฝายเดียวใหศาลมีอํานาจสั่งกําหนดระยะเวลาไวพอสมควร เพื่อใหตัว
ความมีโอกาศแจงใหทราบถึงการแตงตั้งหรือความประสงคของตนนั้นก็ได ในกรณีเชนวานี้ ถาตัวความมิไดแจงใหทราบภายใน
ระยะเวลาที่กําหนดไว ศาลจะมีคําสั่งใหเริ่มการนั่งพิจารณาตอไปในวันใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได
บทบัญญัติแหงวรรคกอนนั้น ใหนํามาใชบังคับแกกรณีที่ผูแทนโดยชอบธรรมของผูไรความสามารถหมดอํานาจลง เพราะเหตุ
ที่บุคคลนั้นไดมีความสามารถขึน้ แลวดวยโดยอนุโลม
3.4 การละเมิดอํานาจศาล
มาตรา 30 ใหศาลมีอํานาจออกขอกําหนดใด ๆ แกคูความฝายใดฝายหนึ่งหรือแกบุคคลภายนอกที่อยูตอหนาศาลตามที่เห็นจําเปน
เพื่อรักษาความเรียบรอยในบริเวณศาล และเพื่อใหกระบวนพิจารณาดําเนินไปตามเที่ยงธรรมและรวดเร็ว อํานาจเชนวานี้ ใหรวมถึง
การสั่งหามคูความมิใหดําเนินกระบวนพิจารณาในทางกอความรําคาญ หรือในทางประวิงใหชักชาหรือในทางฟุมเฟอยเกินสมควร
มาตรา 31 ผูใดกระทําการอยางใด ๆ ดังกลาวตอไปนี้ ใหถือวากระทําผิดฐานละเมิดอํานาจศาล

46
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

(1) ขัดขืนไมปฏิบัติตามขอกําหนดของศาลตามมาตรากอนอันวาดวยการรักษาความเรียบรอย หรือประพฤติตนไมเรียบรอย


ในบริเวณศาล
(2) เมื่อไดมีคําขอและไดรับอนุญาตจากศาลใหฟองหรือสูคดีอยางคนอนาถาแลว ปรากฎวาไดนําคดีนั้นขึ้นสูศาลโดยตน
รูอยูแลววาไมมีมูลหรือไดสาบานตัวใหถอยคําตามมาตรา 156 วาตนไมมีทรัพยสินพอที่จะเสียคาฤชาธรรมเนียมได ซึ่งเปนความเท็จ
(3) เมื่อรูวาจะมีการสงคําคูความหรือสงเอกสารอื่น ๆ ถึงตน แลวจงใจไปเสียใหพน หรือหาทางหลีกเลี่ยงที่จะไมรับคํา
คูความหรือเอกสารนั้นโดยสถานอื่น
(4) ตรวจเอกสารทั้งหมด หรือฉบับใดฉบับหนึ่ง ซึ่งอยูในสํานวนความหรือคัดเอาสําเนาเอกสารเหลานั้นไป โดยฝาฝนตอ
บทบัญญัติมาตรา 54
(5) ขัดขืนไมมาศาล เมื่อศาลไดมีคําสั่งตามมาตรา 19 หรือมีหมายเรียกตามมาตรา 277
มาตรา 32 ผูใดเปนผูประพันธ บรรณาธิการ หรือผูพิมพโฆษณาซึ่งหนังสือพิมพ หรือสิ่งพิมพอันออกโฆษณาตอประชาชน ไมวา
บุคคลเหลานั้นจะไดรูถึงซึ่งขอความหรือการออกโฆษณาแหงหนังสือพิมพ หรือสิ่งพิมพเชนวานั้นหรือไมใหถือวาไดกระทําผิดฐาน
ละเมิดอํานาจศาลในกรณีอยางใดอยางหนึ่งในสองอยางดังจะกลาวตอไปนี้
(1) ไมวาเวลาใด ๆ ถาหนังสือพิมพหรือสิ่งพิมพเชนวามานั้นไดกลาวหรือแสดงไมวาโดยวิธีใด ๆ ซึ่งขอความหรือความเห็น
อันเปนการเปดเผยขอเท็จจริงหรือพฤติการณอื่น ๆ แหงคดี หรือกระบวนพิจารณาใด ๆ แหงคดี ซึ่งเพื่อความเหมาะสมหรือเพื่อ
คุมครองสาธารณประโยชน ศาลไดมีคําสั่งหามการออกโฆษณาสิ่งเหลานั้น ไมวาโดยวิธีเพียงแตสั่งใหพิจารณาโดยไมเปดเผย หรือโดย
วิธีหา มการออกโฆษณาโดยชัดแจง
(2) ถาหนังสือพิมพหรือสิ่งพิมพ ไดกลาวหรือแสดงไมวาโดยวิธีใด ๆ ในระหวางการพิจารณาแหงคดีไปจนมีคําพิพากษาเปน
ที่สุด ซึ่งขอความหรือความเห็นโดยประสงคจะใหมีอิทธิพลเหนือความรูสึกของประชาชนหรือเหนือศาลหรือเหนือคูความหรือเหนือ
พยานแหงคดีซึ่งพอเห็นไดวาจะทําใหการพิจารณาคดีเสียความยุติธรรมไปเชน
ก. เปนการแสดงผิดจากขอเท็จจริงแหงคดี หรือ
ข. เปนรายงานหรือยอเรื่องหรือวิภาค ซึ่งกระบวนพิจารณาแหงคดีอยางไมเปนกลางและไมถูกตอง หรือ
ค. เปนการวิภาคโดยไมเปนธรรม ซึ่งการดําเนินคดีของคูความหรือคําพยานหลักฐาน หรือนิสัยความประพฤติของคูความ
หรือพยาน รวมทั้งการแถลงขอความอันเปนการเสื่อมเสียตอชื่อเสียงของคูความหรือพยาน แมถึงวาขอความเหลานั้นจะเปนความจริง
หรือ
ง. เปนการชักจูงใหเกิดมีคําพยานเท็จ
เพื่อประโยชนแหงมาตรานี้ ใหนําวิเคราะหศัพททั้งปวงในมาตรา 4 แหงพระราชบัญญัติการพิมพ พุทธศักราช 2476 มาใช
บังคับ
มาตรา 33 ถาคูความฝายใดหรือบุคคลใดกระทําความผิดฐานละเมิดอํานาจศาลใด ใหศาลนั้นมีอํานาจสั่งลงโทษโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง
หรือทั้งสองวิธีดังจะกลาวตอไปนี้ คือ
(ก) ไลออกจากบริเวณศาล หรือ
(ข) ใหลงโทษจําคุก หรือปรับ หรือทั้งจําทั้งปรับ
การไลออกจากบริเวณศาลนั้นใหกระทําไดชั่วระยะเวลาที่ศาลนั่งพิจารณาหรือภายในระยะเวลาใด ๆ ก็ไดตามที่ศาล
เห็นสมควร เมือ่ จําเปนจะเรียกใหตํารวจชวยจัดการก็ได
ในกรณีกําหนดโทษจําคุกและปรับนั้นใหจําคุกไดไมเกินหกเดือนหรือปรับไมเกินหารอยบาท
„ นาย ก กลาวอางกับนาย ข ที่บานของนาย ข วา ตนสามารถติดตอผูพิพากษาที่พิจารณาคดีของนาย ข และสามารถทําใหนาย ข
ชนะคดีได โดยใหนาย ข มอบเงินจํานวน 50,000 บาท เพื่อนาย ก จะนําไปใหผูพิพากษาดังกลาว นาย ข อยากชนะคดีจึงตกลงจะนํา
เงินจํานวน 50,000 บาทใหนาย ก วันตอมานาย ข พบนาย ก ในบริเวณศาล นาย ก จึงทวงถามถึงเงินที่ตกลงกันไว ดังนี้การกระทํา
ของนาย ก เปนความผิดฐานละเมิดอํานาจศาลหรือไม

4. รายงานและสํานวนความ

47
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ กระบวนการพิจารณาตองทําเปนภาษาไทย หากไมเขาใจภาษาไทย เปนใบหรือหูหนวก ตองจัดลามให และตอง


เขียนดวยหมึกหรือพิมพดดี หากเปนภาษาตางประเทศตองมีคําแปล
„ ใบมอบอํานาจที่ยื่นตอศาล ศาลจะสั่งใหคูความหรือผูย ื่นสาบานตัววาเปนใบมอบอํานาจที่แทจริงได และถาศาล
สงสัยวาเปนใบมอบอํานาจแทจริงหรือไม ศาลก็มีอาํ นาจสั่งใหยื่นใบมอบอํานาจใหมโดยตองมีบุคคลที่กฎหมาย
กําหนดไวเปนพยานดวย
„ กฎหมายกําหนดใหศาลตองจดรายงานกระบวนพิจารณาทุกครั้ง และมีรายการตามที่กฎหมายกําหนด รวมทั้งตอง
รวบรวมรายงานและเอกสารตางๆ เปนสํานวนแลวเก็บรักษาในที่ปลอดภัย จัดทําสารบบ การเก็บรักษาสํานวนและ
การปลดเผาสํานวน
„ คูความ พยาน และบุคคลที่เกี่ยวของมีสท
ิ ธิขอตรวจหรือคัดสําเนาเอกสารในสํานวน ตามเงื่อนไขที่กฎหมาย
กําหนด
„ การดําเนินการแกไขกรณีทสี่ ํานวนความสูญหาย หรือบุบสลาย
4.1 สํานวนความและใบมอบอํานาจ
ก. สํานวนความ (ม.46)
มาตรา 46 บรรดากระบวนพิจารณาเกี่ยวดวยการพิจารณาและการชี้ขาดตัดสินคดีแพงทั้งหลายซึ่งศาลเปนผูทํานั้น ใหทําเปน
ภาษาไทย
บรรดาคําคูความและเอกสารหรือแผนกระดาษไมวาอยางใด ๆ ที่คูความหรือศาลหรือเจาพนักงานศาลไดทําขึ้นซึ่งประกอบ
เปนสํานวนของคดีนั้นใหเขียนเปนหนังสือไทยและเขียนดวยหมึกหรือดีดพิมพหรือตีพิมพ ถามีผิดตกที่ใดหามมิใหขูดลบออกแตใหขีด
ฆาเสียแลวเขียนลงใหม และผูเขียนตองลงชื่อไวที่ริมกระดาษ ถามีขอความตกเติมใหผูตกเติมลงลายมือชื่อ หรือลงชื่อยอไวเปนสําคัญ
ถาตนฉบับเอกสารหรือแผนกระดาษไมวาอยางใด ๆ ที่สงตอศาลไดทําขึ้นเปนภาษาตางประเทศ ใหศาลสั่งคูความฝายที่สง
ใหทําคําแปลทั้งฉบับหรือเฉพาะแตสวนสําคัญ โดยมีคํารับรองมายื่นเพื่อแนบไวกับตนฉบับ
ถาคูความฝายใดหรือบุคคลใดที่มาศาลไมเขาใจภาษาไทยหรือเปนใบหรือหูหนวกและอานเขียนหนังสือไมได ใหใหคูความ
ฝายที่เกี่ยวของจัดหาลาม
ข. ใบมอบอํานาจ (ม.47)
มาตรา 47 ถาคูความหรือบุคคลใดยื่นใบมอบอํานาจตอศาล ใหศาลมีอํานาจที่จะสั่งใหคูความหรือบุคคลนั้น ใหถอยคําสาบานตัววา
เปนใบมอบอํานาจอันแทจริง
ถาศาลมีเหตุอันควรสงสัยวา ใบมอบอํานาจที่ยื่นนั้นจะไมใชใบมอบอํานาจอันแทจริงก็ดี หรือเมื่อคูความอีกฝายหนึ่งยื่นคํา
รองแสดงเหตุอันควรสงสัยวาใบมอบอํานาจนั้นจะมิใชใบมอบอํานาจอันแทจริงก็ดี ใหศาลมีอํานาจที่จะสั่งใหคูความหรือบุคคลที่
เกี่ยวของนั้นยื่นใบมอบอํานาจตามที่บัญญัติไวตอไปนี้
ถาใบมอบอํานาจนั้นไดทําในราชอาณาจักรสยามตองใหนายอําเภอเปนพยาน ถาไดทําในเมืองตางประเทศที่มีกงสุลสยาม
ตองใหกงสุลนั้นเปนพยานถาไดทําในเมืองตางประเทศที่ไมมีกงสุลสยาม ตองใหบุคคลเหลานี้เปนพยานคือเจาพนักงานโนตารีปบ
ลิกหรือแมยิสเตร็ด หรือบุคคลอื่นซึ่งกฎหมายแหงทองถิ่นตั้งใหเปนผูมีอํานาจเปนพยานในเอกสารเชนวานี้ และตองมีใบสําคัญของ
รัฐบาลตางประเทศที่เกี่ยวของแสดงวาบุคคลที่เปนพยานนั้นเปนผูมีอาํ นาจกระทําการได
บทบัญญัติแหงมาตรานี้ใหใชบังคับแกใบสําคัญและเอกสารอื่น ๆ ทํานองเชนวามานี้ ซึ่งคูความจะตองยื่นตอศาล
4.2 หนาที่ของศาลเกีย่ วกับเอกสารและสํานวนความ
ก. การทํารายงานกระบวนพิจารณา (ม.48, 49, 50)
มาตรา 48 ในคดีทุกเรื่อง ใหเปนหนาที่ของศาลตองจดแจงรายงานการนั่งพิจารณาหรือกระบวนพิจารณาอื่น ๆ ของศาลไวทุกครั้ง
รายงานนั้นตองมีรายการตอไปนี้
(1) เลขคดี
(2) ชือ่ คูความ

48
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

(3) สถานที่ วัน และเวลาที่ศาลนั่งพิจารณาหรือดําเนินกระบวนพิจารณา


(4) ขอความโดยยอเกี่ยวดวยเรื่องที่กระทําและรายการขอสําคัญอื่น ๆ
(5) ลายมือชื่อผูพิพากษา
เมื่อมีกฎหมายบัญญัติไวหรือเมื่อศาลเห็นเปนการจําเปนก็ใหศาลจดบันทึก (โดยจดรวมไวในรายงานพิสดารหรืออีกสวน
หนึ่งตางหาก) ซึ่งคําแถลงหรือคําคัดคานในขอสําคัญ ขอตกลง คําชี้ขาด คําสั่ง หรือการอื่น ๆ หรือกระบวนพิจารณาที่ทําดวยวาจา
ตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้
มาตรา 49 ในสวนที่เกี่ยวดวยคําแถลงหรือคําคัดคานของคูความหรือคําใหการของพยานหรือผูเชี่ยวชาญหรือขอตกลงในการสละ
สิทธิของคูความนั้นใหถือวารายงานของศาลเปนพยานหลักฐานเบื้องตนไดตอเมื่อศาลไดอานใหคูความหรือบุคคลที่เกี่ยวของฟงและได
จดลงไวซึ่งขอแกไขเพิ่มเติมตามที่ขอรองหรือที่ชี้แจงใหมทั้งคูความหรือบุคคลนั้น ๆ ไดลงลายมือชื่อไวเปนสําคัญ
มาตรา 50 ถาคูความฝายใด หรือบุคคลใดจะตองลงลายมือชื่อในรายงานใดเพื่อแสดงรับรูรายงานนั้น หรือจะตองลงลายมื่อชื่อใน
เอกสารใดเพื่อรับรองการอานหรือการสงเอกสารเชนวานั้น
(1) การลงลายมือพิมพนิ้วมือ แกงได หรือเครื่องหมายอยางอื่นที่ไดทําตอหนาศาลนั้น ไมจําตองมีลายมือชื่อของพยานสอง
คนรับรอง
(2) ถาคูความ หรือบุคคลที่จะตองลงลายมือชื่อในรายงานดังกลาวแลวลงลายมือชื่อไมได หรือไมยอมลงลายมือชื่อ ใหศาล
ทํารายงานจดแจงเหตุที่ไมมีลายมือชื่อเชนนั้นไวแทนการลงลายมือชื่อ
ข. ระบบสํานวนความของศาล (ม.51)
มาตรา 51 ใหเปนหนาที่ของศาลที่จะปฏิบัติดังนี้
(1) ลงทะเบียนคดีในสารบบความของศาลตามลําดับที่รับไว กลาวคือตามวันและเวลาที่ยื่นหรือเสนอคําฟองเพื่อเริ่มคดีตอ
ศาล ตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายนี้
(2) ลงทะเบียนคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดีทั้งหมดของศาลในสารบบคําพิพากษา
(3) รวบรวมรายงานและเอกสารที่สงตอศาลหรือศาลทําขึ้นกับคําสั่งและคําพิพากษาของศาล ไวในสํานวนความเรื่องนั้น
แลวเก็บรักษาไวในที่ปลอดภัย
(4) คัดสําเนาคําพิพากษา คําสั่ง ชี้ขาดคดี แลวเก็บรักษาไวเรียงตามลําดับและในที่ปลอดภัย
(5) เก็บรักษาสารบบและสมุดของศาล เชนสารบบความและสารบบคําพิพากษาไวในที่ปลอดภัย
ค. การทําลายสํานวน (ม.52)
มาตรา 52 เมื่อคําพิพากษาหรือคําสั่งอันเปนเด็ดขาดถึงที่สุดแลวเรื่องใดไดมีการปฏิบัติตาม หรือบังคับไปแลว หรือระยะเวลาที่
กําหนดไวเพื่อการบังคับนั้นไดลวงพนไปแลว ใหศาลที่เก็บสํานวนนั้นไว จัดสงสํานวนนั้นไปยังกระทรวงยุติธรรม เพื่อเก็บรักษาไวหรือ
จัดการตามกฎกระทรวงวาดวยการนั้น
ง. สํานวนความสูญหายหรือบุบสลาย (ม.53)
มาตรา 53 ถารายงาน คําพิพากษา คําสั่งหรือเอกสารอื่นใดที่รวมไวในสํานวนความซึ่งยังอยูในระหวางพิจารณา หรือรอการบังคับ
ของศาลสูญหายไป หรือบุบสลายทั้งหมดหรือแตบางสวน เปนการขัดของตอการชี้ขาดตัดสินหรือบังคับคดีเมื่อศาลเห็นสมควร หรือ
เมื่อคูความฝายที่เกี่ยวของยื่นคําขอโดยทําเปนคํารอง ใหศาลสั่งคูความหรือบุคคลผูถือเอกสารนั้น นําสําเนาทีร่ ับรองถูกตองมาสงตอ
ศาลถาหากสําเนาเชนวานัน้ ทั้งหมดหรือบางสวนหาไมได ใหศาลมีคําสั่งใหพิจารณาคดีนั้นใหม หรือมีคําสั่งอยางอื่นตามที่เห็นสมควร
เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม
จ. การตรวจสํานวนความและการคัดสําเนาเอกสาร (ม.54)
มาตรา 54 คูความก็ดี หรือพยานในสวนที่เกี่ยวกับคําใหการของตนในคดีนั้นก็ดี หรือบุคคลภายนอกผูมีสวนไดเสียโดยชอบหรือมี
เหตุผลอันสมควรก็ดีอาจรองขออนุญาตตอศาลไมวาเวลาใดในระหวาง หรือภายหลังการพิจารณาเพื่อตรวจเอกสารทั้งหมดหรือแตบาง
ฉบับในสํานวนเรื่องนั้น หรือขอคัดสําเนาหรือขอใหจาศาลคัดสําเนาและรับรอง แตทั้งนี้
(1) หามมิใหอนุญาตเชนวานั้นแกบุคคลอื่นนอกจากคูความหรือพยานในคดีที่พิจารณาโดยไมเปดเผย หรือในคดีที่ศาลไดมี
คําสั่งหามการตรวจหรือคัดสําเนาเอกสารในสํานวนทั้งหมดหรือบางฉบับเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือผลประโยชนทั่วไปของ

49
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

ประชาชน ถึงแมผูขอจะเปนคูความหรือพยานก็หามมิใหอนุญาตดุจกัน แตทั้งนี้ไมตัดสิทธิของคูความในการที่จะตรวจหรือคัดสําเนาคํา


พิพากษาหรือคําสั่งในคดีนั้น หรือในการที่จะขอสําเนาอันรับรองถูกตอง
(2) หามมิใหอนุญาตใหคูความคัดถอยคําพยานฝายตนจนกวาจะไดสืบพยานฝายตนเสร็จสิ้นแลว เวนแตจะมีพฤติการณ
พิเศษที่จะใหอนุญาต
เมื่อไดใหอนุญาตแลว การตรวจ หรือการคัดสําเนานั้น ใหผูขอหรือบุคคลซึ่งไดรับการแตงตั้งจากผูขอโดยชอบเปนผูคัดตาม
เวลาและเงื่อนไขซึ่งจาศาลจะไดกําหนดใหเพื่อความสะดวกของศาลหรือเพื่อความปลอดภัยของเอกสารนั้น
หามมิใหคัดสําเนาคําพิพากษาหรือคําสั่ง กอนที่ไดอานคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นและกอนที่ไดลงทะเบียนในสารบบคํา
พิพากษา
ในกรณีที่ศาลไดทําคําอธิบายเพิ่มเติมกลัดไวกับรายงานแหงคําสั่งหรือคําพิพากษาซึ่งกระทําดวยวาจาตามบทบัญญัติมาตรา
141 คําอธิบายเพิ่มเติมเชนวานั้นคูความจะขอตรวจหรือขอคัดสําเนา หรือขอสําเนาเสมือนเปนสวนหนึ่งแหงคําสั่งหรือคําพิพากษาก็
ได
สําเนาที่รับรองนั้น ใหจาศาลเปนผูรับรองโดยเรียกคาธรรมเนียมตามที่กําหนดไวในอัตราทายประมวลกฎหมายนี้ ในกรณีที่
ผูขอตรวจเอกสารหรือขอคัดสําเนาดวยตนเอง ไมตองเรียกคาธรรมเนียม

50
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

6. หลักทัว่ ไปวาดวยการชี้ขาดตัดสินคดี
„ ศาลเปนผูมีอาํ นาจชี้ขาดตัดสินคดี โดยทําเปนคําพิพากษาหรือคําสั่ง
„ จําเลยชอบที่จะชําระหนี้กอนศาลมีคําพิพากษาได โดยถาเปนหนี้เงินก็นําเงินมาวางศาล ถาเปนหนี้อยางอื่นก็แจง
ใหศาลทราบ
„ ระหวางดําเนินคดี คูค วามอาจตกลงหรือประนีประนอมยอมความกันเมื่อใดก็ได

1. คําพิพากษาและคําสั่ง
„ ศาลมีอาํ นาจสั่งอนุญาตหรือยกคําขอซึ่งคูความยื่นในระหวางพิจารณา
„ ในเรื่องประเด็นแหงคดี ศาลมีอํานาจวินจิ ฉัยชี้ขาดโดยทําเปนคําพิพากษาหรือคําสั่ง
„ ศาลมีอาํ นาจสั่งจําหนายคดีจากสารบบความตามที่กฎหมายบัญญัติไวโดยไมตองมีคําวินิจฉัยชี้ขาดในประเด็นใน
เรื่องนั้นๆ ถาไมจําหนายคดี ศาลก็ชี้ขาดคดีโดยทําเปนคําพิพากษาหรือคําสั่งในวันสิ้นการพิจารณา
„ ศาลที่รับคําฟองจะปฏิเสธไมยอมพิพากษาหรือมีคําสัง่ ชี้ขาดคดีโดยอางวาไมมีบทบัญญัติแหงกฎหมายทีจ่ ะใช
บังคับแกคดี หรือวาบทบัญญัติแหงกฎหมายที่จะใชบังคับนั้นเคลือบคลุม หรือไมบริบูรณไมได
1.1 คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาล
มาตรา 131 คดีที่ยื่นฟองตอศาลนั้น ใหศาลปฏิบัติดังนี้
(1) ในเรื่องคําขอซึ่งคูความยื่นในระหวางการพิจารณาคดีนั้นโดยทําเปนคํารองหรือขอดวยวาจาก็ดี ใหศาลมีคําสั่งอนุญาต
หรือยกเสียซึ่งคําขอเชนวานั้น โดยทําเปนหนังสือหรือดวยวาจาก็ได แตถาศาลมีคําสั่งดวยวาจาใหศาลจดคําสั่งนั้นไวในรายงานพิสดาร
(2) ในเรื่องประเด็นแหงคดี ใหศาลวินิจฉัยชี้ขาดโดยทําเปนคําพิพากษาหรือคําสั่ง หรือใหจําหนายคดีเสียจากสารบบความ
ตามที่บัญญัติไวในลักษณะนี้
1.2 การจําหนายคดี
มาตรา 132 ใหศาลมีคําสั่งใหจําหนายคดีเสียจากสารบบความได โดยไมตองมีคําวินิจฉัยชี้ขาดในประเด็นเรื่อง
นั้น และใหกําหนดเงื่อนไขในเรื่องคาฤชาธรรมเนียมตามที่เห็นสมควร
(1) เมื่อโจทกทิ้งฟอง ถอนฟอง หรือไมมาศาลในวันนัดพิจารณา ดังที่บัญญัติไวในมาตรา 174 มาตรา 175 และมาตรา
193 ทวิ
(2) เมื่อโจทกไมหาประกันมาใหดังที่บัญญัติไวในมาตรา 253 และ 288 หรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่ง หรือทั้งสองฝาย
ขาดนัดดังที่บัญญัติไวในมาตรา 198, 200 และ 201
(3) ถาความมรณะของคูความฝายใดฝายหนึ่งยังใหคดีนั้นไมมีประโยชนตอไปหรือถาไมมีผูใดเขามาแทนที่คูความฝายที่
มรณะดังที่บัญญัติไวในมาตรา 42
(4) เมื่อศาลไดมีคําสั่งใหพิจารณาคดีรวมกันหรือใหแยกกัน ซึ่งเปนเหตุใหตองโอนคดีไปยังอีกศาลหนึ่งดังที่บัญญัติไวใน
มาตรา 28 และ 29
ก. มิใชเปนการวินิจฉัยชี้ขาดในประเด็นแหงคดี
ข. เหตุในการมีคําสั่งจําหนายคดี
1. เหตุตามมาตรา 132(1) ถึง (4)
2. เหตุอื่นนอกจากมาตรา 132(1) ถึง (4)
a. คดีไมมีประโยชนที่จะทําการพิจารณาอีกตอไป
b. ฟองโจทกไมชอบที่จะฟองรวมกันแลว
ค. การสั่งจําหนายคดี

51
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

1. การสั่งจําหนายคดีเปนดุลพินิจของศาล
2. คําสั่งจําหนายคดีตามมาตรา 132 ศาลตองสั่งในเรื่องคาฤชาธรรมเนียมตามสมควร
3. การสั่งจําหนายคดีอาจจะเปนการจําหนายทั้งคดี หรือบางสวน หรือบางคนก็ได
ง. ผลของคําสั่งจําหนายคดี
„ คําสั่งจําหนายคดีถือวาเปนคําสั่งที่มไิ ดมีการวินิจฉัยชี้ขาดประเด็นแหงคดี โจทกจึงสามารถนํากลับมาฟองใหมได
ไมเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้าํ หรือฟองซ้ํา
1.3 ศาลจะปฏิเสธไมยอมพิพากษาหรือมีคําสั่งชีข ้ าดคดีไมได
มาตรา 134 ไมวากรณีใด ๆ หามมิใหศาลที่รับฟองคดีไวปฏิเสธไมยอมพิพากษาหรือมีคําสั่งชี้ขาดคดีโดยอางวา ไมมีบทบัญญัติแหง
กฎหมายที่จะใชบังคับแกคดีหรือวาบทบัญญัติแหงกฎหมายที่จะใชบังคับนั้นเคลือบคลุมหรือไมบริบูรณ

2. การชําระหนี้กอนมีคําพิพากษา
„ จําเลยวางเงินตอศาลกอนมีคําพิพากษา โดยยอมรับผิดหรือไมยอมรับผิดก็ได
„ จําเลยชอบที่จะชําระหนี้อยางอื่นนอกจากเงินไดกอนศาลมีคําพิพากษา
2.1 การวางเงินกอนกอนมีคําพิพากษา
มาตรา 135 ในคดีที่เรียกรองใหชําระหนี้เปนเงิน หรือมีการเรียกรองใหชําระหนี้เปนเงินรวมอยูดวย ไมวาเวลาใด ๆ กอนมีคํา
พิพากษาจําเลยจะนําเงินมาวางศาลเต็มจํานวนที่เรียกรองหรือแตบางสวน หรือตามจํานวนเทาที่ตนคิดวาพอแกจํานวนที่โจทกมีสิทธิ
เรียกรองก็ได ทั้งนี้ โดยยอมรับผิดหรือไมยอมรับผิดก็ได
มาตรา 136 ในกรณีที่จําเลยวางเงินตอศาลโดยยอมรับผิด ถาโจทกพอใจยอมรับเงินที่จําเลยวางโดยไมติดใจเรียกรองมากกวานั้น และ
คดีไมมีประเด็นที่จะตองวินิจฉัยตอไปอีก ใหศาลพิพากษาคดีไปตามนั้น คําพิพากษานั้นเปนที่สุด แตถาโจทกไมพอใจในจํานวนเงินที่
จําเลยวางและยังติดใจที่จะดําเนินคดีเพื่อใหจําเลยตองรับผิดในจํานวนเงินตามที่เรียกรองตอไปอีก จําเลยมีสิทธิถอนเงินที่วางไวนั้นได
โดยใหถอื เสมือนวามิไดมีการวางเงิน หรือจําเลยจะยอมใหโจทกรับเงินนั้นไปก็ได ในกรณีหลังนี้ โจทกจะรับเงินไปหรือไมก็ตามจําเลย
ไมตองเสียดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่วาง แมวาจําเลยมีความรับผิดตามกฎหมายจะตองเสีย ทั้งนี้ นับแตวันที่จําเลยยอมใหโจทกรับเงิน
ไป
ในกรณีที่จําเลยวางเงินตอศาลโดยไมยอมรับผิด จําเลยจะรับเงินนั้นคืนไปกอนที่มีคําพิพากษาวาจําเลยไมตองรับผิดไมได
การวางเงินเชนวานี้ ไมเปนเหตุระงับการเสียดอกเบี้ย หากจําเลยมีความรับผิดตามกฎหมายจะตองเสีย
ก. วิธีการวางเงิน
„ ตองเปนการวางเงินตอศาลเพื่อชําระหนีแ้ กโจทยกอนศาลชั้นตนพิพากษา และตองใหโจทกรับเงินนั้นไปได
ข. ผลของการวางเงิน
1) กรณีจาํ เลยวางเงินโดยยอมรับผิด – ถาโจทกพอใจ และคดีไมมีประเด็นอื่นอีก คําพิพากษาดังกลาวเปนที่สุด
จะอุทธรณหรือฎีกาอีกไมได
2) กรณีจาํ เลยไมยอมรับผิด – จําเลยจะขอรับเงินคืนไปไมได จนกวาศาลจะพิพากษาวาจําเลยไมตอ  งรับผิดตอ
โจทก และไมพนความรับผิดในเรื่องดอกเบี้ย
„ โจทยฟองจําเลยใหชําระหนี้เงินกู 200,000 บาท กับใหจําเลยสงมอบรถจักรยานยนตคืนโจทก หากคืนไมไดใหใชราคา 30,000
บาท จําเลยใหการวากูเงินโจทกไปจริง 200,000 บาท สวนรถจักรยานยนตที่ยืมมาคืนใหโจทกไปแลว ระหวางพิจารณาจําเลยนําเงิน
200,000 บาท มาวางศาลเพื่อใหโจทกรับไปได ศาลสอบโจทกแถลงยอมรับเงินที่จําเลยวาง โดยไมติดใจเรียกรองใหจําเลยคืน
รถจักรยานยนตใหแกโจทกอีกตอไป ดังนี้ ศาลจะพิพากษาอยางไร
2.2 การชําระหนี้อยางอื่นนอกจากใหชาํ ระเงิน

52
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 137 ในคดีที่เรียกรองใหชําระหนี้อยางอื่นนอกจากใหชําระเงินจําเลยชอบที่จะทําการชําระหนี้นั้นไดโดยแจงใหศาลทราบใน


คําใหการหรือแถลงโดยหนังสือเปนสวนหนึ่งตางหากก็ได
ถาโจทกยอมรับการชําระหนี้นั้นเปนการพอใจเต็มตามที่เรียกรองแลวใหศาลพิพากษาคดีไปตามนั้น และคําพิพากษานั้นให
เปนที่สุด
ถาโจทกไมพอใจในการชําระหนี้เชนวานั้น โจทกชอบที่จะดําเนินคดีนั้นตอไปได
„ โจทกฟองวา จําเลยเชาบานโจทกครบกําหนดตามสัญญาแลว จําเลยไมยอมออกไปจากบานที่เชา ขอใหขับไลจําเลยและบริวาร
ออกไปจากบานโจทก จําเลยยื่นคําใหการวา จะออกจากบานโจทกที่เชาอยูภายใน 3 เดือน และขนยายทรัพยสินพรอมบริวารออกไป
ดวย ดังนี้ ทานเปนศาลจะดําเนินการอยางไร

3. การตกลงหรือประนีประนอมยอมความ
„ คูความจะตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันในประเด็นแหงคดีโดยไมฝา ฝนตอกฎหมายเมื่อใดก็ได
„ กฎหมายหามมิใหคูความอุทธรณฎีกาคําพิพากษาตามยอม เวนแตจะเขาขอยกเวนตามที่กฎหมายบัญญัติไว
3.1 หลักเกณฑการตกลงหรือประนีประนอมยอมความ
มาตรา 138 ในคดีที่คูความตกลงกันหรือปรานีประนอมยอมความกันในประเด็นแหงคดีโดยมิไดมีการถอนคําฟองนั้นและขอตกลง
หรือการปรานีประนอมยอมความกันนั้นไมเปนการฝาฝนตอกฎหมาย ใหศาลจดรายงานพิสดารแสดงขอความแหงขอตกลงหรือการ
ประนีประนอมยอมความเหลานั้นไว แลวพิพากษาไปตามนั้น
หามมิใหอุทธรณคําพิพากษาเชนวานี้ เวนแตในเหตุตอไปนี้
(1) เมื่อมีขอกลาวอางวาคูความฝายใดฝายหนึ่งฉอฉล
(2) เมื่อคําพิพากษานั้นถูกกลาวอางวาเปนการละเมิดตอบทบัญญัติแหงกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของ
ประชาชน
(3) เมื่อคําพิพากษานั้นถูกกลาวอางวามิไดเปนไปตามขอตกลงหรือการประนีประนอมยอมความ
ถาคูความตกลงกันเพียงแตใหเสนอคดีตออนุญาโตตุลาการใหนําบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยอนุญาโตตุลาการ
มาใชบังคับ
„ หลักเกณฑการตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความ
1) ศาลตองสั่งรับคําฟองคดีนนั้ ไวพิจารณาแลว และยังไมมีการถอนคําฟองไปจากศาล
2) เปนการตกลงกันระหวางคูค  วามในคดี
3) ตองตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันในประเด็นแหงคดี
4) ขอตกลงหรือการประนีประนอมยอมความกันนั้นไมฝาฝนตอกฎหมาย
3.2 ผลของคําพิพากษาตามยอม
ก. ผูกพันคูความในคดี
ข. การใชสิทธิอุทธรณคาํ พิพากษาตามยอม
„ มาตรา 138 วรรคสอง หามอุทธรณคาํ พิพากษาตามยอมตามมาตรา 138 วรรคหนึ่ง แตมีขอ ยกเวน 3 ประการ
1. เมื่อมีขอกลาวอางวาคูความฝายใดฝายหนึ่งฉอฉล
2. เมื่อคําพิพากษานั้นถูกกลาวอางวาเปนการละเมิดตอบทบัญญัตแ ิ หงกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบ
เรียบรอยของประชาชน
3. เมื่อคําพิพากษานั้นถูกกลาวอางวามิไดเปนไปตามขอตกลงหรือการประนีประนอมยอมความ

53
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

7. คําพิพากษาและคําสั่ง
„ การทําคําพิพากษาหรือคําสั่ง ตองทําเปนหนังสือและมีรายการตามที่กฎหมายกําหนด
„ คําพิพากษาหรือคําสั่งที่ชขี้ าดตองวินิจฉัยตามขอหาในคําฟองทุกขอและหามเกินคําฟองเวนแตกรณีที่ศาลอาจ
พิพากษาหรือทําคําสั่งเกินกวาคําฟองได
„ หากคําพิพากษาหรือคําสั่งมีขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอย ศาลอาจมีคําสั่งเพิ่มเติม แกไข
ขอผิดพลาดหรือขอผิดหลงเชนวานั้นใหถกู ก็ได

1. หลักเกณฑในการทําคําพิพากษาหรือคําสั่ง
„ ถาคําพิพากษาหรือคําสั่งจะตองทําโดยผูพ
 ิพากษาหลายคน จะตองบังคับตามความเห็นของฝายขางมาก จํานวนผู
พิพากษาของฝายขางมากนัน้ ในศาลชั้นตนหรือศาลอุทธรณตองไมนอยกวาสองคน และในศาลฎีกาตองไมนอยกวา
สามคน
„ ในศาลชั้นตนและศาลอุทธรณ ผูพิพากษาคนใดทีร่ วมเปนองคคณะจะทําความเห็นแยงก็ได แตในศาลฎีกาจะทํา
ความเห็นแยงไมได
„ ในศาลอุทธรณหรือศาลฎีกา ถาอธิบดีผพ ู ิพากษาศาลอุทธรณหรือประธานศาลฎีกาแลวแตกรณีเห็นสมควรจะใหมี
การวินิจฉัยปญหาใดในคดีเรื่องใดโดยทีป่ ระชุมใหญกไ็ ด คําวินจิ ฉัยของที่ประชุมใหญใหเปนไปตามเสียงขางมาก ถามี
คะแนนเสียงเทากันใหประธานแหงที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเปนเสียงชี้ขาดคําพิพากษาหรือคําสั่งตอง
เปนไปตามคําวินิจฉัยของที่ประชุมใหญ
„ คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลตองทําเปนหนังสือ มีขอความตามทีบ ่ ังคับไว
„ การอานคําพิพากษาหรือคําสั่งใหอานขอความทั้งหมดในศาลโดยเปดเผยตอหนาคูความ และใหศาลจดลงในคํา
พิพากษาหรือคําสั่งหรือในรายงาน ซึ่งการอานนั้นและใหคูความทีม่ าศาลลงชื่อ ถาคูค วามไมมาศาล ศาลจะงดการ
อานก็ได ในกรณีเชนนี้ใหศาลจดแจงไวในรายงานและถือวาไดอานตามกฎหมายแลว

1.1การทําคําพิพากษาหรือคําสั่ง
„ ขั้นตอนการทําคําพิพากษาอยูใน ป.วิ.พ.มาตรา 140
มาตรา 140 การทําคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาล ใหดําเนินตามขอบังคับตอไปนี้
(1) ศาลจะตองประกอบครบถวนตามบทบัญญัติแหงกฎหมายวาดวยเขตอํานาจศาล และอํานาจผูพิพากษา
(2) ภายใตบังคับบทบัญญัติมาตรา 13 ถาคําพิพากษาหรือคําสั่งจะตองทําโดยผูพิพากษาหลายคน คําพิพากษาหรือคําสั่งนั้น
จะตองบังคับตามความเห็นของฝายขางมาก จํานวนผูพิพากษาฝายขางมากนั้น ในศาลชั้นตนหรือศาลอุทธรณตองไมนอยกวาสองคน
และในศาลฏีกาไมนอยกวาสามคน ในศาลชั้นตนและศาลอุทธรณ ถาผูพิพากษาคนใดมีความเห็นแยง ก็ใหผูพิพากษาคนนั้นเขียน
ใจความแหงความเห็นแยงของตนกลัดไวในสํานวน และจะแสดงเหตุผลแหงขอแยงไวดวยก็ได
ในศาลอุทธรณหรือศาลฎีกา ถาอธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณ หรือประธานศาลฎีกา แลวแตกรณี เห็นสมควรจะใหมีการ
วินิจฉัยปญหาใดในคดีเรื่องใดโดยที่ประชุมใหญก็ได หรือถามีกฎหมายกําหนดใหวินิจฉัยปญหาใดหรือคดีเรื่องใดโดยที่ประชุมใหญก็ให
วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ
ภายใตบังคับแหงมาตรา 13 ที่ประชุมใหญนั้น สําหรับศาลอุทธรณใหประกอบดวยอยางนอยผูพิพากษาหัวหนาคณะไมนอย
กวา 10 คน สําหรับศาลฎีกาใหประกอบดวยผูพิพากษาทุกคนซึ่งอยูปฏิบัติหนาที่ แตตองไมนอยกวากึ่งจํานวนผูพิพากษาแหงศาลนั้น
และใหอธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณ หรือประธานศาลฎีกาแลวแตกรณีหรือผูทําการแทน เปนประธาน

54
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

คําวินิจฉัยของที่ประชุมใหญใหเปนไปตามเสียงขางมากและถามีคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานแหงที่ประชุมออกเสียง
เพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด
ในคดีซึ่งที่ประชุมใหญไดวินิจฉัยปญหาแลว คําพิพากษาหรือคําสั่งตองเปนไปตามคําวินิจฉัยของที่ประชุมใหญ และตองระบุ
ไวดวยวาปญหาขอใดไดวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ ผูพิพากษาที่เขาประชุมแมมิใชเปนผูนั่งพิจารณา ก็ใหมีอํานาจพิพากษาหรือทําคําสั่ง
ในคดีนั้นได และเฉพาะในศาลอุทธรณใหทําความเห็นแยงไดดวย
(3) การอานคําพิพากษาหรือคําสั่ง ใหอานขอความทั้งหมดในศาลโดยเปดเผย ตามเวลาที่กําหนดไวในประมวลกฎหมายนี้
ตอหนาคูความทั้งสองฝายหรือฝายใดฝายหนึ่งในกรณีเชนวานี้ใหศาลจดลงไวในคําพิพากษาหรือคําสั่ง หรือในรายงานซึ่งการอานนั้น
และใหคูความที่มาศาลลงลายมือชื่อไวเปนสําคัญ
ถาคูความไมมาศาล ศาลจะงดการอานคําพิพากษาหรือคําสั่งก็ไดในกรณีเชนวานี้ ใหศาลจดแจงไวในรายงานและใหถือวาคํา
พิพากษาหรือคําสั่งนั้นไดอานตามกฎหมายแลว
เมื่อศาลที่พิพากษาคดี หรือที่ไดรับคําสั่งจากศาลสูงใหอานคําพิพากษาหรือคําสั่ง ไดอานคําพิพากษาหรือคําสั่งตาม
บทบัญญัติในมาตรานี้วันใด ใหถือวาวันนั้นเปนวันที่พิพากษาหรือมีคําสั่งคดีนั้น
ก. จะตองประกอบครบถวนตามบทบัญญัติแหงกฎหมายวาดวยเขตอํานาจศาล และอํานาจผูพิพากษา
ข. การชีข้ าดตัดสินโดยองคคณะผูพิพากษา
„ ถาคําพิพากษาหรือคําสั่งจะตองทําโดยผูพ  ิพากษาหลายคน คําพิพากษาหรือคําสัง่ นั้นจะตองบังคับตามความเห็น
ของฝายขางมาก
„ ศาลชั้นตนหรือศาลอุทธรณตองไมนอยกวาสองคน และในศาลฏีกาไมนอยกวาสามคน
ค. การชี้ขาดตัดสินคดีโดยที่ประชุมใหญ
„ มีเฉพาะในศาลอุทธรณและศาลฎีกาเทานั้น
„ คดีจะมีการประชุมใหญดวยเหตุผลดังนี้
1. ศาลอุทธรณหรือศาลฎีกา ถาอธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณ หรือประธานศาลฎีกา แลวแตกรณี เห็นสมควร
จะใหมกี ารวินิจฉัยปญหาใดในคดีเรือ่ งใดโดยที่ประชุมใหญ
2. มีกฎหมายกําหนดใหชี้ขาดตัดสินคดีโดยที่ประชุมใหญ
„ องคประชุมของที่ประชุมใหญ
• ศาลอุทธรณใหประกอบดวยอยางนอยผูพ  ิพากษาหัวหนาคณะไมนอยกวา 10 คน สําหรับศาลฎีกาให
ประกอบดวยผูพิพากษาทุกคนซึ่งอยูปฏิบตั ิหนาที่ แตตอ งไมนอยกวากึ่งจํานวนผูพพิ ากษาแหงศาลนั้น และให
อธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณ หรือประธานศาลฎีกาแลวแตกรณีหรือผูทาํ การแทน เปนประธาน
• ศาลอุทธรณภาคไมอยูในบังคับของ ป.วิ.พ.มาตรา 140(2)
„ การลงมติของที่ประชุมใหญ - คําวินิจฉัยของที่ประชุมใหญใหเปนไปตามเสียงขางมากและถามีคะแนนเสียงเทากัน
ใหประธานแหงที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด
ง. การทําความเห็นแยง
„ เฉพาะในศาลอุทธรณใหทาํ ความเห็นแยงไดดวย
„ การชีข้ าดตัดสินโดยที่ประชุมใหญของศาลฎีกาเทานัน ้ ที่หา มไมใหทําความเห็นแยง
„ ถาความเห็นแยงเปนความเห็นแยงเฉพาะในปญหาขอกฎหมายและคดีนั้นตองหามฎีกาในปญหาขอเท็จจริง
คูความจะไมมีสิทธิฎีกาในปญหาขอเท็จจริง
จ. การอานคําพิพากษาหรือคําสั่งมีขอ พิจารณาดังนี้
1. การนัดฟงคําพิพากษาหรือคําสั่ง
2. การอานคําพิพากษาหรือคําสั่ง

55
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

1.2 รายการในคําพิพากษาหรือคําสั่ง
„ คําพิพากษาหรือคําสั่งตองมีรายละเอียดตาม ป.วิ.พ.มาตรา 141
มาตรา 141 คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลใหทําเปนหนังสือและตองกลาวหรือแสดง
(1) ชือ่ ศาลที่พิพากษาคดีนั้น
(2) ชือ่ คูความทุกฝายและผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูแทน ถาหากมี
(3) รายการแหงคดี
(4) เหตุผลแหงคําวินิจฉัยทั้งปวง
(5) คําวินิจฉัยของศาลในประเด็นแหงคดีตลอดทั้งคาฤชาธรรมเนียม
คําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นตองลงลายมือชื่อผูพิพากษาที่พิพากษาหรือทําคําสั่งหรือถาผูพิพากษาคนใดลงลายมือชื่อไมไดก็ให
ผูพิพากษาอื่นที่พิพากษาหรือทําคําสั่งคดีนั้นหรืออธิบดีผูพิพากษาแลวแตกรณี จดแจงเหตุที่ผูพิพากษาคนนั้นมิไดลงลายมือชื่อและมี
ความเห็นพองดวยคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นแลวกลัดไวในสํานวนความ
ในกรณีที่ศาลมีอํานาจทําคําสั่งหรือพิพากษาคดีไดดวยวาจา การที่ศาลจะตองทํารายงานเกี่ยวดวยคําสั่งหรือคําพิพากษานั้น
ไมจําตองจดแจงรายการแหงคดีหรือเหตุผลแหงคําวินิจฉัย แตเมื่อคูความฝายใดแจงความจํานงที่จะอุทธรณหรือไดยื่นอุทธรณขึ้นมา
ใหศาลมีอํานาจทําคําชี้แจงแสดงรายการขอสําคัญ หรือเหตุผลแหงคําวินิจฉัยกลัดไวกับบันทึกนั้นภายในเวลาอันสมควร
„ การที่ศาลอุทธรณพิพากษายืนใหโจทกใชคาทนายความชั้นอุทธรณแทนจําเลยโดยไมไดพิพากษาหรือมีคําสั่งในเรื่องคาฤชาธรรม
เนียมชอบหรือไม

2. ศาลตองชี้ขาดทุกประเด็นและไมเกินคําฟอง
„ คําพิพากษาหรือคําสั่งศาลที่ชี้ขาดคดีตองตัดสินตามขอหาในคําฟองทุกขอ แตหา มมิใหคําพิพากษาหรือทําคําสั่งให
สิ่งใดๆเกินไปกวาหรือนอกจากที่ปรากฏในคําฟอง นอกจากจะเขาขอยกเวนตามที่บัญญัติไว
„ ถาในคําพิพากษาหรือคําสัง่ ใดมีขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอยอื่นๆ ศาลจะมีคาํ สั่งแกไขใหถูกก็ได
2.1 หลักกฎหมายที่ศาลตองชี้ขาดทุกประเด็นแตไมเกินคําฟอง
มาตรา 142 วรรคหนึ่ง คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลที่ชี้ขาดคดีตองตัดสินตามขอหาในคําฟองทุกขอ แตหามมิใหพิพากษาหรือทํา
คําสั่งใหสิ่งใด ๆ เกินไปกวาหรือนอกจากที่ปรากฎในคําฟอง…
ก. ศาลตองวินิจฉัยชีข้ าดตามขอหาในคําฟองทุกขอ
ข. หามศาลพิพากษาหรือทําคําสั่งเกินคําฟอง
GUIDE อานตัวอยางในบทที่ 7.2.1
„ โจทยฟองวา จําเลยปลูกสรางบานรุกล้ําเขามาในที่ดินของโจทก โจทกบอกกลาวใหจําเลยรื้อถอนบานสวนที่รุกล้ําแลว แตจําเลย
เพิกเฉย ขอใหบังคับจําเลยรื้อถอนบานดังกลาวออกจากที่ดินโจทย และหามมิใหจําเลยและบริวารเขาไปเกี่ยวของในที่ดินดังกลาว หาก
จําเลยไมปฏิบัติตามใหโจทกเปนผูรื้อถอนโดยจําเลยออกคาใชจาย ขอเท็จจริงฟงไดวา จําเลยปลูกสรางบานตามฟองรุกล้ําเขาไปใน
ที่ดินของโจทกโดยสุจริต ศาลชั้นตนจึงพิพากษาใหจําเลยชําระเงินเปนคาชดใชที่ดินของโจทก ใหวินิจฉัยวา คําพิพากษาของศาลชั้นตน
ชอบดวยกฎหมายหรือไม
2.2 ขอยกเวนที่ศาลอาจพิพากษาหรือทําคําสั่งเกินกวาคําฟองได
มาตรา 142 คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลที่ชี้ขาดคดีตองตัดสินตามขอหาในคําฟองทุกขอ แตหามมิใหพิพากษาหรือทําคําสั่งใหสิ่ง
ใด ๆ เกินไปกวาหรือนอกจากที่ปรากฎในคําฟอง เวนแต
(1) ในคดีฟองเรียกอสังหาริมทรัพย ใหพึงเขาใจวาเปนประเภทเดียวกับฟองขอใหขับไลจําเลย ถาศาลพิพากษาใหโจทกชนะ
คดี เมื่อศาลเห็นสมควรศาลจะมีคําสั่งใหขับไลจําเลยก็ได คําสั่งเชนวานี้ใหใชบังคับตลอดถึงวงศญาติทั้งหลายและบริวารของจําเลยที่
อยูบนอสังหาริมทรัพยนั้น ซึ่งไมสามารถแสดงอํานาจพิเศษใหศาลเห็นได
(2) ในคดีที่โจทกฟองเรียกทรัพยใด ๆ เปนของตนทั้งหมดแตพิจารณาไดความวาโจทกควรไดแตสวนแบง เมื่อศาล
เห็นสมควรศาลจะพิพากษาใหโจทกไดรับแตสวนแบงนั้นก็ได

56
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

(3) ในคดีที่โจทกฟองขอใหชําระเงินพรอมดวยดอกเบี้ยจนถึงวันฟองเมื่อศาลเห็นสมควร ศาลจะพิพากษาใหจําเลยชําระ


ดอกเบี้ยจนถึงวันที่ไดชําระเสร็จตามคําพิพากษาก็ได
(4) ในคดีที่โจทกฟองเรียกคาเชาหรือคาเสียหายอันตอเนื่องคํานวณถึงวันฟอง เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลจะพิพากษาใหชําระ
คาเชาและคาเสียหายเชนวานี้จนถึงวันที่ไดชําระเสร็จตามคําพิพากษาก็ได
(5) ในคดีที่อาจยกขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชนขึ้นอางไดนั้น เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลจะยกขอ
เหลานั้นขึ้นวินิจฉัยแลวพิพากษาคดีไปก็ได
(6) ในคดีที่โจทกฟองขอใหชําระเงินพรอมดวยดอกเบี้ยซึ่งมิไดมีขอตกลงกําหนดอัตราดอกเบี้ยกันไว เมื่อศาลเห็นสมควรโดย
คํานึงถึงเหตุสมควรและความสุจริตในการสูความหรือการดําเนินคดี ศาลจะพิพากษาใหจําเลยชําระดอกเบี้ยในอัตราที่สูงขึ้นกวาที่
โจทกมีสิทธิไดรับตามกฎหมายแตไมเกินรอยละสิบหาตอปนับตั้งแตวันฟองหรือวันอื่นหลังจากนั้นก็ได
ก. คดีฟองเรียกอสังหาริมทรัพย
ข. คดีฟองเรียกทรัพยเปนของตนทั้งหมด
ค. คดีที่ฟองขอใหชําระเงินพรอมดวยดอกเบี้ย
ง. คดีทฟี่ องเรียกคาเชาหรือคาเสียหาย
จ. คดีที่อาจยกขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน
ฉ. คดีที่โจทกฟองขอใหชาํ ระเงินพรอมดวยดอกเบี้ยซึ่งมิไดมีขอตกลงกําหนดอัตราดอกเบี้ยกันไว
„ โจทกฟองวา จําเลยทําสัญญาค้ําประกันหนี้ลูกหนี้ตามสัญญากูยืมเงิน ตอมาลูกหนี้ไมชําระหนี้ขอใหบังคับจําเลยชําระเงิน
1,000,000 บาท จําเลยขาดนัดยื่นคําใหการ ศาลชั้นตนพิจารณาแลวเห็นวาคําฟองโจทกเคลือบคลุม จึงไมพิจารณาประเด็นอื่นแลว
พิพากษายกฟอง ใหวินิจฉัยวา คําพิพากษาของศาลชั้นตนชอบดวยกฎหมายหรือไม

3. การแกไขคําพิพากษาหรือคําสั่งในขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอย
„ คําพิพากษาหรือคําสั่งโดยปกติจะแกไขเปลี่ยนแปลงไมได เวนแตเปนการแกไขในขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิด
หลงเล็กนอย
„ ศาลที่มีอํานาจแกไขคําพิพากษาหรือคําสั่งในขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอย คือศาลอุทธรณหรือศาล
ฎีกา แลวแตกรณี เวนแตจะไมมีการอุทธรณหรือฎีกา
3.1 หลักการคําพิพากษาหรือคําสั่งในขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอย
มาตรา 143 ถาในคําพิพากษาหรือคําสั่งใด มีขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอยอื่น ๆ และมิไดมีการอุทธรณหรือฎีกา
คัดคานคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้น เมื่อศาลที่ไดพิพากษาหรือมีคําสั่งนั้นเห็นสมควร หรือเมื่อคูความที่เกี่ยวของรองขอ ศาลจะมีคําสั่ง
เพิ่มเติมแกไขขอผิดพลาด หรือขอผิดหลงเชนวานั้นใหถูกก็ไดแตถาไดมีการอุทธรณหรือฎีกาคัดคานคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้น อํานาจ
ที่จะแกไขขอผิดพลาดหรือขอผิดหลงนั้นยอมอยูแกศาลอุทธรณหรือศาลฎีกาแลวแตกรณี คําขอใหแกไขขอผิดพลาดหรือขอผิดหลงนั้น
ใหยื่นตอศาลดังกลาวแลว โดยกลาวไวในฟองอุทธรณหรือฎีกา หรือโดยทําเปนคํารองสวนหนึ่งตางหาก
การทําคําสั่งเพิ่มเติมมาตรานี้ จะตองไมเปนการกลับหรือแกคําวินิจฉัยในคําพิพากษาหรือคําสั่งเดิม
เมื่อไดทําคําสั่งเชนวานั้นแลว หามไมใหคัดสําเนาคําพิพากษาหรือคําสั่งเดิม เวนแตจะไดคัดสําเนาคําสั่งเพิ่มเติมนั้นรวมไป
ดวย
ก. ผูที่มีสิทธิรองขอใหศาลแกไขคําพิพากษาหรือคําสั่ง
„ ผูที่มีสิทธิรองขอใหศาลแกไขคําพิพากษาหรือคําสั่ง ไดแก คูค วามในคดี ผูไมใชคูความไมมีอํานาจ แตถาศาลเห็น
เองก็มีอํานาจที่จะแกไขได แตตองทําโดยความรูเห็นของคูความในคดีนั้น
ข. การแกไขคําพิพากษาหรือคําสั่ง

57
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ การที่ศาลจะมีคําสั่งแกไขไดนั้น ตองเปนการแกไขขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอหลงลืมหรือเขาใจผิดเล็กนอยเทานั้น
สวนใหญมักเกิดจากการพิมพผิดไปจากที่ศาลวินิจฉัยไว ไมวาจะเปนการพิมพตัวอักษรผิด สะกดคําผิด พิมพตัวเลขผิด
หรือสลับที่กัน หรือพิมพตัวเลขปผิด
ค. วิธีการแกไขคําพิพากษาหรือคําสั่ง
„ ศาลจะทําคําสั่งฉบับใหมสงั่ แกไขสวนที่ผดิ ใหถูกตองแลวแนบติดไปกับคําพิพากษาหรือคําสั่งเดิม โดยไมไดขดี ฆา
หรือลบขอความในคําพิพากษาหรือคําสัง่ เดิม
„ ถาคูความไมอุทธรณคําพิพากษา ศาลชั้นตนจะมีคําสั่งเพิ่มเติมแกไขคําพิพากษาในกรณีดังตอไปนี้ไดหรือไม
1. คําพิพากษาศาลชั้นตนพิมพจํานวนเงิน 5,312 บาท ผิดเปน 5,213 บาท
2. คําพิพากษาศาลชั้นตนพิมพนามสกุลจําเลยที่ 1 “คลองอักขระ” ผิดเปน “คลองอักษร”
3. ศาลชั้นตนวินิจฉัยไวแลววาจําเลยตองรับผิดชําระดอกเบี้ยแกโจทยดวย แตพิพากษาโดยมิไดนําดอกเบี้ยจํานวนดังกลาวมา
รวมคํานวณเปนยอดหนี้ที่จําเลยตองชําระแกโจทก
4. โจทกฟองใหจําเลยชําระเงิน 2,973,482 บาท แตโจทกมีคําขอทายฟองใหจําเลยชําระเงิน 2,927,761 บาท พรอม
ดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 19 ตอปของเงินตน 2,927,761 บาท และศาลชั้นตนพิพากษาใหจําเลยชําระเงินตามจํานวนในคํา
ขอทายฟอง ตอมาโจทกรองขอใหแกคําคําพิพากษาเปนวาใหจําเลยชําระเงิน 2,973,482 บาท โดยจําเลยไมคัดคาน
3.2 ศาลที่มอี ํานาจแกไขคําพิพากษาหรือคําสั่ง
ก. กรณีไมมกี ารอุทธรณหรือฎีกาคําพิพากษาหรือคําสั่ง ไดแก ศาลชั้นตน
ข. กรณีมีการอุทธรณหรือฎีกาคําพิพากษาหรือคําสัง่ ไดแก ศาลอุทธรณหรือศาลฎีกาแลวแตกรณี

58
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

8. ผลแหงคําพิพากษาและคําสั่ง
„ กฎหมายหามมิใหศาลหรือคูความดําเนินกระบวนพิจารณาซ้าํ
„ คําพิพากษาหรือคําสั่งใดๆ ยอมผูกพันคูค วาม
„ กฎหมายหามมิใหคูความเดียวกันฟองซ้ํา

1. หลักเกณฑการดําเนินกระบวนการพิจารณาซ้ํา
„ เมื่อใดศาลมีคาํ พิพากษาหรือคําสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือในประเด็นขอใดขอหนึ่งแหงคดีแลว จะดําเนินกระบวน
พิจารณาในศาลนั้นอันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ไดวินจิ ฉัยชี้ขาดแลวไมได
„ มีขอยกเวนมิใหถือวาเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ํา คือการแกไขขอผิดพลาด หรือขอผิดหลงเล็กนอย การ
พิจารณาคดีใหม การยื่นการยอมรับหรือไมยอมรับซึง่ อุทธรณหรือฎีกา ฯลฯ ตามที่บัญญัตไิ วในมาตรา 144 (1) ถึง
(5)
1.1 หลักเกณฑการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ํา
มาตรา 144 เมื่อศาลใดมีคําพิพากษา หรือคําสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือในประเด็นขอใดแหงคดีแลว หามมิใหดําเนินกระบวนพิจารณา
ในศาลนั้นอันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ไดวินิจฉัยชี้ขาดแลวนั้น เวนแตกรณีจะอยูภายใตบังคับบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วา
ดวย
(1) การแกไขขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอยอื่น ๆ ตามมาตรา 143
(2) การพิจารณาใหมแหงคดีซึ่งไดพิจารณาและชี้ขาดตัดสินไปฝายเดียวตามมาตรา 209 และคดีที่เอกสารไดสูญหายหรือ
บุบสลายตามมาตรา 53
(3) การยื่น การยอมรับ หรือไมยอมรับ ซึ่งอุทธรณหรือฎีกาตามมาตรา 229 และ 247 และการดําเนินวิธีบงั คับชั่วคราวใน
ระหวางการยื่นอุทธรณหรือฎีกาตามมาตรา 254 วรรคสุดทาย
(4) การที่ศาลฎีกาหรือศาลอุทธรณสงคดีคืนไปยังศาลลางที่ไดพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีนั้น เพื่อใหพิพากษาใหมหรือ
พิจารณาและพิพากษาใหมตามมาตรา 243
(5) การบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่งตามมาตรา 302
ทั้งนี้ไมเปนการตัดสิทธิในอันที่จะบังคับตามบทบัญญัติแหงมาตรา 16 และ 240 วาดวยการดําเนินกระบวนพิจารณาโดย
ศาลอื่นแตงตั้ง
ก. ศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือในประเด็นขอใดแหงคดีแลว
ข. หามมิใหดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลนั้นอันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ไดวินิจฉัยชีข้ าดแลว
„ ขอสังเกตเกี่ยวกับการดําเนินกระบวนการพิจารณาซ้ํา
1. การยื่นคํารองขอเปนคดีไมมีขอพิพาทก็อาจเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้าํ กับการฟองคดีที่มีขอ
พิพาทได หากมีประเด็นอยางเดียวกัน
2. การดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ํามีผลกระทบถึงเรื่องอํานาจฟอง ซึ่งเปนปญหาเกี่ยวกับความสงบ
เรียบรอย ศาลสามารถยกขึ้นวินิจฉัยไดเอง
3. กรณีที่ศาลลางมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง และศาลสูงมีคาํ พิพากษายกคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาล
ลาง โดยวินจิ ฉัยในประเด็นบางขอและใหศาลลางพิจารณาประเด็นขออื่นแลวพิพากษาใหม ศาลลาง
ยอมมีอํานาจวินิจฉัยในประเด็นที่ศาลสูงกําหนดเทานัน้ เมื่อศาลลางวินิจฉัยแลว คูความก็สามารถ
อุทธรณไดเฉพาะประเด็นที่ศาลสูงกําหนดใหศาลลางมีคําวินิจฉัยใหมเทานั้น สวนประเด็นที่ศาลสูง

59
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มิไดกําหนด แตศาลลางวินิจฉัยเอง คูความไมสามารถจะอุทธรณได เปนการดําเนินกระบวน


พิจารณาซ้าํ
4. กรณีศาลวินิจฉัยประเด็นแหงคดีบางขอ โดยไมไดวินิจฉัยขออื่น เนื่องจากวาประเด็นที่เหลือไมทํา
ใหผลของคดีเปลี่ยนแปลงไป การทีค่ คู วามนําคดีมาฟองกอนที่คดีเดิมถึงที่สุด ก็ถือวาเปนการดําเนิน
กระบวนพิจารณาซ้ํา
5. การหามดําเนินกระบวนพิจารณาซ้าํ อาจเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้าํ ในคดีเดิมหรือคดีอื่นก็
ได
ƒ กรณีที่ 1 การหามมิใหดําเนินกระบวนพิจารณาในคดีเดิม
• คดีเดียว
• ศาลมีคําพิพากษาหรือคําสัง่ วินิจฉัยชี้ขาดในประเด็นแหงคดีแลว
• คูความรองขอใหศาลวินิจฉัยชี้ขาดในประเด็นขอใดแหงคดีที่ศาลไดมค ี ําวินิจฉัยแลว
ƒ กรณีที่ 2 การหามมิใหดําเนินกระบวนพิจารณาในคดีอื่น
• ทั้งสองคดีมีคคู วามเดียวกัน
• ทั้งสองคดีมีประเด็นแหงคดีอยางเดียวกัน
• คดีใดคดีหนึ่งมีคําพิพากษาหรือคําสั่งวินจิ ฉัยชี้ขาดคดีหรือในประเด็นขอใดแหงคดี
แลว
„ คดีแรกนางดําฟองนางแดงอางวานางแดงขายบานพรอมที่ดินใหนางดําตามหนังสือสัญญาการซื้อขาย แตนางแดงไมซื้อบานและ
ที่ดินคืนภายในกําหนดและยังคงอยูในบานและที่ดินโดยละเมิด ขอใหขับไลและชดใชคาเสียหาย นางแดงใหการตอสูวานางแดงกูยืม
เงินนางดําแตไมมีแบบพิมพ จึงนําแบบพิมพหนังสือสัญญาการซื้อขายมากรอกแทนสัญญากูยืมเงิน คดีถึงที่สุดตามคําพิพากษาศาล
อุทธรณใหยกฟองนางดํา โดยวินจิ ฉัยวาหนังสือสัญญาการซื้อขายที่นางดํานํามาฟองมีขอตกลงระบุวาเปนสัญญาขายฝากบานและที่ดิน
มือเปลา เมื่อไมจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่จึงตกเปนโมฆะ ตอมาในคดีหลังนางดําฟองนางแดงเปนคดีนี้อางวานางแดงกูยืมเงิน
นางดําแลวผิดนัดไมชําระคืนตามกําหนด ใหวินิจฉัยวา คําฟองในคดีหลังเปนดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ําหรือไม
1.2 ขอยกเวนการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ํา
ขอพิจารณากรณีที่ไมถือวาเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้าํ
ก. การแกไขขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอยอื่นๆ ตามมาตรา 143
ข. การพิจารณาใหมแหงคดีซึ่งไดพิจารณาและชี้ขาดตัดสินไปฝายเดียวตามมาตรา 209 และคดีที่เอกสารไดสูญหาย
หรือบุบสลายตามมาตรา 53
ค. การยื่น การยอมรับ หรือไมยอมรับซึ่งอุทธรณหรือฎีกาตามมาตรา 229 และ 247 และการดําเนินวิธีบังคับ
ชั่วคราวในระหวางการยื่นอุทธรณหรือฎีกาตามมาตรา 254 วรรคสุดทาย
ง. การทีศ่ าลฎีกาหรือศาลอุทธรณสงคดีคืนไปยังศาลลางที่ไดพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีนั้นเพื่อใหพิพากษาใหม
หรือพิจารณาและพิพากษาใหมตามมาตรา 243
จ. การบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่งตามมาตรา 302
ฉ. กรณีตามบทบัญญัตแิ หงมาตรา 16 และ 240 วาดวยการดําเนินกระบวนพิจารณาโดยศาลอื่นแตงตั้ง

2. คําพิพากษาหรือคําสั่งผูกพันคูความ
„ คําพิพากษาหรือคําสั่งใดๆยอมผูกพันคูความในกระบวนพิจารณาของศาลที่มีคาํ พิพากษา หรือคําสั่ง นับแตวน
ั ที่ได
พิพากษาหรือมีคําสั่งจนถึงวันที่ถูกเปลี่ยนแปลงแกไข กลับหรืองดเสีย ถาหากมี

60
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ คําพิพากษาหรือคําสั่งยอมไมผูกพันบุคคลภายนอก เวนแตจะเขาขอยกเวน
„ คําพิพากษาหรือคําสั่งอันเปนที่สุดของสองศาลซึ่งตางชัน
้ กัน กลาวถึงการชําระหนีอ้ ันแบงแยกจากกันไมได และคํา
พิพากษาหรือคําสั่งนั้นขัดกัน ใหถือตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลที่สูงกวา
„ คําพิพากษาหรือคําสั่งใดซึง่ จะอุทธรณฎีกาหรือมีคาํ ขอพิจารณาใหมไมได ใหถือวาถึงที่สุดตั้งแตวันที่ไดอา นเปนตน
ไป ถามิไดอุทธรณ ฎีกาหรือขอพิจารณาใหมภายในเวลากําหนดระยะเวลา ใหถือวาเปนที่สุดตัง้ แตระยะเวลาเชนวา
นั้นไดสิ้นสุดลง
2.1 ผลผูกพันของคําพิพากษาหรือคําสัง ่
มาตรา 145 วรรคหนึ่ง ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยการอุทธรณฎีกา และการพิจารณาใหม คําพิพากษา
หรือคําสั่งใด ๆ ใหถือวาผูกพันคูความในกระบวนพิจารณาของศาลที่พิพากษาหรือมีคําสั่ง นับตั้งแตวันที่ไดพิพากษาหรือมีคําสั่งจนถึง
วันที่คําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นไดถูกเปลี่ยนแปลง แกไข กลับหรืองดเสีย ถาหากมี
2.2 คําพิพากษาหรือคําสัง่ ที่มีผลผูกพันบุคคลภายนอก
มาตรา 145 วรรคสอง ถึงแมศาลจะไดกลาวไวโดยทั่วไปวาใหใชคําพิพากษาบังคับแกบุคคลภายนอก ซึ่งมิไดเปนคูความในกระบวน
พิจารณาของศาลดวยก็ดี คําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นยอมไมผูกพันบุคคลภายนอก เวนแตที่บัญญัติไวในมาตรา 142 (1), 245 และ
274 และในขอตอไปนี้
(1) คําพิพากษาเกี่ยวดวยฐานะหรือความสามารถของบุคคล หรือคําพิพากษาสั่งใหเลิกนิติบุคคล หรือคําสั่งเรื่องลมละลาย
เหลานี้ บุคคลภายนอกจะยกขึ้นอางอิงหรือจะใชยันแกบุคคลภายนอกก็ได
(2) คําพิพากษาที่วินิจฉัยถึงกรรมสิทธิ์แหงทรัพยสินใด ๆ เปนคุณแกคูความฝายใดฝายหนึ่งอาจใชยันแกบุคคลภายนอกได
เวนแตบุคคลภายนอกนั้นจะพิสูจนไดวาตนมีสิทธิดีกวา
2.3 คําพิพากษาหรือคําสั่งอันเปนที่สุด
มาตรา 147 คําพิพากษาหรือคําสั่งใด ซึ่งตามกฎหมายจะอุทธรณหรือฎีกาหรือมีคําขอใหพิจารณาใหมไมไดนั้น ใหถือวาเปนที่สุด
ตั้งแตวันที่ไดอานเปนตนไป
คําพิพากษาหรือคําสั่งใด ซึ่งอาจอุทธรณ ฎีกา หรือมีคําขอใหพิจารณาใหมไดนั้น ถามิไดอุทธรณ ฎีกาหรือรองขอใหพิจารณา
ใหมภายในเวลาที่กําหนดไวใหถือวาเปนที่สุดตั้งแตระยะเวลาเชนวานั้นไดสนิ้ สุดลง ถาไมมีอุทธรณ ฎีกา หรือมีคําขอใหพิจารณาใหม
และศาลอุทธรณหรือศาลฎีกาหรือศาลชั้นตนซึ่งพิจารณาคดีเรื่องนั้นใหมมีคําสั่งใหจําหนายคดีเสียจากสารบบความตามที่บัญญัติไวใน
มาตรา 132 คําพิพากษาหรือคําสั่งเชนวานั้นใหถือวาเปนที่สุดตั้งแตวันที่มีคําสั่งใหจําหนายคดีจากสารบบความ
คูความฝายหนึ่งฝายใดอาจยื่นคําขอตอศาลชั้นตนซึ่งพิจารณาคดีนั้นใหออกใบสําคัญแสดงวาคําพิพากษาหรือคําสั่งในคดีนั้น
ไดถึงที่สุดแลว

3. การฟองซ้ํา
„ คดีที่มีคาํ พิพากษาหรือคําสัง่ ถึงที่สุดแลว คูความเดียวกันจะรื้อรองฟองกันอีกในประเด็นที่ไดวินจิ ฉัยโดยอาศัยเหตุ
อยางเดียวกันไมได
„ มีขอยกเวนมิใหถือวาเปนการฟองซ้ําคือ (1) การดําเนินกระบวนพิจารณาชั้นบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง
ของศาล (2) เมื่อคําพิพากษาหรือคําสั่งไดกําหนดวิธีการชั่วคราวใหอยูในบังคับที่จะแกไข เปลี่ยนแปลง หรือยกเลิก
เสียไดตามพฤติการณ (3) เมื่อคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นยกฟองเสียโดยไมตดั สิทธิโจทกทจี่ ะนําฟองมายื่นใหม ทั้งนี้
ตามมาตรา 148 (1) ถึง (3)
3.1 หลักเกณฑการฟองซ้าํ
มาตรา 148 วรรคแรก คดีที่ไดมีคําพิพากษาหรือคําสั่งถึงที่สุดแลวหามมิใหคูความเดียวกันรื้อรองฟองกันอีก ในประเด็นที่ไดวินิจฉัย
โดยอาศัยเหตุอยางเดียวกันเวนแตในกรณีตอไปนี…

3.2 ขอยกเวนเรื่องการฟองซ้ํา

61
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 148 วรรคแรกตอนทาย (1) เมื่อเปนกระบวนพิจารณาชั้นบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาล


(2) เมื่อคําพิพากษาหรือคําสั่งไดกําหนดวิธีการชั่วคราวใหอยูภายในบังคับที่จะแกไขเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกเสียไดตาม
พฤติการณ
(3) เมื่อคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นใหยกฟองเสียโดยไมตัดสิทธิโจทกที่จะนําคําฟองมายื่นใหม ในศาลเดียวกันหรือในศาลอื่น
ภายใตบังคับแหงบทบัญญัติของกฎหมายวาดวยอายุความ

62
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

9. คาฤชาธรรมเนียม
„ คาฤชาธรรมเนียม หมายถึง เงินที่กฎหมายกําหนดใหตองชําระเมื่อมีการดําเนินคดีแพง ซึ่งอาจเปนการชําระใหแก
รัฐหรือบุคคลอื่น ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติไว
„ บุคคลอาจไดรับอนุญาตใหยกเวนคาธรรมเนียมศาลไดตามหลักเกณฑที่กฎหมายบัญญัติไว
„ เมื่อมีการวางเงินหรือชําระหนี้ตามฟองแลว ศาลตองมีคําสั่งเกี่ยวกับคาฤชาธรรมเนียมตามที่กฎหมายบัญญัติไว
แตคูความฝายที่ไมพอใจคําสั่งดังกลาวจะอุทธรณหรือฎีกาเฉพาะคาฤชาธรรมเนียมเพียงอยางเดียวไมได

1. ความหมายและการชําระคาฤชาธรรมเนียม
„ คาฤชาธรรมเนียม หมายถึง เงินที่กฎหมายกําหนดใหตองชําระเมื่อมีการดําเนินคดีแพง ซึ่งอาจเปนการชําระใหแก
รัฐหรือบุคคลอื่น ทั้งนี้ก็เพื่อปองกันไมใหมีการนําคดีมาฟองศาลโดยไมมีเหตุผลหรือการดําเนินกระบวนพิจารณาโดย
ไมจําเปนหรือเพื่อเปนคาใชจายใหแกบุคคลทีต่ องดําเนินการอยางหนึ่งอยางใดเพื่อประโยชนแกการดําเนินคดี
„ คาฤชาธรรมเนียม แบงตามผูมีสิทธิไดรบ ั ออกไดเปน 2 ประเภทคือ คาธรรมเนียมที่ตกแกรฐั และคาธรรมเนียมที่
ตกแกบคุ คลอืน่
„ คูความหรือบุคคลที่กฎหมายกําหนดใหตองชําระคาฤชาธรรมเนียมเมื่อไดดําเนินกระบวนพิจารณาตามที่กฎหมาย
บัญญัติไว แตผูที่ชาํ ระคาฤชาธรรมเนียมนั้นใชวาจะเสียเงินคาฤชาธรรมเนียมนั้นไปเลย เพราะอาจไดรับเงินคาฤชา
ธรรมเนียมนัน้ คืนไดในกรณีทศี่ าลเห็นวาคูค วามอีกฝายหนึ่งควรเปนผูรับผิดในคาฤชาธรรมเนียมและศาลสัง่ ให
คูความฝายนั้นรับผิดในคาฤชาธรรมเนียมแทนฝายที่ไดชําระคาฤชาธรรมเนียมไปแลว
„ การคืนคาขึ้นศาลแบงเปน 3 กรณีคือ กรณีทศี่ าลตองมีคําสั่งใหคืนคาขึ้นศาลทั้งหมด กรณีทศี่ าลมีอํานาจสั่งคืนคา
ขึ้นศาลทั้งหมดหรือบางสวนไดตามที่เห็นสมควร และกรณที่ศาลมีอาํ นาจสั่งคืนคาขึ้นศาลแตเพียงบางสวน
1.1 ความหมายและการชําระคาฤชาธรรมเนียม
„ ระบบการเรียกเก็บคาฤชาธรรมเนียมในคดีแพงที่เหมาะสมควรมีลักษณะดังนี้
a. สามารถสกัดกั้นการฟองรองหรือการดําเนินคดีที่ไมสจ ุ ริตหรือไมมีเหตุผล
b. ไมเปนอุปสรรคตอการเขาถึงความยุติธรรม
i. ผูที่ไมมท
ี รัพยสินเพียงพอ
1. ผูเสียหายจากการกระทําความผิดอาญา (ป.วิ.อ.มาตรา 254)
2. คูความฝายที่เปนผูบริโภคในคดีผูบริโภค
3. คูความที่เปนโจทกในคดีมโนสาเร
c. ระบบและวิธีการเรียกเก็บตองสะดวกและเปนธรรม
„ คาฤชาธรรมเนียม แบงออกไดเปน 2 ประเภท
1. คาฤชาธรรมเนียมที่ตกแกรฐั
o คาธรรมเนียมศาล
o คาธรรมเนียมในการบังคับคดีหรือคาธรรมเนียมเจาพนักงานคดี
2. คาฤชาธรรมเนียมที่ตกแกบุคคลอื่น
o คาสืบพยานหลักฐานนอกศาล
o คาปวยการ คาพาหนะ และคาเชาที่พักของพยาน กับคารังวัดทําแผนที่

63
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

o คาทนายความ
o คาใชจา ยในการดําเนินคดี
o คาธรรมเนียมหรือคาใชจายอื่นๆ
1.2 ประเภทและอัตราของคาฤชาธรรมเนียม
„ ประเภทที่ 1 คาฤชาธรรมเนียมที่ตกแกรฐั
ก. คาธรรมเนียมศาล
1. คาขึ้นศาล
a. คาขึ้นศาลในศาลชั้นตน
b. คาขึ้นศาลในชั้นอุทธรณหรือฎีกา
2. คาธรรมเนียมอื่นๆ
ข. คาธรรมเนียมในการบังคับคดีหรือคาธรรมเนียมเจาพนักงานบังคับคดี
„ ประเภทที่ 2 คาฤชาธรรมเนียมที่ตกแกบุคคลอื่น
ก. คาสืบพยานหลักฐานนอกศาล
ข. คาปวยการ คาพาหนะเดินทาง และคาเชาที่พักของพยาน
ค. คารังวัดทําแผนที่
ง. คาธรรมเนียมและคาใชจา ยของผูเชี่ยวชาญที่ศาลตั้ง
จ. คาปวยการลาม
ฉ. คาธรรมเนียมและคาใชจา ยในการสงคําคูค วามหรือเอกสารที่ตองชําระใหแกเจาพนักงานศาล
ช. คาทนายความ
ฌ. คาใชจา ยในการดําเนินคดี
ฒ. คาปวยการ คาพาหนะเดินทาง คาเชาที่พัก และคาใชจา ยของเจาพนักงานบังคับคดี
ด. คาธรรมเนียมหรือคาใชจายอื่นๆ บรรรดาที่กฎหมายบังคับใหชาํ ระ
1.3 การชําระคาฤชาธรรมเนียม
ก. ผูมีหนาที่ชําระคาฤชาธรรมเนียม
1. คาขึ้นศาล (ป.วิ.พ.มาตรา 149 วรรคสอง)
2. คาฤชาธรรมเนียมอื่น
a. ที่มิใชคา ฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี
b. ที่เปนคาธรรมเนียมในการบังคับคดี
ข. วิธีการชําระคาฤชาธรรมเนียม (ม.153/1, 149 วรรคสาม, 153 วรรคสาม)
ค. ผลของการไมชําระคาฤชาธรรมเนียม
1.4 การคืนคาขึ้นศาล
ก. กรณีที่ศาลตองมีคําสั่งใหคืนคาขึ้นศาลทั้งหมด (ม.151 วรรคหนึ่ง)
มาตรา 151 วรรคหนึ่ง ในกรณีที่ศาลมีคําสั่งไมรับคําฟอง หรือในกรณีที่มีการอุทธรณหรือฎีกา หรือมีคําขอใหพิจารณาใหม ถาศาล
ไมยอมรับอุทธรณหรือฎีกา หรือคําขอใหพิจารณาใหม หรือศาลฎีกามีคําสั่งใหยกอุทธรณหรือฎีกาโดยยังมิไดวินิจฉัยประเด็นแหง
อุทธรณหรือฎีกานั้น ใหศาลมีคําสั่งใหคืนคาธรรมเนียมศาลทั้งหมด
1. ศาลมีคําสั่งไมรับคําฟอง

64
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

2. ศาลไมรับอุทธรณหรือฎีกา
3. ศาลไมรับคําขอใหพจ ิ ารณาคดีใหม
4. ศาลอุทธรณหรือศาลฎีกามีคําสั่งใหยกอุทธรณหรือฎีกา
ข. กรณีที่ศาลมีอํานาจสั่งคืนคาขึ้นศาลทั้งหมดหรือบางสวนไดตามที่เห็นสมควร (ม.151 วรรคสอง)
มาตรา 151 วรรคสอง เมื่อไดมีการถอนคําฟอง หรือเมื่อศาลไดตัดสินใหยกคําฟองโดยไมตัดสิทธิโจทกที่จะฟองคดีใหม หรือเมื่อคดี
นั้นไดเสร็จเด็ดขาดลงโดยสัญญาหรือการประนีประนอมยอมความใหศาลมีอํานาจที่จะสั่งคืนคาธรรมเนียมศาลทั้งหมดหรือบางสวน
แกคูความที่เกี่ยวของซึ่งไดเสียไวในเวลายื่นคําฟองไดตามที่เห็นสมควร
1. เมื่อมีการถอนคําฟอง
2. เมื่อศาลตัดสินยกฟองโดยไมตัดสิทธิโจทกที่จะฟองคดีใหม
3. เมื่อคดีเสร็จเด็ดขาดโดยสัญญาหรือการประนีประนอมยอมความหรือการพิพากษาตามคําชีข
้ าดของ
อนุญาโตตุลาการ
ค. กรณีที่ศาลมีอํานาจสั่งคืนคาขึ้นศาลแตเพียงบางสวน (ม.151 วรรคสาม)
มาตรา 151 วรรคสาม ถาศาลอุทธรณหรือศาลฎีกามีคําสั่งใหสงสํานวนความคืนไปยังศาลลางเพื่อตัดสินใหมหรือเพื่อพิจารณาใหม
ทั้งหมดหรือแตบางสวนตามที่บัญญัติไวในมาตรา 243 ศาลอุทธรณหรือศาลฎีกามีอํานาจที่จะยกเวนมิใหคูความตองเสีย
คาธรรมเนียมศาล ในการดําเนินกระบวนพิจารณาใหม หรือในการที่จะยื่นอุทธรณหรือฎีกาคัดคานคําพิพากษาใหมของศาลลางได
ตามที่เห็นสมควร

2. การยกเวนคาธรรมเนียมศาล
„ คูความซึ่งไมสามารถเสียคาธรรมเนียมศาลอาจยื่นคํารองตอศาลขอใหยกเวนคาธรรมเนียมศาลในการฟองหรือ
ตอสูคดีในศาลชั้นตนหรือชัน้ อุทธรณหรือชั้นฎีกาตามที่กฎหมายบัญญัติไว
„ ศาลจะดําเนินการพิจารณาสั่งคํารองขอยกเวนคาธรรมเนียมศาลดวยความรวดเร็ว โดยกฎหมายกําหนดใหผรู อง
สามารถเสนอพยานหลักฐานมาพรอมคํารองไดทันที และไมบังคับวาศาลจะตองไตสวนกอนมีคําสั่งทุกกรณี หาก
พยานหลักฐานที่ผูรองเสนอมานั้นเพียงพอแลว ศาลมีอํานาจสั่งคํารองไดทันที
„ เมื่อศาลมีคําสั่งอนุญาตใหยกเวนคาธรรมเนียมศาลแลว หากตอมาปรากฎวาบุคคลดังกลาวสามารถเสีย
คาธรรมเนียมศาลได หรือประพฤติตนไมเรียบรอย ศาลอาจมีคาํ สั่งใหบคุ คลนั้นชําระคาธรรมเนียมศาลที่ไดรับยกเวน
ก็ได หรือ ในกรณีที่คคู วามอีกฝายหนึ่งจะตองเปนผูรับผิดในคาฤชาธรรมเนียม ศาลอาจพิพากษาใหคูความฝายนั้น
ชําระคาธรรมเนียมศาลที่ไดรับการยกเวนตอศาลในนามของผูไดรับยกเวนคาธรรมเนียมศาลไดตามที่เห็นสมควร
2.1 วิธกี ารรองขอยกเวนคาฤชาธรรมเนียม
ก. คูความที่มีสิทธิรองขอยกเวนคาธรรมเนียมศาล (ม.155)
มาตรา 155 ถาคูความคนใดอางวาเปนคนยากจน ไมสามารถเสียคาธรรมเนียมศาล ในศาลชั้นตน หรือชั้นอุทธรณ หรือชั้นฎีกา เมื่อ
ศาลไดไตสวนเปนที่เชื่อไดวา คูความนั้นเปนคนยากจนไมมีทรัพยสินพอจะเสียคาธรรมเนียมก็ใหศาลอนุญาตใหคูความนั้นฟอง หรือ
ตอสูคดีอยางคนอนาถาได แตการขอเชนวานีถ้ าผูขอเปนโจทก ผูขอจะตองแสดงใหเปนที่พอใจศาลดวยวาคดีของตนมีมูลที่จะฟองรอง
หรือในกรณีอุทธรณ หรือฎีกา ศาลเห็นวามีเหตุผลอันสมควรที่จะอุทธรณหรือฎีกา แลวแตกรณี
เมื่อคูความคนใดไดรับอนุญาตใหฟองหรือตอสูคดีอยางคนอนาถาแลวยื่นคําขอวาความอยางคนอนาถาในชั้นอุทธรณหรือ
ฎีกา แลวแตกรณีตอมา ใหถือวาคูความนั้นยังเปนคนยากจนอยู เวนแตจะปรากฎตอศาลเปนอยางอื่น
ข. คํารองขอยกเวนคาธรรมเนียมศาลตองแสดงเหตุผล (ม.156/1 วรรคสอง)
ค. วิธีการยื่นคํารองขอยกเวนคาธรรมเนียมศาล

65
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 156 วรรคหนึ่ง ผูใดมีความจํานงจะฟองหรือตอสูคดีอยางคนอนาถาใหยื่นคําขอโดยทําเปนคํารองตอศาลชั้นตนที่จะฟองหรือ


ไดฟองคดีไวนั้น พรอมกับคําฟองคําฟองอุทธรณ คําฟองฎีกา คํารองสอด หรือคําใหการ แลวแตกรณี และสาบานตัวใหคําชี้แจงวา ตน
ไมมีทรัพยสินพอจะเสียคาธรรมเนียมศาล ถาบุคคลนั้นตกเปนคนยากจนลงภายหลัง จะยื่นคําขอในเวลาใด ๆ ก็ได
2.2 หลักเกณฑที่ศาลจะอนุญาตใหไดรับยกเวนคาธรรมเนียมศาล
„ เมื่อศาลชั้นตนไดรับคํารองขอยกเวนคาธรรมเนียมศาลแลว จะตองดําเนินการดังตอไปนี้
ก. ศาลตองสงสําเนาคํารองใหแกคูความอีกฝายหนึง่
ข. การไตสวนคํารอง (ม.156 วรรคสอง)
ค. การพิจารณาสั่งคํารอง (ม.156/1)
2.3 กระบวนการภายหลังจากศาลมีคาํ สั่งอนุญาตใหยกเวนคาธรรมเนียมศาล
ก. คาธรรมเนียมศาลที่ไดรับการยกเวน
มาตรา 157 เมื่อศาลอนุญาตใหบุคคลใดฟองหรือตอสูความอยางคนอนาถา บุคคลนั้นไมตองเสียคาธรรมเนียมศาลในการดําเนิน
กระบวนพิจารณาในศาลนั้น คาธรรมเนียมเชนวานี้ใหรวมถึงเงินวางศาลในการยื่นฟองอุทธรณ หรือฎีกา ถาเปนกรณีที่ศาลอนุญาตใน
ระหวางการพิจารณา การยกเวนไมตองเสียคาธรรมเนียมศาลนั้นใหใชับังคับแตเฉพาะคาธรรมเนียมศาลและเงินวางศาลที่จะตองเสีย
หรือวางภายหลังคําสั่งอนุญาตเทานั้น สวนคาธรรมเนียมศาล หรือเงินวางศาลที่เสียหรือวางไวกอนคําสั่งเชนวานั้นเปนอันไมตองคืน
ข. การเพิกถอนคําสั่งอนุญาตใหยกเวนคาธรรมเนียม
1. กรณีที่ปรากฎวาผูรองขอนั้นมีทรัพยสินพอที่จะชําระคาธรรมเนียมศาลได
a. ถาศาลเห็นวาคาฤชาธรรมเนียมควรตกเปนพับแกคูความทั้งสองฝาย
b. ถาศาลเห็นวาคูความอีกฝายหนึ่งจะตองรับผิดชําระคาฤชาธรรมเนียมทั้งหมดหรือแตบางสวนแทนผู
ที่ไดรับยกเวนคาธรรมเนียมศาล
c. ถาศาลเห็นวาผูที่ไดรับยกเวนคาธรรมเนียมศาลจะตองชําระคาฤชาธรรมเนียมทัง้ หมดหรือแต
บางสวนแทนคูความอีกฝายหนึ่ง
2. กรณีที่ผูไดรับยกเวนคาธรรมเนียมศาลประพฤติตนไมเรียบรอย
3. การสั่งใหคูความอีกฝายหนึง่ เสียคาธรรมเนียมศาลแทนผูที่รับยกเวนคาธรรมเนียมศาล

3. ความรับผิดชอบชั้นที่สุดในคาฤชาธรรมเนียม
„ เมื่อมีการดําเนินกระบวนพิจารณาใดที่ตอ งเสียคาฤชาธรรมเนียม กฎหมายไดกาํ หนดผูท
 ี่มีหนาที่ชาํ ระคาฤชา
ธรรมเนียมเหลานั้นไว แตเมื่อคดีสิ้นสุดลงและปรากฎวาคูค วามฝายใดเปนตนเหตุใหเกิดคดีความหรือตองดําเนินกร
บวนพิจารณาอยางหนึ่งอยางใดโดยไมจําเปน หรือโดยไมสุจริต ความรับผิดชอบในคาฤชาธรรมเนียมจึงควรตกแก
คูความฝายนั้น
„ เมื่อมีการวางเงินหรือชําระหนี้ตามฟองแลว ศาลตองมีคําสั่งเกี่ยวกับคาฤชาธรรมเนียมตามที่กฎหมายบัญญัติไว
จะใชดุลพินิจสั่งเปนอยางอื่นอยางกรณีธรรมดาไมได เวนแตในกรณีที่คคู วามฝายใดไดดําเนินกระบวนพิจารณาโดยไม
จําเปน หรือมีลักษณะประวิงคดี หรือที่ตอ งดําเนินไปเพราะความผิดหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง คูค วามฝาย
นั้นจะตองรับผิดในคาฤชาธรรมเนียมนัน้ โดยไมตอ งคํานึงวาคูค วามฝายนั้นชนะคดีหรือไม
„ หามมิใหคคู วามอุทธรณหรือฎีกาในปญหาเรื่องคาฤชาธรรมเนียมแตอยางเดียว เวนแตอุทธรณหรือฎีกานั้นจะได
ยกเหตุวา คาฤชาธรรมเนียมนั้นมิไดกําหนดหรือคํานวณใหถูกตองตามกฎหมาย
3.1 ผูมีหนาที่ตองรับผิดชอบชั้นที่สุดในคาฤชาธรรมเนียม
ก. คาฤชาธรรมเนียมที่เกิดขึ้นระหวางพิจารณา

66
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

1. ผูมีหนาที่รับผิดชั้นที่สดุ ในคาฤชาธรรมเนียม
„ คาขึ้นศาล (ม.149 วรรคสอง)
„ คาฤชาธรรมเนียมอื่นนอกจากคาขึ้นศาล (ม.152 วรรคหนึ่ง)
„ คาฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี (ม.153 วรรคสอง)
2. ศาลมีหนาที่สั่งเรื่องคาฤชาธรรมเนียม (ตาม ม.141(5) และ 167)
„ หนาที่ของศาลที่จะตองพิจารณามีคําพิพากษาหรือคําสั่งเกี่ยวกับคาฤชาธรรมเนียมนั้นมีอยูในหลายวาระคือ
1. เมื่อศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดี
2. เมื่อศาลมีคําสั่งจําหนายคดีเสียจากสารบบความ
3. เมื่อศาลมีคําสั่งอยางหนึ่งอยางใดในระหวางการพิจารณา (ม.167 วรรคหนึ่ง)
4. ในกรณีที่มีขอพิพาทในเรื่องที่ไมเปนประเด็นในคดี (ม.167 วรรคสอง)
5. ในกรณีที่มีการพิจารณาคดีใหม (ม.167 วรรคสาม)
มาตรา 167 คําสั่งในเรื่องคาฤชาธรรมเนียมนั้น ไมวาคูความทั้งปวงหรือแตฝายใดฝายหนึ่ง จักมีคําขอหรือไมก็ดี ใหศาลสั่งลงไวใน
คําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดีหรือในคําสั่งจําหนายคดีออกสารบบความ แลวแตกรณี แตถาเพื่อชี้ขาดตัดสินคดีใด ศาลไดมีคําสั่ง
อยางใดในระหวางการพิจารณา ศาลจะมีคําสั่งเรื่องคาฤชาธรรมเนียมสําหรับกระบวนพิจารณาที่เสร็จไปในคําสั่งฉบับนั้นหรือในคํา
พิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดีก็ไดแลวแตจะเลือก
ในกรณีที่มีขอพิพาทในเรื่องที่ไมเปนประเด็นในคดี ใหศาลมีคําสั่งในเรื่องคาฤชาธรรมเนียมสําหรับขอพิพาทเชนวานีใ้ นคําสั่ง
ชี้ขาดขอพิพาทนั้น
ในกรณีที่มีการพิจารณาใหม ใหศาลมีอํานาจที่จะสั่งเรื่องคาฤชาธรรมเนียมสําหรับการพิจารณาครั้งแรก และการพิจารณา
ใหมในคําพิพากษาหรือคําสั่งได
3. การกําหนดผูรับผิดชอบชั้นที่สุดในคาฤชาธรรมเนียม
หลักเกณฑ
1. ตามปกติคูความฝายทีแ ่ พคดีจะตองรับผิดในคาฤชาธรรมเนียม (ม.161 วรรคหนึ่ง)
2. ศาลมีอาํ นาจที่จะพิพากษาใหคูความฝายใดเสียคาฤชาธรรมเนียมทั้งปวงได
3. ศาลสั่งใหคูความแตละฝายรับผิดในคาฤชาธรรมเนียมสวนของตน หรือ ศาลจะสั่งวา “คาฤชาธรรมเนียมให
เปนพับ”
4. ใหคูความฝายทีแ่ พคดีรับผิดในคาฤชาธรรมเนียมตามสวนเฉพาะสวนที่แพคดี
5. คดีไมมีขอพิพาท
6. บุคคลที่เปนโจทกรวมกันหรือจําเลยรวมกันนั้นไมตองรับผิดรวมกันในคาฤชาธรรมเนียม (ม.162)
7. ถาคดีไดเสร็จเด็ดขาดโดยการตกลงหรือการประนีประนอมยอมความหรืออนุญาโตตุลาการ (ม.163)
8. คูความฝายใดทําใหตองเสียคาฤชาธรรมเนียมในกระบวนพิจารณาใดๆ ที่ไดดําเนินไปโดยไมจาํ เปนหรือมี
ลักษณะประวิงคดี หรือที่ตอ งดําเนินไปเพราะความผิดหรือความประมาทเลินเลออยางรายแรง (ม.166)
4. ผลของการรับผิดชั้นทีส่ ุดในคาฤชาธรรมเนียม
ข. คาฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี
1. ลูกหนี้ตามคําพิพากษา (ม.169/2 วรรคหนึ่ง)
2. ผูค้ําประกันในศาล (ม.169/2 วรรคสอง)
3. เจาของรวมหรือทายาทผูไดรับสวนแบงทุกคน (ม.169/2 วรรคสาม)
4. ในกรณีที่มีการถอนบังคับคดี

67
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

a. ถาเปนการถอนการบังคับคดีเพราะเหตุทลี่ ูกหนี้ตามคําพิพากษาไดวางเงินหรือหาประกันมาให Æ
ลูกหนี้ตามคําพิพากษานั้น (ม.295(1))
b. ถาเปนการถอนการบังคับคดีเพราะเหตุอน ื่ Æ เจาหนีต้ ามคําพิพากษาผูขอยึดหรืออายัดทรัพยสิน
เปนผูรับผิดชัน้ ที่สุด (ม.169/2 วรรคสี่)
5. บุคคลใดตองทําใหเสียคาฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีสวนใดโดยไมจําเปน หรือมีลักษณะประวิงการบังคับ
คดี หรือที่ตองดําเนินไปเพราะความผิดหรือความประมาทเลินเลออยางรายแรง หรือเพราะบังคับคดีไปโดย
ไมสุจริต กอนการบังคับไดเสร็จลง Æ ผูไดรับความเสียหายอาจยื่นรองตอศาลใหบุคคลนั้นรับผิดในคาฤชา
ธรรมเนียมนัน้ ได
3.2 ความรับผิดในคาฤชาธรรมเนียมภายหลังจําเลยวางเงินหรือชําระหนี้
ก. การวางเงินตาม ป.วิ.พ.มาตรา 135 และ 136
มาตรา 164 ในกรณีที่วางเงินตอศาลตามมาตรา 135, 136 นั้นจําเลยไมตองรับผิดในคาฤชาธรรมเนียมแหงจํานวนเงินที่วางนั้นอัน
เกิดขึ้นภายหลัง
ถาโจทกยอมรับเงินที่วางตอศาลเปนการพอใจเต็มตามที่เรียกรองแลวจําเลยตองเปนผูรับผิดในคาฤชาธรรมเนียม
ถาโจทกยอมรับเงินที่วางตอศาลนั้นเปนการพอใจเพียงสวนหนึ่งแหงจํานวนเงินที่เรียกรอง และดําเนินคดีตอไป จําเลยตอง
รับผิดในคาฤชาธรรมเนียมเวนแตศาลจะไดพิพากษาใหโจทกแพคดี ในกรณีเชนนี้โจทกตองเปนผูรับผิดในคาฤชาธรรมเนียมทั้งสิ้นอัน
เกิดแตการที่ตนไมยอมรับเงินที่วางตอศาลเปนการพอใจตามที่เรียกรอง
ข. การชําระหนี้ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 137
มาตรา 165 ในกรณีที่มีการชําระหนี้ ดังบัญญัติไวในมาตรา 137 ถาโจทกยอมรับการชําระหนี้นั้นเปนการพอใจเต็มตามที่เรียกรอง
แลว จําเลยตองเปนผูรับผิดในคาฤชาธรรมเนียม เวนแตศาลจะเห็นสมควรมีคาํ สั่งเปนอยางอื่น
ถาโจทกไมพอใจในการชําระหนี้เชนวานั้น และดําเนินคดีตอไปคาฤชาธรรมเนียมใหอยูในดุลพินิจของศาล แตถาศาลเห็นวา
การชําระหนี้นั้นเปนการพอใจเต็มตามที่โจทกเรียกรองแลวคาฤชาธรรมเนียมทั้งสิ้นอันเกิดแตการที่โจทกปฏิเสธไมยอมรับชําระหนี้นั้น
โจทกตองเปนผูรับผิด
3.3 สิทธิในการอุทธรณหรือฎีกาคําพิพากษาหรือคําสั่งเกี่ยวกับคาฤชาธรรมเนียมเดิม
ก. ขอหามอุทธรณหรือฎีกาเรื่องคาฤชาธรรมเนียม (ม.168)
มาตรา 168 ในกรณีที่คคู วามอาจอุทธรณ หรือฎีกาคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลไดนั้น หามมิใหคูความอุทธรณ
หรือฎีกาในปญหาเรื่องคาฤชาธรรมเนียมแตอยางเดียว เวนแตอุทธรณหรือฎีกานั้นจะไดยกเหตุวา คาฤชาธรรมเนียม
นั้นมิไดกําหนดหรือคํานวณใหถูกตองตามกฎหมาย
ข. ขอยกเวนทีใ่ หอทุ ธรณหรือฎีกาในปญหาเรื่องคาฤชาธรรมเนียมแตอยางเดียวได
1. เมื่ออุทธรณหรือฎีกาโดยยกเหตุวา ศาลชั้นตนหรือศาลอุทธรณมไิ ดกําหนดหรือคํานวณใหถูกตองตาม
กฎหมาย
2. ถาศาลลางไมไดสั่งในเรื่องคาฤชาธรรมเนียม เปนการไมชอบดวยกฎหมาย
3. ถามีปญหาเกีย ่ วกับเรื่องคาฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีซึ่งเปนเรื่องที่เกิดขึ้นภายหลังทีศ่ าลไดพิพากษาคดี
ไปแลว
ค. กรณีที่ไมมกี ารอุทธรณหรือฎีกาศาลอุทธรณหรือศาลฎีกาก็มีอาํ นาจพิพากษาไดเอง

68
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

10. ขอพิจารณาเบือ้ งตนเกีย่ วกับกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน


„ กฎหมายลักษณะพยานหลักฐานเปนกฎหมายที่วางหลักเกณฑในการวินิจฉัยปญหาขอเท็จจริงในทางอรรถคดีใน
ชั้นศาล
„ เมื่อไดศึกษาขอมูลเบื้องตนในกฎหมายลักษณะพยานหลักฐานไปแลว จากนั้นจะตองนําบรรดากฎหมายลักษณะ
พยานหลักฐานทั้งหมดมาจัดลําดับขั้นตอนในการใชกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน

1. พยานหลักฐานและกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน
„ พยานหลักฐาน หมายถึง สิง่ ใดๆ ก็ตามทีม
่ ีคุณสมบัติสามารถที่จะชีบ้ งหรือสอแสดงใหเห็นถึงความเปนจริงหรือ
ความไมเปนจริง ในปญหาที่พิพาทกันในทางอรรถคดีได ไมวาจะอยูในสภาพของพยานบุคคล หรือพยานเอกสาร หรือ
พยานวัตถุ หรือพยานผูเชีย่ วชาญก็ตาม
„ กฎหมายลักษณะพยานหลักฐานของไทย นอกจากที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงและ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ยังมีบทกฎหมายอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวกับพยานหลักฐานอีกดวย
1.1 ความหมายของพยานหลักฐาน
„ ตัวอยางสิ่งที่ศาลฎีกาวินิจฉัยวาไมใชพยานหลักฐาน
1. ความรู ความเห็น และความเขาใจของผูพ  ิพากษาที่ตดั สินคดีหรือความรู ความเห็นของศาลเอง
(judicial knowledge)
2. บรรดาคํารอง คําขอ คําแถลง หรือขอกลาวอางของผูทเี่ ปนคูความในคดีนั้น
3. เอกสารทีจ ่ ําเลยยื่นสงตอศาลเพื่อประกอบการแถลงรับขอเท็จจริงตามเอกสารนัน้
4. คําแปลเอกสารภาษาตางประเทศมิใชพยานหลักฐาน
5. รายงานของพนักงานคุมประพฤติ
6. สํานวนการสอบสวนที่ศาลใชอํานาจตาม ป.วิ.อ.มาตรา 175
„ ตัวอยางสิ่งที่ศาลฎีกาวินิจฉัยวาเปนพยานหลักฐาน
1. ขอมูลจากคอมพิวเตอร
2. สื่อบันทึกเสียงใชเปนพยานหลักฐานในทางคดีได
3. สําเนาเอกสารที่สงทางโทรสาร
1.2 กฎหมายลักษณะพยานหลักฐานของไทย
กลุมที่ 1 กฎเกณฑในเรื่องพยานหลักฐานในคดีแพงตามที่บัญญัติไวใน ป.วิ.พ.มาตรา 84 ถึง 130
กลุมที่ 2 กฎเกณฑในเรื่องพยานหลักฐานในคดีอาญาตามที่บัญญัตไิ วใน ป.วิ.อ.มาตรา 226 ถึง 244
กลุมที่ 3 บทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงและวิธีพิจารณาความอาญาในเรื่องอื่นๆ ทีอ่ ยูนอก
หมวดพยานหลักฐาน
กลุมที่ 4 บทกฎหมายอื่น

2. ขั้นตอนการใชกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน
„ กรณีที่เปนปญหาขอเท็จจริงตองใชพยานหลักฐานมาพิสูจนความจริง เวนแตเปนกรณีที่กฎหมายยกเวนไวไมตอง
ใชพยานหลักฐาน แตถา เปนขอกฎหมายตองไมใชพยานหลักฐาน

69
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ ขั้นตอนในการใชกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน แบงแยกออกเปน 5 ขั้นตอน


2.1 กรณีใดตองใช กรณีใดไมตองใช และกรณีใดตองไมใชพยานหลักฐาน
„ กรณีใดตองใชพยานหลักฐานมาเปนหลักในการวินจิ ฉัย กรณีใดไมตองใชพยานหลักฐาน และกรณีใดตองไมใช
พยานหลักฐาน มีหลักกฎหมายอยูสองหลักคือ
1. ถาเปนปญหาขอกฎหมาย ตองไมใชพยานหลักฐาน
• ศาลตองใชความรูใ นทางกฎหมายของศาลไปวินิจฉัยเอง
• ถาเปนเรื่องชั้นเจาหนาที่ ก็เปนหนาที่ของเจาหนาที่เอง
2. ถาเปนปญหาขอเท็จจริง ตองใชพยานหลักฐานเปนหลักในการวินจ ิ ฉัย
• ตองเปนพยานหลักฐานที่รบ ั ฟงไดและเปนพยานหลักฐานในสํานวน
• ใชพยานหลักฐานนอกสํานวนไมได
„ ปญหาขอกฎหมาย ประกอบดวยปญหา 3 ลักษณะ
1. ปญหาที่โตแยงกันวามีกฎหมายบทใดบทหนึ่งใชบังคับอยูในขณะเกิดเหตุคดีนั้นหรือไม
2. ปญหาที่โตแยงกันวาความหมายของบทกฎหมายบทนั้นมีอยางไร
3. ปญหาเกี่ยวกับผลของการนําบทกฎหมายไปปรับใชกบ ั ขอเท็จจริงในคดี
„ ปญหาขอเท็จจริง มีหลักวา ถาขอพิพาทขอนี้ไมใชขอกฎหมายก็เปนขอเท็จจริง อยางไรก็ตาม ปญหาขอเท็จจริง
อาจจะเกิดขึ้นได 3 ประการ
1. ปญหาที่โตแยงกันเกี่ยวกับการกระทําของบุคคลวาบุคคลใดกระทําการใดหรือไมอยางไร
2. ปญหาเกี่ยวกับสภาพจิตใจของบุคคล
3. ปญหาที่โตแยงเกี่ยวกับเหตุการณวามีการเกิดขึ้นหรือการมีอยูหรือการสิ้นสุดไปของเหตุการณอยาง
ใดอยางหนึ่งหรือไม อยางไร และขอพิพาทที่โตแยงกันเกี่ยวกับความมีอยูหรือไมมีอยูของวัตถุสิ่งใดสิ่ง
หนึ่งหรือสภาวการณที่เปนนามธรรมอยางใดอยางหนึง่

2.2 ขั้นตอนการใชกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน
ก. ขั้นตอนทีห่ นึ่ง ตองวินิจฉัยใหไดวา การวินิจฉัยปญหาขอเท็จจริงเรื่องใดตองใชพยานหลักฐาน เรื่องใดตองไมใช
พยานหลักฐาน หรือไมตอ งใชพยานหลักฐาน ใชกฎเกณฑในทางพยานหลักฐานใหรวมรวมมาทั้งหมด

70
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

ข. ขั้นตอนที่สอง พิจารณาวาใครมีหนาที่นําสืบพยาน หรือ หนาที่นําสืบ (Burden of Proof) หนาที่นําสืบ


พยานหลักฐานอยูทคี่ ูความฝายใด .ใชกฎเกณฑเกี่ยวกับหนาที่นาํ สืบทั้งหมด
ค. ขั้นตอนทีส่ าม คือ วิเคราะหวาพยานใดรับฟงไดหรือรับฟงไมได โดยใช หลักกฎหมายในเรื่องการรับฟง
พยานหลักฐาน (Admissibility of Evidence)
ง. ขั้นตอนทีส่ ี่ คือ การยื่นพยานหลักฐาน หรือวิธีการนําสืบพยานหลักฐาน เปนหัวขอวาดวยเรือ่ ง การยื่น
พยานหลักฐาน (Introduction of evidence) หรือวิธีการนําสืบพยานหลักฐาน (Adduction of Evidence)
จ. ขั้นตอนทีห่ า คือ การชัง่ น้ําหนักพยานหลักฐาน (Weight or Cogency of Evidence)

71
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

11. ประเด็นคดีกบั พยานหลักฐาน


„ กฎหมายลักษณะพยาน คือ กฎหมายที่วางหลักเกณฑเกี่ยวกับการพิสูจนขอเท็จจริงโดยพยานหลักฐานวาในคดีแต
ละคดีนั้นมีขอเท็จจริงใดบางที่จะตองมีการพิสูจน ใครเปนผูมีหนาทีต่ องพิสูจน พยานหลักฐานชนิดใดบางซึ่งอาจเสนอ
ตอศาลและศาลรับฟงได กระบวนวิธีพิจารณาในการนําพยานหลักฐานเขาสูศาลและการชั่งน้ําหนักพยานหลักฐาน
„ การวินิจฉัยปญหาขอเท็จจริงในคดีตองอาศัยพยานหลักฐานที่นาํ สืบในคดีนั้นเปนหลัก แตอยางไรก็ดี มีขอยกเวน
บางกรณีทใี่ หศาลรับฟงขอเท็จจริงได โดยคูค วามไมตอ งสืบพยานหลักฐาน

1. แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับพยานหลักฐาน
1.1 การใชพยานหลักฐานพิสูจนขอเท็จจริง
ก. ความหมายของพยานหลักฐาน
„ พยานหลักฐาน คือ สิ่งที่สามารถพิสูจนขอ เท็จจริงทีม ่ ีการกลาวอางในคดี ไมวาจะเปนคดีแพง คดีอาญา หรือคดี
ประเภทอื่น
„ พยานหลักฐานสามารถพิสูจนขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นได 2 ลักษณะ
1. บันทึกเหตุการณที่เกิดขึ้น และนํามาถายทอดใหไดทราบ Æ พยานบุคคลและพยานเอกสาร
2. แสดงรองรอยวา มีขอเท็จจริงใดเกิดขึ้น Æ พยานวัตถุ
ข. ระบบกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน
„ กฎหมายลักษณะพยาน คือ กฎหมายที่วางหลักเกณฑเกี่ยวกับการพิสูจนขอเท็จจริงโดยพยานหลักฐานในคดีแตละ
คดีนั้นมีขอเท็จจริงใดบางทีจ่ ะตองพิสูจน ใครเปนผูมีหนาที่ตองพิสูจน เปนตน
„ ระบบกฎหมายลักษณะพยาน แบงเปน
1. ระบบไตสวน (Inquisitorial System)
ƒ ศาลมีบทบาทสําคัญ มีอาํ นาจสืบพยาน หรืองดสืบพยาน การกําหนดระเบียบวิธีมีนอย ศาล
มีอํานาจใชดลุ พินิจไดกวางขวางและยืดหยุนมาก
ƒ โดยมากในคดีอาญา สวนใหญจะเปนการดําเนินการระหวางศาลกับจําเลย โจทยไมคอยมี
บทบาท
ƒ มักไมมีกฎเกณฑการสืบพยานเครงครัดมากนัก ไมมบ ี ทตัดพยาน (Exclusionary rule) ที่
เด็ดขาด สามารถนําพยานทุกชนิดมาสูศาลได
2. ระบบกลาวหา (Accusatorial System)
ƒ ศาลมีบทบาทเปนเพียงผุตัดสินคดี ไมมีอาํ นาจสืบพยานเพิ่มเติม ศาลใชดุลพินิจไดนอย
ƒ คูความมีบทบาทสําคัญ ในคดีศาลจะไมชวยโจทยแสวงหาพยานหลักฐาน บางครัง้ ศาลอาจ
ยกฟองทั้งที่ปรากฎวาจําเลยกระทําผิดก็ได
ƒ มีกฎเกณฑการสืบพยานเครงครัดมาก ศาลใชดุลพินิจไดนอย มีบทบาทตัดพยานเด็ดขาด
ค. ความเปนมาของกฎหมายลักษณะพยานไทย
„ พระราชบัญญัติลักษณะพยาน ร.ศ.113 มีหลักการสวนใหญมาจากกฎหมายอังกฤษ เปนการปฎิวัติขั้นแรกของ
กฎหมายลักษณะพยานไทยเขาสูสากล

72
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ ขอถกเถียงในหมูนักนิติศาสตรวา กฎหมายไทยเปนระบบกลาวหาหรือระบบไตสวน ซึ่งพิจารณาตาม ป.วิ.พ.


มาตรา 95/1 และมาตรา 116 หรือ ป.วิ.อ.มาตรา 226/3 และมาตรา 229 ที่ใหอํานาจศาลอยางกวางขวางในการ
รับฟงหรือดําเนินการสืบพยานซึ่งเปนลักษณะไตสวน
1.2 ประเภทของพยานหลักฐาน
ก. พยานบุคคล พยานเอกสาร พยานวัตถุ และพยานผูเชี่ยวชาญ
ข. พยานชั้นหนึ่งและพยานชั้นสอง
„ พยานชั้นหนึ่ง คือ พยานหลักฐานทีด่ ีที่สดุ ในบรรดาพยานหลักฐานทัง้ หลายที่มุงพิสูจนขอเท็จจริงขอหนึ่ง
„ พยานชั้นสอง คือ พยานหลักฐานในลําดับรองลงมา
ค. พยานโดยตรงกับพยานประพฤติเหตุแวดลอมกรณี
„ พยานโดยตรง (Direct evidence) คือ พยานที่มุงพิสจู นขอเท็จจริง ซึ่งเปนประเด็นขอพิพาทในคดีโดยตรง
„ พยานประพฤติเหตุแวดลอมกรณี (Circumstantial evidence) หรือ พยานแวดลอม คือ พยานหลักฐานที่มงุ
พิสูจนขอเท็จจริง ซึ่งมิไดเปนประเด็นขอพิพาทในคดีโดยตรง หากแตพิสูจนขอเท็จจริงอื่นที่บงชี้วาขอเท็จจริงอันเปน
ประเด็นขอพิพาทนาจะเกิดขึ้น
ง. พยานนําและพยานหมาย
„ พยานนํา คือ พยานหลักฐานที่คคู วามประสงคจะนํามาศาลเอง โยไมตองขอหมายเรียกจากศาล
„ พยานหมาย คือ พยานหลักฐานทีค่ คู วามไมประสงคจะนํามาศาลเอง แตประสงคจะขอใหศาลออกหมายเรียก
จ. พยานคูและพยานเดีย่ ว
„ พยานคู คือ พยานบุคคลตัง้ แตสองคนขึน ้ ไป ซึ่งรูเห็นเหตุการณ หรือขอเท็จจริงเดียวกัน
„ พยานเดี่ยว คือ พยานบุคคลซึ่งรูเห็นเหตุการณไมซ้ํากับพยานคนอืน ่
1.3 ประเด็น ประเด็นแหงคดี และประเด็นขอพิพาท
ก. ความหมายของประเด็น
„ ประเด็น คือ ขอความหรือเรื่องราวทีค่ ูความหยิบยกขึ้นใหศาลวินิจฉัย
„ ประเด็นแหงคดี คือ เรื่องราวหรือขออางขอเถียงที่คคู วามยกขึ้นกลาวอางในคําคูความของตน เปนเรื่องราวอันเปน
เนื้อหาสาระของคดีเพื่อขอใหศาลวินิจฉัย
„ ประเด็นขอพิพาท คือ ปญหาที่คคู วามยังโตเถียงกันอยูและปญหานัน ้ จะมีผลทําใหคคู วามฝายใดฝายหนึ่งชนะหรือ
แพคดีทั้งหมดหรือแตบางสวน
ข. การกําหนดประเด็นขอพิพาท
„ กระบวนพิจารณาในการกําหนดประเด็นขอพิพาท มีดังนี้
1. การยื่นคําแถลงกะประเด็นขอพิพาทรวมกัน (ม.182 วรรคสาม)
2. การกําหนดประเด็นขอพิพาทในวันชี้สองสถาน (ม.183)
3. การคัดคานการกําหนดประเด็นขอพิพาท (ม.183 วรรคสาม)
„ โจทกฟองขอใหบังคับจําเลยโอนที่พิพาท ซึ่งจําเลยฟองเรียกโอนมาจากผูมีชื่อและรับไวแทนโจทก กับใหจําเลยคืนเงินคายุงขาวที่
จําเลยยักยอกเอาไป จําเลยในการวานอกจากที่ใหการตอไปนี้แลวขอปฏิเสธทั้งสิ้น และใหการตอไปวา จําเลยมิไดรับโอนที่พิพาทจากผู
มีชื่อมา ดังนี้ คดีนี้มีขอพิพาทอยางไร
1.4 ปญหาขอเท็จจริงและปญหาขอกฎหมาย

73
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ ปญหาขอเท็จจริง คือ ปญหาวามีการกระทําเชนนั้นเกิดขึ้นจริงหรือไม หรือมีเหตุการณเชนนั้นเกิดขึ้นจริงหรือไม


ปญหาขอเท็จจริง โดยปกติจะตองมีการพิสูจนดวยพยานหลักฐาน
„ ปญหาขอกฎหมาย คือ ปญหาเกีย่ วกับการตีความกฎหมาย หรือปญหาการปรับตัวบทกฎหมายเขากับขอเท็จจริง
แหงคดี ปญหาขอกฎหมาย ศาลสามารถวินิจฉัยไดโดยอาศัยความรูข องศาลเอง ไมตองมีการพิสูจนดวย
พยานหลักฐาน
„ โจทกฟองวา จําเลยลงขอความใสความโจทกในหนังสือพิมพวา โจทกเปนคนมีความประพฤติสําสอนทางเพศ ชอบคบผูชายพรอม
กันทีเดียวหลายคน คูความรับกันวา จําเลยไดลงขอความเกี่ยวกับโจทยในหนังสือพิมพดังที่โจทกกลาวในฟอง คงเหลือปญหาที่จะตอง
วินิจฉัยเพียงวา “ขอความตามคําฟองเปนการใสความโจทก โดยประการที่นาจะทําใหโจทกเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง
หรือไม” ปญหาดังกลาวเปนปญหาขอเท็จจริงหรือปญหาขอกฎหมาย

2. ขอเท็จจริงที่ศาลรับฟงเปนยุติไดโดยไมตองใชพยานหลักฐาน
2.1 ตัวบทกฎหมาย
„ กฎหมายที่ศาลรูไดเอง คือ กฎหมายที่มีลาํ ดับศักดิ์กฎหมายในลําดับสูง เชน รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระ
ราชกําหนด ประมวลกฎหมาย พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง และรวมถึงขอบัญญัติสวนทองถิ่นซึ่งมีผลใชบังคับแก
คนทั่วประเทศ
„ ประกาศของกระทรวงการคลังที่กําหนดอัตราดอกเบี้ยขั้นสูงที่จะอนุญาตใหธนาคารและสถาบันการเงินเรียกเก็บจากลูกคาเกินกวา
อัตรารอยละ 15 ตอป เปนขอที่ศาลรูไดเองหรือไม และคูความที่ประสงคจะไดประโยชนตามประกาศฉบับนี้ จะตองกลาวอางและนํา
สืบใหเห็นถึงประกาศฉบับดังกลาวหรือไม
2.2 ขอเท็จจริงซึ่งรูกันอยูท ั่วไป
„ ขอเท็จจริงซึ่งรูกันอยูท
 ั่วไป คือ ขอเท็จจริงที่เปนที่รูกันอยางแพรหลายจนไมมคี วามจําเปนตองมีพยานหลักฐานมา
พิสูจนอีก
„ ขอเท็จจริงซึ่งรูกันอยูท ั่วไป แบงเปน
1. ขอเท็จจริงที่มล ี ักษณะรูร วมกัน เชน
ƒ ภาษาไทย
ƒ ขนบธรรมเนียมประเพณี
ƒ สิ่งที่ปรากฎอยูตามธรรมชาติ หรือเปนธรรมดาที่ทุกคนทราบ
2. ขอเท็จจริงซึ่งศาลสามารถคนหาไดจากแหลงที่มาทีแ ่ นนอนถูกตองอันไมมีผูใดโตแยง และสามารถ
คนไดงายและในเวลาอันรวดเร็ว
2.3 ขอเท็จจริงซึ่งไมอาจโตแยงได
„ ขอเท็จจริงซึ่งไมอาจโตแยงได คือ ขอเท็จจริงที่มีขอสันนิษฐานเด็ดขาดไวในกฎหมายแลว
„ ขอสันนิษฐาน แบงออกเปน 2 ประเภท
1. ขอสันนิษฐานตามกฎหมาย
ƒ ขอสันนิษฐานเด็ดขาด – ไมเปดโอกาสใหนําสืบหรือหักลาง
ƒ ขอสันนิษฐานไมเด็ดขาด – เปดโอกาสใหนําสืบโตแยงหรือหักลางได มักใชคําวา “ทานให
สันนิษฐานไวกอนวา...”
2. ขอสันนิษฐานตามขอเท็จจริง
2.4 ขอเท็จจริงที่คูความรับกันหรือถือวารับกันแลวในศาล

74
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ ขอเท็จจริงที่รบ
ั กันหรือที่ถือวารับกันแลวในศาล แบงเปน 2 กรณี คือ การรับในคดีแพง และการรับในคดีอาญา
ก. การรับในคดีแพง
„ กรณีแสดงเจตนายอมรับโดยตรง
1. การรับในคําใหการ
2. การแถลงรับตอศาล
„ กรณีที่ถือวาเปนการยอมรับหรือเปนการรับกัน
1. กรณีจาํ เลยใหการปฏิเสธไมแจงชัด หรือไมใหการถึงประเด็นที่โจทกกลาวอางในฟอง ถือวาจําเลย
ยอมรับขอเท็จจริงในประเด็นนั้น
2. กรณีที่กฎหมายบัญญัติใหถือวาเปนการยอมรับกัน
ข. การรับกันในคดีอาญา
„ กรณีจําเลยรับสารภาพตรงตามที่โจทกฟอง ถือวาขอเท็จจริงทั้งหมดที่โจทกบรรยายฟองมาไมตองสืบพยาน
และศาลตัดสินไดเลย เวนแตความผิดที่กฎหมายกําหนดโทษอยางต่าํ ตั้งแตหา ปขนึ้ ไป ใหศาลรับฟงพยานโจทย
จนกวาจะพอใจวาจําเลยไดกระทําผิดจริง
„ คํารับของจําเลยที่จะปลดภาระการพิสูจนของโจทก ตองเปนคํารับที่ชัดเจนตรงกับขอเท็จจริงที่กลาวอาง
„ จําเลยใหการปฏิเสธขอเท็จจริงอันหนึ่ง แตการปฏิเสธนั้นแสดงเปนโดยนัยวาเปนการยอมรับขอเท็จจริงอีก
ประเด็นหนึ่ง ศาลถือวา จําเลยไดยอมรับในขอเท็จจริงหลังแลว
„ หลักการถือวารับในคดีอาญาตางจากคดีแพง เพราะในคดีอาญาจําเลยมีสิทธิทจี่ ะใหการหรือไมใหการตอสูค ดีก็
ได การที่จาํ เลยไมใหการประเด็นใด ก็ไมถือวาจําเลยยอมรับ แมวาจําเลยจะรับสารภาพไปแลวไมวาเวลาใดกอนศาล
มีคําพิพากษา ถาจําเลยมีเหตุอันควร จําเลยก็อาจถอนคํารับสารภาพและใหการใหมเปนปฏิเสธฟองโจทกได
„ กรณีโจทกบรรยายขอเท็จจริงซึ่งอาจเปนความผิดไดหลายฐาน โจทกตองสืบพยานใหชดั วา จําเลยทําผิดฐานใด
แน มิฉะนั้นศาลยกฟอง
2.5 การดําเนินกระบวนพิจารณาตามคําทา
„ การทากันในศาล คือ การยอมรับขอเท็จจริงตามที่อกี ฝายหนึ่งอางโดยมีเงื่อนไขบังคับกอน แตเงื่อนไขนั้นจะตอง
เปนสิ่งที่เกี่ยวกับการดําเนินกระบวนพิจารณาเทานั้น
ก. ลักษณะสําคัญของคําทาในศาล
1. ตองเปนการทากันในเรื่องการดําเนินกระบวนพิจารณา หรือเกี่ยวกับประเด็นแหงคดี
2. ตองมีการกําหนดเงื่อนไขวา ถาผลของการทากันหรือการชีข ้ าดออกมาอยางหนึง่ ใหฝายหนึ่งชนะ ถาผล
ออกมาอีกอยางหนึ่ง ใหอีกฝายชนะ
3. ตองไดรับอนุญาตจากศาล
ข. การดําเนินกระบวนพิจารณาตามคําทา
1. การทากันในศาลอาจเกิดขึน ้ ตอนใดของกระบวนพิจารณาก็ได
2. โดยปกติคค ู วามจะหยิบยกเงื่อนไขเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพียงเรื่องเดียวมาเปนขอแพชนะ
3. เมื่อคูความทากันและศาลอนุญาตใหดําเนินตามคําทาแลว คูค  วามฝายใดฝายหนึ่งจะถอนคําทาไมได
4. กรณีที่คค ู วามทากันใหผูเชีย่ วชาญตรวจพิสูจนวัตถุพยาน ถาการตรวจปรากฎผลวา “นาเชื่อวาจะเปนเชนนั้น”
ศาลถือวาผูเชีย่ วชาญยืนยันวาผลเปนเชนนั้นอยางแนนอน
5. การทาประเด็นโดยใหศาลชี้ขาดขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายขอหนึ่งขอใด

75
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

6. เมื่อคูความและศาลตกลงที่จะดําเนินกระบวนพิจารณาโดยการทากันแลวผลของการทาออกมาเชนใด ศาล
ตองถือตามโดยเครงครัด
a. ถาทากันใหคนภายนอกมาเบิกความหรือชี้ขาดขอเท็จจริง ศาลตองตัดสินใหฝา  ยนั้นชนะคดีเลย โดย
ไมตองคํานึงวาบุคคลภายนอกนั้นนาเชื่อถือหรือวินิจฉัยถูกตองหรือไม
b. ถาคูความทากันใหศาลชีข ้ าดขอเท็จจริง หรือปญหาขอกฎหมายขอหนึ่งขอใด เมื่อศาลชีข้ าดแลวก็
ยอมตัดสินไปตามนั้นเลย
c. ศาลจะวินจ ิ ฉัยนอกคําทาไมได แมวาผลของคดีจะเปนตรงกันขาม หากใชหลักกฎหมายอื่นที่ปรากฎ
ในคดีบังคับ
7. ถาคูความและศาลดําเนินการไปตามคําทาแลว ปรากฎวาคําทานั้นไมอาจเกิดผลขึ้นได

76
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

12. หนาที่นําสืบหรือภาระการพิสูจน
„ หนาที่นําสืบ หมายถึง ภาระการพิสูจนตาม ป.วิ.พ.มาตรา 84/1
„ หนาที่นําสืบ หรือหนาที่ในการแสวงหาพยานหลักฐานพิสูจนขอเท็จจริงที่โตแยงกันในคดี ไมใชเปนหนาที่ของศาล
แตเปนหนาทีข่ องคูค วามในคดีนั้นทีจ่ ะแสวงหาพยานหลักฐานมาพิสจู นขอเท็จจริงที่ตนกลาวอางนั้น
„ การจัดลําดับกอนหลังในการนําพยานหลักฐานเขาสืบ ไดแกการกําหนดใหคูความฝายใดฝายหนึ่งตองนํา
พยานหลักฐานเขาสืบกอน ซึ่งแตกตางกับคําวา “หนาที่นําสืบหรือภาระการพิสูจน”

1. ความหมายและความสําคัญของหนาที่นําสืบ
1.1 ความหมายและคําศัพทของหนาที่นําสืบหรือภาระการพิสูจน
„ หนาที่นําสืบ หมายถึง “ภาระการพิสูจน” ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 84/1 ซึ่งตรงกับคําศัพทในภาษาอังกฤษวา “legal
burden of proof” คือ ภาระหรือหนาที่ทใี่ หคูความฝายใดมีหนาที่ตอ
 งนําพยานหลักฐานมาพิสจู นในประเด็นใดโดย
จะตองเปนไปตามกฎหมายมิใชดุลพินิจศาล
„ หนาที่นําสืบกอน หมายถึง การจัดลําดับวาจะใหคคู วามฝายใดนําพยานหลักฐานเขาสืบกอน (order of proof) ซึ่ง
มิไดเนนที่ภาระหรือหนาที่ แตเนนทีค่ วามสะดวกในการนําพยานหลักฐานเขาสืบตอศาล กฎหมายจึงใหเปนดุลพินิจ
ของศาลที่จะจัดลําดับใหเหมาะสมเปนรายกรณีไป
1.2 ความสําคัญของหนาที่นําสืบหรือภาระการพิสูจน
„ หนาที่นําสืบ มีความสําคัญอยู 2 ประการคือ
1. เปนหลักกฎหมายทั่วไปทีท ่ าํ ใหเกิดผลแพชนะในคดีโดยตรง
2. หากศาลสูงจําเปนตองใชประเด็นเรื่องภาระการพิสูจนนี้วินิจฉัยใหแพชนะคดี ศาลสูงไมผูกพันใหตอ
 งถือตามที่
ศาลชั้นตนกําหนดภาระการพิสูจนมาผิด

2. หลักเกณฑในการกําหนดหนาที่นําสืบหรือภาระการพิสูจน
2.1 หลักใหผูกลาวอางมีภาระการพิสูจน
„ หลักเกณฑการกําหนดหนาที่นําสืบหรือภาระการพิสูจนของกฎหมายไทย คือ คูความฝายใดกลาวอางขอเท็จจริงใด
ตองนําสืบพิสูจนขอเท็จจริงนั้นซึ่งเปนหลักทั่วไป เวนแตมีขอสันนิษฐานไวในกฎหมาย หรือมีขอสันนิษฐานทีค่ วรจะ
เปนที่คุณคูความฝายที่ไมไดรับประโยชนจากขอสันนิษฐานจะตองนําสืบหักลางขอสันนิษฐานนั้น
„ หลักกฎหมายที่วา ผูท  ี่กลาวอางขอเท็จจริงใดจะตองเปนฝายที่มภี าระการพิสูจนขอ เท็จจริงนั้น มีขอยกเวน 2
ประการตาม ป.วิ.พ.มาตรา 84/1 คือ
1. เมื่อมีขอสันนิษฐานไวในกฎหมายเปนคุณแกผูอา ง
2. เมื่อมีขอสันนิษฐานที่ควรจะเปนซึ่งปรากฎจากสภาพปกติธรรมดาของเหตุการณเปนคุณแกผูอา ง
2.2 ขอยกเวนในกรณีมขี อ สันนิษฐาน
„ ขอสันนิษฐานเปนขอยกเวนที่จะมาเปลี่ยนภาระการพิสูจนจากฝายกลาวอางไปเปนฝายตรงขาม ซึ่งขอสันนิษฐาน
เกิดได 2 ทางคือ โดยบทบัญญัติของกฎหมาย และโดยขอเท็จจริง
„ กรณีที่คคู วามทั้งสองฝายตางอางเอาประโยชนจากขอสันนิษฐานตามกฎหมาย ในกรณีที่ขอสันนิษฐานดังกลาว
ขัดแยงกันนั้น มีขอพิจารณาดังนี้

77
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

1. ใหเปรียบเทียบวาขอสันนิษฐานของฝายใดเปนขอสันนิษฐานเด็ดขาด หรือเปนขอสันนิษฐานเบื้องตน
โดยจะตองบังคับตามขอสันนิษฐานเด็ดขาด
2. ถาขอสันนิษฐานนั้นขัดแยงกันโดยตรง และเปนขอสันนิษฐานระดับเดียวกัน ทั้งสองฝายตางอางเอา
ประโยชนจากขอสันนิษฐานที่ขัดแยงกันมาเปลี่ยนหนาที่นําสืบไมได ตองกลับไปใชหลักทั่วไป คือ
ผูใดกลาวอางขอเท็จจริงใด ตองนําสืบพิสูจนขอเท็จจริงนั้น
2.3 ภาระการพิสูจนในคดีอาญา
„ ภาระการพิสูจนหรือหนาทีน ่ ําสืบในคดีอาญานั้นตองพิจารณาจากประเด็นขอพิพาทในคดีนั้นๆ
ก. ประเด็นขอพิพาทที่สงผลไปสูการตัดสินวาจําเลยผิดหรือไมผิด
ข. ประเด็นขอพิพาทที่สงผลไปสูการวิเคราะหเรื่องโทษของจําเลยวามีเหตุยกเวนโทษ ลดหยอนโทษ หรือเพิ่มโทษ
หรือไม
ค. ประเด็นขอพิพาทในเรือ่ งอื่นๆ ที่ไมเกี่ยวกับความผิดหรือโทษของจําเลย

3. การจัดลําดับกอนหลังในการนําพยานหลักฐานเขาสืบ
3.1 หลักทั่วไปเกี่ยวกับการจัดลําดับกอนหลังในการนําพยานหลักฐานเขาสืบ
„ ในคดีอาญา โจทกเปนฝายนําสืบพยานหลักฐานกอนเสมอ
„ ในคดีแพง เปนดุลพินิจของศาลในการจัดลําดับกอนหลัง โดยคํานึงถืงภาระการพิสูจนในคดีนั้น จึงเกิดหลักทั่วไป
วา ฝายใดมีภาระการพิสูจนหรือหนาทีน่ ําสืบในประเด็นสําคัญยิ่งกวาตองนําสืบกอน
3.2 ขอยกเวนเกี่ยวกับการจัดลําดับกอนหลังในการนําพยานหลักฐานเขาสืบ
„ แมวาฝายที่มห
ี นาที่นําสืบในประเด็นสําคัญจะตองนําสืบกอน แตมีขอยกเวน 4 ประการคือ
1. กรณีที่จาํ เลยขาดนัดยื่นคําใหการ
2. คดีที่ศาลเห็นวามีประเด็นขอพิพาทไมยุงยาก
3. กรณีที่คค ู วามตกลงกัน
4. คดีในศาลชํานัญพิเศษ

78
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

13. การรับฟงพยานหลักฐานในคดีแพง
„ คูความฝายทีม่ ีหนาที่ตองนําสืบขอเท็จจริงยอมมีสิทธินาํ พยานหลักฐานใดๆ มาสืบได แตศาลมีอาํ นาจในการ
ควบคุมกระบวนพิจารณาในเรื่องการเสนอและการรับฟงพยานหลักฐาน เพื่อใหพยานหลักฐานที่ชอบเทานัน้ ที่จะ
เสนอตอศาล
„ หามมิใหศาลรับฟงพยานบอกเลา เวนแตเปนกรณีที่กฎหมายยกเวนไว
„ กรณีที่กฎหมายบังคับใหตอ งมีพยานเอกสารมาแสดง หามคูความนําพยานบุคคลมาสืบแทนพยานเอกสาร หรือ
เพิ่มเติม ตัดทอน หรือเปลี่ยนแปลงแกไขขอความที่ตองมีในเอกสาร เวนแตเปนกรณีที่กฎหมายยกเวนไว

1. หลักทั่วไปเรื่องการรับฟงพยานหลักฐาน
1.1 ความหมายเรื่องการรับฟงพยานหลักฐานของศาล
มาตรา 85 คูความฝายที่มีหนาที่ตองนําสืบขอเท็จจริงยอมมีสิทธิที่จะนําพยานหลักฐานใด ๆ มาสืบไดภายใตบังคับแหงประมวล
กฎหมายนี้ หรือกฎหมายอื่นอันวาดวยการรับฟงพยานหลักฐานและการยื่นพยานหลักฐาน
„ การรับฟงพยานหลักฐาน หมายถึง การที่ศาลรับเอาพยานหลักฐานที่คคู วามนําสืบถึงขอเท็จจริงเพื่อสนับสนุน
ขออางขอเถียงของตนเขาสูส ํานวนความ เพื่อนําไปประกอบการวินิจฉัยตัดสินคดี
„ ประเภทของพยานทีต่ องหามมิใหรับฟง
1. พยานหลักฐานที่ตองหามโดยลักษณะ หรือคุณคาของพยานเอง ไดแก พยานบุคคลซึ่งไมสามารถ
เขาใจ และตอบคําถามได (ม.95(1)) พยานหลักฐานที่ฟุมเฟอย ประวิงคดี หรือไมเกี่ยวกับประเด็น
(ม.86 วรรคสอง) เปนตน
2. พยานหลักฐานที่ตองหาม เพราะมีการนําสืบฝาฝนกฎหมาย
„ คดีแพงเรื่องหนึ่ง โจทกฟองจําเลยใหรับผิดตามสัญญากูยืมเงิน จํานวน 5,000 บาท โดยนําสืบสัญญากูยืมเงิน แตปรากฎวาสัญญา
กูยืมเงินดังกลาว ปดอากรแสตมปไมครบถวน ถูกตอง ดังนี้ ศาลจะพิพากษายกฟองหรือใหจําเลยชําระเงินแกโจทก
1.2 หลักเกณฑการรับฟงพยานหลักฐานของศาล
ก. การใชอํานาจศาลในการรับฟงพยานหลักฐาน ไดแก
1. อํานาจศาลในการรับ หรือปฏิเสธพยานหลักฐาน
2. อํานาจศาลในการงดการสืบพยานหลักฐาน
3. อํานาจศาลในการสั่งสืบพยานหลักฐานเพิ่มเติม
มาตรา 86 เมื่อศาลเห็นวาพยานหลักฐานใดเปนพยานหลักฐานที่รับฟงไมไดก็ดี หรือเปนพยานหลักฐานที่รับฟงได แตไดยื่นฝาฝน
ตอบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ ใหศาลปฏิเสธไมรับพยานหลักฐานนั้นไว
เมื่อศาลเห็นวาพยานหลักฐานใดฟุมเฟอยเกินสมควรหรือประวิงใหชักชาหรือไมเกี่ยวแกประเด็น ใหศาลมีอํานาจงดการสืบ
พยานหลักฐานเชนวานั้นหรือพยานหลักฐานอื่นตอไป
เมื่อศาลเห็นวาเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมเปนการจําเปนที่จะตองนําพยานหลักฐานอื่นอันเกี่ยวกับประเด็นในคดีมาสืบ
เพิ่มเติม ใหศาลทําการสืบพยานหลักฐานตอไป ซึ่งอาจรวมทั้งการที่จะเรียกพยานที่สืบแลวมาสืบใหมดวยโดยไมตองมีฝายใดรองขอ
ข. พยานหลักฐานที่ศาลรับฟง
มาตรา 87 หามมิใหศาลรับฟงพยานหลักฐานใด เวนแต
(1) พยานหลักฐานนั้นเกี่ยวถึงขอเท็จจริงที่คูความฝายหนึ่งฝายใดในคดีจะตองนําสืบ…

79
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ โจทกฟองจําเลยใหชําระเงินกูคืน 8,000 บาท ตามสัญญากูทายฟอง จําเลยใหการวาสัญญากูดังกลาวเปนเอกสารปลอม ตอมา


จําเลยเบิกความยอมรับวาไดทําสัญญากูตามฟองจริง ดังนี้ จําเลยจะนําพยานหลักฐานเขาสืบวาจําเลยกูเงินโจทกเพียง 5,000 บาท
ไดหรือไม

2. ขอหามในการรับฟงพยานบุคคล
2.1 พยานบอกเลา
„ Hearsay หมายถึง คํากลาวนอกศาล (out of court statement) นํามาเสนอตอศาลเพื่อมุงพิสูจนความจริงของคํา
กลาวนั้น
มาตรา ๙๕/๑ ขอความซึ่งเปนการบอกเลาที่พยานบุคคลใดนํามาเบิกความตอศาลก็ดี หรือที่บันทึกไวในเอกสารหรือวัตถุอื่นใดซึ่งได
อางเปนพยานหลักฐานตอศาลก็ดี หากนําเสนอเพื่อพิสูจนความจริงแหงขอความนั้น ใหถือเปนพยานบอกเลา
หามมิใหศาลรับฟงพยานบอกเลา เวนแต
(๑) ตามสภาพ ลักษณะ แหลงที่มา และขอเท็จจริงแวดลอมของพยานบอกเลานั้น นาเชื่อวาจะพิสูจนความจริงได หรือ
(๒) มีเหตุจําเปนเนื่องจากไมสามารถนําบุคคลซึ่งเปนผูที่ไดเห็น ไดยิน หรือทราบขอความเกี่ยวในเรื่องที่จะใหการเปนพยานนั้นดวย
ตนเองโดยตรงมาเปนพยานได และมีเหตุผลสมควรเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมที่จะรับฟงพยานบอกเลานั้น
ในกรณีที่ศาลเห็นวาไมควรรับไวซึ่งพยานบอกเลาใด ใหนําความในมาตรา ๙๕ วรรคสองมาใชบังคับโดยอนุโลม
2.2 กรณีหามนําพยานบุคคลมาสืบแทน หรือเพิ่มเติม ตัดทอน หรือเปลี่ยนแปลงแกไขขอความในเอกสาร
„ พยานเอกสาร หมายถึง พยานที่มีการบันทึกไวเปนลายลักษณอักษรหรือดวยรูปรอยใดๆ อันเปนการสื่อ
ความหมายในภาษาภาษาหนึ่ง พยานบางอยาง เชน ภาพถาย ถึงแมเปนรูป หรือภาพวาด แตมิใชเปนการสือ่
ความหมายในภาษาของมนุษย ดังนั้นจึงไมใชพยานเอกสาร
มาตรา ๙๔ เมือ่ ใดมีกฎหมายบังคับใหตองมีพยานเอกสารมาแสดง หามมิใหศาลยอมรับฟงพยานบุคคลในกรณีอยางใดอยางหนึ่ง
ดังตอไปนี้ แมถึงวาคูความอีกฝายหนึ่งจะไดยินยอมก็ดี
(ก) ขอสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร เมื่อไมสามารถนําเอกสารมาแสดง
(ข) ขอสืบพยานบุคคลประกอบขออางอยางใดอยางหนึ่ง เมื่อไดนําเอกสารมาแสดงแลววา ยังมีขอความเพิ่มเติมตัดทอน
หรือเปลี่ยนแปลงแกไขขอความในเอกสารนั้นอยูอีก
แตวาบทบัญญัติแหงมาตรานี้ มิใหใชบังคับในกรณีที่บัญญัติไวในอนุมาตรา (๒) แหงมาตรา ๙๓ และมิใหถือวาเปนการตัด
สิทธิคูความในอันที่จะกลาวอางและนําพยานบุคคลมาสืบประกอบขออางวา พยานเอกสารที่แสดงนั้นเปนเอกสารปลอมหรือไมถูกตอง
ทั้งหมด หรือแตบางสวน หรือสัญญาหรือหนี้อยางอื่นที่ระบุไวในเอกสารนั้นไมสมบูรณ หรือคูความอีกฝายหนึ่งตีความหมายผิด

80
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

14. การนําสืบพยานหลักฐาน
„ หลักเกณฑทั่วไปที่ใชในการนําสืบพยานหลักฐาน คือ ตองกระทําในศาล โดยเปดเผย ตอหนาคูค วาม ตองใช
ภาษาไทย และตองถูกตองตามขั้นตอนและกรอบเวลา หากคูความนําสืบพยานหลักฐานโดยฝาฝนหลักเกณฑที่
กําหนด อาจมีผลตอการรับฟงพยานหลักฐานของศาล ยกเวนบางกรณีศาลอาจรับฟงการสืบพยานหลักฐานโดยฝาฝน
หลักเกณฑนนั้ ได สวนการจะนําสืบพยานหลักฐานใด คูความฝายทีป่ ระสงคจะอางพยานหลักฐานนั้นจะตองยื่นบัญชี
ระบุพยานตอศาลและสําเนาใหคคู วามอีกฝายหนึ่งภายใตหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนด แต “การพิสูจนตอพยาน”
ถือเปนกรณียกเวนของวิธีการนําสืบพยานหลักฐานดังกลาว เนื่องจากเปนการนําสืบพยานเพื่อหักลางพยานหลักฐาน
ของคูค วามอีกฝายหนึ่ง
„ ป.วิ.พ. ไดกําหนดหลักเกณฑการนําสืบพยานหลักฐานแตละประเภทไวแตกตางกัน
„ นอกจากการสืบพยานหลักฐานตามหลักเกณฑทั่วไปแลว การสืบพยานหลักฐานอาจกระทําตามความตกลงของ
คูความ หรือขอกําหนดของประธานศาลฎีกา

1. หลักเกณฑทั่วไปที่ใชกับการนําสืบพยานหลักฐาน
„ ป.วิ.พ. ไดกําหนดหลักเกณฑทั่วไปทีใ่ ชในการนําสืบพยานหลักฐานทุกประเภท ไมวาจะเปนพยานบุคคล พยาน
เอกสาร พยานวัตถุ หรือพยานผูเชี่ยวชาญ แตมีกรณียกเวนบางประการที่มิไดเปนไปตามหลักเกณฑทั่วไป
„ คูความที่ประสงคจะนําสืบพยานหลักฐาน จะตองยื่นบัญชีระบุพยาน แสดงรายการของพยานหลักฐานที่ประสงคจะ
นําสืบ ภายในระยะเวลาทีก่ ฎหมายกําหนด พรอมสําเนาบัญชีระบุพยานใหคคู วามอีกฝายหนึ่งรับไปจากศาล คูความ
ที่ยื่นบัญชีระบุพยาน แตไมครบถวน หรือมิไดยื่นบัญชีระบุพยานภายในกําหนด ก็อาจยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมได
ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กฎหมายกําหนด
„ การนําสืบพยานหลักฐานเพื่อหักลาง หรือทําลายน้ําหนักพยานบุคคลของคูความอีกฝายหนึ่งเรียกวา “การพิสูจน
ตอพยาน”
1.1 หลักเกณฑการนําสืบพยานหลักฐาน
ก. การนําสืบพยานหลักฐานตองกระทําในศาล โดยเปดเผย ตอหนาคูค วาม (ม.36 วรรคหนึง่ )
1. การนําสืบพยานหลักฐานตองกระทําในศาล
a. การเดินเผชิญสืบ หรือ การเผชิญสืบ (ม.102 วรรคหนึ่ง)
b. การสงประเด็นไปสืบพยานหลักฐานทีศ ่ าลอื่น (ม.102 วรรคสองถึงสี่)
c. การสืบพยานที่อยูนอกศาลโดยการประชุมทางจอภาพ (Video conference) (ม.120/4)
2. การสืบพยานหลักฐานตองกระทําโดยเปดเผย (รัฐธรรมนูญแหงราชอาญาจักรไทย พ.ศ.2550 ม.40) แตมี
ขอยกเวน 2 กรณีคือ
a. กรณีมีเหตุจาํ เปนเพื่อรักษาความเรียบรอยในศาล (ม.36(1))
b. กรณีเพื่อความเหมาะสม หรือเพื่อคุมครองสาธารณประโยชน (ม.36(2))
3. การสืบพยานตองกระทําตอหนาคูความ กรณีที่คค ู วามอาจนําพยานหลักฐานเขาสืบได แมวาคูความอีกฝาย
หนึ่งไมมาศาลดังนี้
a. กรณีที่ศาลขับไลคูความฝายหนึ่งฝายใดออกไปจากบริเวณศาล (ม.36(1))
b. กรณีที่ศาลสั่งใหเดินเผชิญสืบ หรือสงประเด็นไปใหศาลอื่นสืบพยานแทน (ม.102)

81
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

c. กรณีคูความฝายใดฝายหนึ่งทราบนัดโดยชอบแลวไมมาศาล (ม.202)
d. กรณีที่คคู วามทราบนัดสืบพยานครั้งตอมาโดยชอบแลวไมมาศาล (ม.200 วรรคสอง)
มาตรา ๑๐๒ ใหศาลที่พิจารณาคดีเปนผูสืบพยานหลักฐาน โดยจะสืบในศาลหรือนอกศาล ณ ที่ใด ๆ ก็ได แลวแตศาลจะสั่งตามที่
เห็นสมควรตามความจําเปนแหงสภาพของพยานหลักฐานนั้น
แต ถาศาลที่พิจารณาคดีเห็นเปนการจําเปน ใหมีอํานาจมอบใหผูพิพากษาคนใดคนหนึ่งในศาลนั้น หรือตั้งใหศาลอื่นสืบ
พยานหลักฐานแทนได ใหผูพิพากษาที่รับมอบหรือศาลที่ไดรับแตงตั้งนั้นมีอํานาจและหนาที่เชน เดียวกับศาลที่พิจารณาคดีรวมทั้ง
อํานาจที่จะมอบใหผูพิพากษาคนใดคนหนึ่งใน ศาลนั้นหรือตั้งศาลอื่นใหทําการสืบพยานหลักฐานแทนตอไปดวย
ถา ศาลที่พิจารณาคดีไดแตงตั้งใหศาลอื่นสืบพยานแทน คูความฝายใดฝายหนึ่งจะแถลงตอศาลที่พิจารณาคดีวา ตนมีความ
จํานงจะไปฟงการพิจารณาก็ได ในกรณีเชนนี้ใหศาลที่ไดรับแตงตั้งแจงวันกําหนดสืบพยานหลักฐานใหผูขอ ทราบลวงหนาอยางนอยไม
ต่ํากวาเจ็ดวันคูความที่ไปฟงการพิจารณานั้นชอบ ที่จะใชสิทธิไดเสมือนหนึ่งวากระบวนพิจารณานั้นไดดําเนินในศาลที่พิจารณา คดี
ใหสงสําเนาคําฟองและคําใหการพรอมดวยเอกสารและหลักฐานอื่น ๆ อันจําเปนเพื่อสืบพยานหลักฐานไปยังศาลที่ไดรับ
แตงตั้งดังกลาวแลว ถาคูความฝายที่อางอิงพยานหลักฐานนั้นมิไดแถลงความจํานงที่จะไปฟงการพิจารณา ก็ใหแจงไปใหศาลที่ไดรับ
แตงตั้งทราบขอประเด็นที่จะสืบ เมื่อไดสืบพยานหลักฐานเสร็จแลว ใหเปนหนาที่ของศาลที่รับแตงตั้งจะตองสงรายงานที่จําเปนและ
เอกสารอื่น ๆ ทั้งหมดอันเกี่ยวของในการสืบพยานหลักฐานไปยังศาลที่พิจารณาคดี
มาตรา ๓๖ การนั่งพิจารณาคดีจะตองกระทําในศาลตอหนาคูความที่มาศาลและโดยเปดเผย เวนแต
(๑) ในคดีเรื่องใดที่มีความจําเปนเพื่อรักษาความเรียบรอยในศาล เมื่อศาลไดขับไลคูความฝายใดออกไปเสียจากบริเวณศาล
โดยที่ประพฤติไมสมควร ศาลจะดําเนินการนั่งพิจารณาคดีตอไปลับหลังคูความฝายนั้นก็ได
(๒) ในคดีเรื่องใด เพื่อความเหมาะสม หรือเพื่อคุมครองสาธารณประโยชนถาศาลเห็นสมควรจะหามมิใหมีการเปดเผย ซึ่ง
ขอเท็จจริง หรือพฤติการณตาง ๆ ทั้งหมด หรือแตบางสวนแหงคดีซึ่งปรากฏจากคําคูความหรือคําแถลงการณของคูความหรือ จากคํา
พยานหลักฐานที่ไดสืบมาแลวศาลจะมีคําสั่งดังตอไปนี้ก็ได
(ก) หามประชาชนมิใหเขาฟงการพิจารณาทั้งหมดหรือแตบางสวน แลวดําเนินการพิจารณาไปโดยไมเปดเผย หรือ
(ข) หามมิใหออกโฆษณาขอเท็จจริงหรือพฤติการณตาง ๆ เชนวานั้น
ในบรรดาคดีทั้งปวงที่ฟองขอหยาหรือฟองชายชูหรือฟองใหรับรองบุตร ใหศาลหามมิใหมีการเปดเผยซึ่งขอเท็จจริงหรือ
พฤติการณใด ๆ ที่ศาลเห็นเปนการไมสมควร หรือพอจะเห็นไดวาจะทําใหเกิดการเสียหายอันไมเปนธรรมแกคูความหรือบุคคลที่
เกี่ยวของ
ไมวาศาลจะไดมีคําสั่งตามอนุมาตรา (๒) นี้หรือไม คําสั่งหรือคําพิพากษาชี้ขาดคดีของศาลนั้น ตองอานในศาลโดยเปดเผย
และมิใหถือวาการออกโฆษณาทั้งหมดหรือแตบางสวนแหงคําพิพากษานั้นหรือยอเรื่องแหงคําพิพากษาโดยเปนกลางและถูกตองนั้น
เปนผิดกฎหมาย
ข. การสืบพยานหลักฐานตองใชภาษาไทย (ม.46)
มาตรา 46 บรรดากระบวนพิจารณาเกี่ยวดวยการพิจารณาและการชี้ขาดตัดสินคดีแพงทั้งหลายซึ่งศาลเปนผูทํานั้น ใหทําเปน
ภาษาไทย
บรรดาคําคูความและเอกสารหรือแผนกระดาษไมวาอยางใด ๆ ที่คูความหรือศาลหรือเจาพนักงานศาลไดทําขึ้นซึ่งประกอบ
เปนสํานวนของคดีนั้น ใหเขียนเปนหนังสือไทยและเขียนดวยหมึกหรือดีดพิมพหรือตีพิมพ ถามีผิดตกที่ใดหามมิใหขูดลบออก แตใหขีด
ฆาเสียแลวเขียนลงใหม และผูเขียนตองลงชื่อไวที่ริมกระดาษ ถามีขอความตกเติมใหผูตกเติมลงลายมือชื่อ หรือลงชื่อยอไวเปนสําคัญ
ถาตนฉบับเอกสารหรือแผนกระดาษไมวาอยางใด ๆ ที่สงตอศาลไดทําขึ้นเปนภาษาตางประเทศ ใหศาลสั่งคูความฝายที่สง
ใหทําคําแปลทั้งฉบับหรือเฉพาะแตสวนสําคัญ โดยมีคํารับรองมายื่นเพื่อแนบไวกับตนฉบับ
ถาคูความฝายใดหรือบุคคลใดที่มาศาลไมเขาใจภาษาไทยหรือเปนใบหรือหูหนวกและอานเขียนหนังสือไมได ใหใหคูความ
ฝายที่เกี่ยวของจัดหาลาม
ค. การสืบพยานหลักฐานตองถูกตองตามขั้นตอน ระยะเวลาที่กฎหมาย และศาลกําหนด
1. การสืบพยานกอนขั้นตอนตามปกติ

82
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

a. การสืบพยานนั้นกอนมีการฟองคดี (ม.101 วรรคหนึ่ง) – บางกรณีมีเหตุบางประการอันเกี่ยวกับ


พยานหลักฐานทําใหคูความมีความจําเปนตองสืบพยานกอน
2. การสืบพยานหลังขั้นตอนตามปกติ แตกอ นศาลพิพากษา
a. ศาลสั่งเอง หรือคูค
 วามอาจขอใหศาลสืบพยานหลักฐานเพิ่มเติม (ม.86 วรรคสาม)
3. การสืบพยานหลังขั้นตอนตามปกติ หลังศาลพิพากษา
a. มาตรา 240
b. มาตรา 243
มาตรา 240 ศาลอุทธรณมีอํานาจที่จะวินิจฉัยคดีโดยเพียงแตพิจารณาฟองอุทธรณ คําแกอุทธรณ เอกสารและหลักฐานทั้งปวง ใน
สํานวนความซึ่งศาลชั้นตนสงขึ้นมาเวนแต...
... (๒) ถาศาลอุทธรณยังไมเปนที่พอใจในการพิจารณาฟองอุทธรณ คําแกอุทธรณและพยานหลักฐาน ที่ปรากฏในสํานวน ภายใต
บังคับแหงมาตรา ๒๓๘ และเฉพาะในปญหาที่อุทธรณใหศาลมีอํานาจที่จะกําหนดประเด็นทําการสืบพยานที่สืบมาแลว หรือพยานที่
เห็นควรสืบตอไป และพิจารณาคดีโดยทั่ว ๆ ไป ดังที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายนี้สําหรับการพิจารณาในศาลชั้นตน และใหนํา
บทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยการพิจารณาในศาลชั้นตน มาใชบังคับโดยอนุโลม
มาตรา 243 ใหศาลอุทธรณมีอํานาจดังตอไปนี้ดวย คือ
... (๓) ในกรณีที่ศาลอุทธรณจําตองถือตามขอเท็จจริงของศาลชั้นตน ถาปรากฏวา ...
(ข) ขอเท็จจริงที่ศาลชั้นตนฟงมาไมพอแกการวินิจฉัยขอกฎหมาย ศาลอุทธรณอาจทําคําสั่งใหยกคําพิพากษาหรือคําสั่งศาลชั้นตนนั้น
เสีย แลวกําหนดใหศาลชั้นตนซึ่งประกอบดวยผูพิพากษาคณะเดิม หรือผูพิพากษาอื่น หรือศาลชั้นตนอื่นใด ตามที่ศาลอุทธรณ
เห็นสมควรพิจารณาคดีนั้นใหมทั้งหมดหรือบางสวน โดยดําเนินตามคําชี้ขาดของศาลอุทธรณแลวมีคําพิพากษาหรือคําสั่งวินิจฉัยชี้ขาด
คดีไปตามรูปความ ทั้งนี้ไมวาจะปรากฏจากการอุทธรณหรือไม...
1.2 การยื่นบัญชีระบุพยาน
ก. การยื่นบัญชีระบุพยานภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด
1. การยื่นบัญชีระบุพยานครั้งแรก (ม.88 วรรคหนึ่ง)
มาตรา 88 วรรคหนึ่ง เมื่อคูความฝายใดมีความจํานงที่จะอางอิงเอกสารฉบับใดหรือคําเบิกความของพยานคนใด หรือมีความจํานง
ที่จะใหศาลตรวจบุคคล วัตถุ สถานที่ หรืออางอิงความเห็นของผูเชี่ยวชาญที่ศาลตั้งหรือความเห็นของผูมีความรู เชี่ยวชาญ เพื่อเปน
พยานหลักฐานสนับสนุนขออางหรือขอเถียงของตน ใหคูความฝายนั้นยื่นบัญชีระบุพยานตอศาลกอนวันสืบพยานไมนอยกวาเจ็ด วัน
โดยแสดงเอกสารหรือสภาพของเอกสารที่จะอาง และรายชื่อ ที่อยูของบุคคล ผูมีความรูเชี่ยวชาญ วัตถุ หรือสถานที่ซึ่งคูความฝายนั้น
ระบุอางเปนพยานหลักฐาน หรือขอใหศาลไปตรวจ หรือขอใหตั้งผูเชี่ยวชาญแลวแตกรณี พรอมทั้งสําเนาบัญชีระบุพยานดังกลาวใน
จํานวนที่เพียงพอ เพื่อใหคูความฝายอื่นมารับไปจากเจาพนักงานศาล
2. การยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติม (ม.88 วรรคสอง)
มาตรา 88 วรรคสอง ถา คูความฝายใดมีความจํานงจะยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติม ใหยื่นคําแถลงขอระบุพยานเพิ่มเติมตอศาลพรอม
กับบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมและ สําเนาบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมดังกลาวไดภายในสิบหาวันนับแตวันสืบพยาน
ข. การยื่นบัญชีระบุพยานนอกระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด (ม.88 วรรคสาม)
มาตรา 88 วรรคสาม เมื่อ ระยะเวลาที่กําหนดใหยื่นบัญชีระบุพยานตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแลวแตกรณี ไดสิ้นสุดลงแลว ถา
คูความฝายใดซึ่งไดยื่นบัญชีระบุพยานไวแลว มีเหตุอันสมควรแสดงไดวาตนไมสามารถทราบไดวาตองนําพยานหลักฐานบางอยางมา
สืบเพื่อประโยชนของตนหรือไมทราบวาพยานหลักฐานบางอยางไดมีอยู หรือมีเหตุอันสมควรอื่นใด หรือถาคูความฝายใดซึ่งมิไดยื่น
บัญชีระบุพยานแสดงใหเปนที่พอใจแกศาล ไดวา มีเหตุอันสมควรที่ไมสามารถยื่นบัญชีระบุพยานตามกําหนดเวลาดังกลาวได คูความ
ฝายนั้นอาจยื่นคํารองขออนุญาตอางพยานหลักฐานเชนวานัน้ ตอศาล พรอมกับบัญชีระบุพยานและสําเนาบัญชีระบุพยานดังกลาวไม
วาเวลาใด ๆ กอนพิพากษาคดีและถาศาลเห็นวา เพื่อใหการวินิจฉัยชี้ขาดขอสําคัญแหงประเด็นเปนไปโดยเที่ยงธรรม จําเปนจะตองสืบ
พยานหลักฐานเชนวานั้น ก็ใหศาลอนุญาตตามคํารอง

83
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ ศาลไมรับบัญชีระบุพยานเพิ่มเติม กรณีที่ถือวาไมไดอา งเหตุ หรือไมมีเหตุสมควร หรือไมมีประโยชนตอการ


วินิจฉัยชีข้ าดประเด็นแหงคดี
ค. ขอยกเวนของการยื่นบัญชีระบุพยาน
1. กรณีการยื่นบัญชีระบุพยานตาม ป.วิ.พ.มาตรา 87(2)
2. การสืบพยานหลักฐานในการไตสวนคํารองขอ
3. มีการยื่นบัญชีระบุพยานในเรื่องอื่นไวกอนแลว
4. การยื่นพยานเอกสารประกอบการถามคาน
„ ในชั้นฎีกา โจทกยื่นคําแถลงขอระบุพยานเพิ่มเติม โดยอางวาเพิ่งคนพบพยานเอกสาร หลังจากที่ศาลอุทธรณมีคําพิพากษาแลว
ดังนี้ ศาลฎีกาจะอนุญาตใหยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมไดหรือไม เพราะเหตุใด
1.3 การพิสูจนตอพยานบุคคล
„ การพิสูจนตอพยาน หมายถึง การนําพยานหลักฐานมาสืบหักลาง หรือทําลายน้ําหนักพยานหลักฐานของคูค วาม
อีกฝายหนึ่ง แตเปนการหักลาง หรือทําลายน้ําหนักเฉพาะพยานบุคคลเทานั้น โดยกําหนดหลักเกณฑไวใน ป.วิ.พ.
มาตรา 89 และ 120
ก. กรณีที่คูความนําพยานหลักฐานเขาสืบเพื่อหักลาง หรือทําลายน้ําหนักคําเบิกความของพยานอีกฝายหนึ่ง
(ม.89)
มาตรา 89 คูความฝายใดประสงคจะนําสืบพยานหลักฐานของตนเพื่อพิสูจนตอพยานของคูความฝายอื่นในกรณีตอไปนี้
(๑) หักลางหรือเปลี่ยนแปลงแกไขถอยคําพยานในขอความทั้งหลายซึ่งพยานเชนวานั้นเปนผูรูเห็นหรือ
(๒) พิสูจนขอความอยางหนึ่งอยางใดอันเกี่ยวดวยการกระทํา ถอยคํา เอกสาร หรือพยานหลักฐานอื่นใดซึ่งพยานเชนวานั้น
ไดกระทําขึ้น
ใหคูความฝายนั้นถามคานพยานดังกลาวเสียในเวลาที่พยานเบิกความ เพื่อใหพยานมีโอกาสอธิบายถึงขอความเหลานั้น แมวา
พยานนั้นจะมิไดเบิกความถึงขอความดังกลาวก็ตาม
ใน กรณีที่คูความฝายนั้นมิไดถามคานพยานของคูความฝายอื่นไวดังกลาวมา ขางตนแลว ตอมานําพยานหลักฐานมาสืบถึง
ขอความนั้น คูความฝายอื่นที่สืบพยานนั้นไวชอบที่จะคัดคานไดในขณะที่คูความฝาย นั้นนําพยานหลักฐานมาสืบ และในกรณีเชนวานี้
ใหศาลปฏิเสธไมยอมรับฟงพยานหลักฐานเชนวามานั้น...
„ แมคคู วามฝายอื่น ไมไดคดั คานการนําสืบพยานหลักฐาน ที่มิไดถามคานพยานไวกอน ตาม ม.89 วรรคสอง ศาล
ก็มีอํานาจใชดุลพินิจไมยอมรับฟงพยานหลักฐานเพื่อพิสูจนตอพยานนั้นได แตหากศาลจะใชดลุ พินิจรับฟงพยานเชน
วานี้ ก็ตองอยูใ นบังคับของ ม.89 วรรคสาม
มาตรา 89 วรรคสาม ในกรณีที่คูความฝายที่ประสงคจะนําสืบพยานหลักฐานเพื่อพิสูจนตอพยานตามวรรคหนึ่งแสดงใหเปนที่พอใจ
ของศาลวา เมื่อเวลาพยานเบิกความนั้นตนไมรูหรือไมมีเหตุอันควรรูถึงขอความดังกลาวมาแลว หรือถาศาลเห็นวาเพื่อประโยชนแหง
ความยุติธรรมจําเปนตองสืบพยานหลักฐานเชนวานี้ศาลจะยอมรับฟงพยานหลักฐานเชนวานี้กไ็ ด แตในกรณีเชนนี้ คูความอีกฝายหนึ่ง
จะขอใหเรียกพยานหลักฐานที่เกี่ยวของมาสืบอีกก็ได หรือเมื่อศาลเห็นสมควรจะเรียกมาสืบเองก็ได
ข. กรณีที่คูความอางวา คําเบิกความของพยานที่คูความอีกฝายหนึ่งอาง หรือที่ศาลเรียกมาไมควรเชือ่ ฟง (ม.
120)
มาตรา 120 ถาคูความฝายใดอางวาคําเบิกความของพยานคนใดที่คูความอีกฝาย หนึ่งอาง หรือที่ศาลเรียกมาไมควรเชื่อฟง โดย
เหตุผลซึ่งศาลเห็นวามีมูล ศาลอาจยอมใหคูความฝายนั้นนําพยานหลักฐานมาสืบสนับสนุนขออางของตนไดแลว แตจะเห็นควร
„ คดีแพงเรื่องหนึ่ง จําเลยมีหนาที่นําสืบกอน โจทกมิไดถามคานพยานจําเลยเกี่ยวกับพยานเอกสารที่โจทกจะนําสืบ ตอมาเมื่อ
สืบพยานจําเลยเสร็จแลว โจทกอางเอกสารในการสืบพยานโจทก โดยจําเลยมิไดคัดคาน ดังนี้ ศาลจะรับฟงพยานเอกสารดังกลาว
หรือไม

84
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

2. หลักเกณฑการนําสืบพยานหลักฐานแตละประเภท
„ พยานบุคคลที่จะนําสืบตองสามารถเขาใจและตอบคําถามได ทั้งเปนผูที่รูเห็นเหตุการณดวยตนเอง โดยคูค วาม
นํามาเองหรือขอใหศาลออกหมายเรียก กอนเบิกความพยานบุคคลตองสาบานหรือปฏิญาณตน
„ การอางเอกสารพยาน ใหยอมรับฟงไดเฉพาะตนฉบับ เวนแตกฎหมายบัญญัติไวเปนอยางอื่น
„ คูความตองนําพยานวัตถุมาศาลในวันสืบพยาน เวนแตไมสามารถนํามาได
„ พยานผูเชี่ยวชาญ คือผูที่เชีย่ วชาญที่คคู วาม หรือศาลแตงตั้ง เพื่อทําหนาที่ในการตรวจพิสูจนโดยใชวิธีการทาง
วิทยาศาสตร หรือใหความเห็น ที่อาจเปนประโยชนแกการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดตัดสินคดีของศาลได
2.1 หลักเกณฑการนําสืบพยานบุคคล
มาตรา 95 หามมิใหยอมรับฟงพยานบุคคลใดเวนแตบุคคลนั้น
(๑) สามารถเขาใจและตอบคําถามได และ
(๒) เปนผูที่ไดเห็น ไดยิน หรือทราบขอความเกี่ยวในเรื่องที่จะใหการเปนพยานนั้นมาดวยตนเองโดยตรง แตความในขอนี้ให
ใชไดตอเมื่อไมมีบทบัญญัติแหงกฎหมายโดยชัดแจงหรือคําสั่งของศาลวาใหเปนอยางอื่น
ถา ศาลไมยอมรับไวซึ่งคําเบิกความของบุคคลใด เพราะเห็นวาบุคคลนั้นจะเปนพยานหรือใหการดังกลาวขางตนไมได และ
คูความฝายที่เกี่ยวของรองคัดคานกอนที่ศาลจะดําเนินคดีตอไป ใหศาลจดรายงานระบุนามพยาน เหตุผลที่ไมยอมรับและขอคัดคาน
ของคูความฝายที่เกี่ยวของไว สวนเหตุผลที่คูความฝายคัดคานยกขึ้นอางนั้น ใหศาลใชดุลพินิจจดลงไวในรายงานหรือกําหนดใหคูความ
ฝายนั้นยื่นคําแถลงตอ ศาลเพื่อรวมไวในสํานวน
มาตรา 96 พยานที่เปนคนหูหนวก หรือเปนใบหรือทั้งหูหนวกและเปนใบนั้นอาจถูกถามหรือใหคําตอบโดยวิธีเขียนหนังสือ หรือโดย
วิธีอื่นใดที่สมควรได และคําเบิกความของบุคคลนั้น ๆ ใหถือวาเปนคําพยานบุคคลตามประมวลกฎหมายนี้
ก. การอางพยาน (ม.97, 91)
„ คูความฝายหนึ่ง จะอางคูค วามอีกฝายหนึ่งเปนพยานของตนหรือจะอางตนเองเปนพยานก็ได (ม. 97)
„ คูความทั้งสองฝายตางมีสท ิ ธิที่จะอางอิงพยานหลักฐานรวมกันได (ม.91)
ข. หนาที่ของพยาน
1. ตองไปเบิกความ (ม.103)
2. ตองสาบาน หรือปฏิญาณตน (ม.112)
3. ตองเบิกความดวยวาจา (ม.113)
„ หากพยานไมไปศาลตองดําเนินการตามมาตรา 110 และมาตรา 111
มาตรา 110 ถาพยานคนใดที่คูความไดบอกกลาวความจํานงจะอางอิงคําเบิกความของพยานโดยชอบแลว ไมไปศาลในวันกําหนด
นับสืบพยานนั้น ศาลชอบที่จะดําเนินการพิจารณาตอไป และชี้ขาดตัดสินคดีโดยไมตองสืบพยานเชนวานั้นได แตตองอยูภายใตบังคับ
บทบัญญัติแหงมาตราตอไปนี้
มาตรา 111 เมื่อศาลเห็นวาคําเบิกความของพยานที่ไมมาศาลเปนขอสําคัญในการวินิจฉัยชี้ขาดคดี
(๑) แตศาลเห็นวาขออางวาพยานไมสามารถมาศาลนั้นเปนเพราะเหตุเจ็บปวยของพยาน หรือพยานมีขอแกตัวอันจําเปนอยางอื่น
ที่ฟงได ศาลจะเลื่อนการนั่งพิจารณาคดีไปเพื่อใหพยานมาศาลหรือเพื่อสืบพยานนั้น ณ สถานที่และเวลาอันควรแกพฤติการณก็ได
หรือ
(๒) ศาลเห็นวาพยานไดรับหมายเรียกโดยชอบแลว จงใจไมไปยังศาลหรือไมไป ณ สถานที่และตามวันเวลาที่กําหนดไว หรือไดรับ
คําสั่งศาลใหรอคอยอยูแลวจงใจหลบเสีย ศาลจะเลื่อนการนั่งพิจารณาคดีไปและออกหมายจับและเอาตัวพยานกักขังไวจนกวาพยานจะ
ไดเบิกความตามวันที่ศาลเห็นสมควรก็ได ทั้งนี้ ไมเปนการลบลางโทษตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายอาญา
„ เมื่อพยานไดเบิกความตอศาลแลว พยานยอมหมดหนาที่ๆ จะอยูทศี่ าลอีกตอไป เวนแตศาลจะสั่งใหพยานนัน ้ รอ
คอยอยู (ม.109)

85
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 109 เมื่อพยานคนใดไดเบิกความแลว ไมวาพยานนัน้ จะไดรับหมายเรียกหรือคูความนํามาเองก็ดี พยานนั้นยอมหมดหนาที่


ๆ จะอยูที่ศาลอีกตอไป เวนแตศาลจะไดสั่งใหพยานนั้นรอคอยอยูตามระยะเวลาที่ศาลจะกําหนดไว
„ ขอยกเวนการออกหมายเรียกพยาน (ม.106/1)
มาตรา 106/1 หามมิใหออกหมายเรียกพยานดังตอไปนี้
(๑) พระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท หรือผูสําเร็จราชการแทนพระองคไมวาในกรณีใดๆ
(๒) พระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา ไมวา ในกรณีใดๆ
(๓) ผูที่ไดรับเอกสิทธิ์หรือความคุมกันตามกฎหมาย
ในกรณีตาม (๒) และ (๓) ใหศาลหรือผูพิพากษาที่รับมอบ หรือศาลที่ไดรับแตงตั้งออกคําบอกกลาววาจะสืบพยานนั้น ณ สถานที่
และวันเวลาใดแทนการออกหมายเรียก โดยในกรณีตาม (๒) ใหสงไปยังพยาน สวนตาม (๓) ใหสงคําบอกกลาวไปยังสํานักงานศาล
ยุติธรรมเพื่อดําเนินการตามบทบัญญัติวาดวยการนั้น หรือตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ
„ การเบิกความตองสาบานหรือปฏิญาณตน
มาตรา 112 กอนเบิกความพยานทุกคนตองสาบานตนตามลัทธิศาสนาหรือจารีตประเพณีแหงชาติของตน หรือกลาวคําปฏิญาณวา
จะใหการตามความสัตยจริงเสียกอน...
„ ขอยกเวนไมตอ งสาบานหรือปฏิญาณตนกอนเบิกความ
มาตรา 112 เวนแต
(๑) พระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท หรือผูสําเร็จราชการแทนพระองค
(๒) บุคคลที่มีอายุต่ํากวาสิบหาป หรือบุคคลที่ศาลเห็นวาหยอนความรูสึกผิดและชอบ
(๓) พระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา
(๔) บุคคลซึ่งคูความทั้งสองฝายตกลงกันวาไมตองใหสาบานหรือกลาวคําปฏิญาณ
„ กรณีที่คคู วามสามารถใหพยานทําบันทึกถอยคําเปนหนังสือแทนการเบิกความดวยวาจา
1. พยานอยูภ ายในประเทศ (ม.120/1)
2. พยานอยูตามประเทศ (ม.120/2 วรรคหนึ่ง)
มาตรา 120/1 วรรคหนึ่ง เมื่อ คูความฝายใดฝายหนึ่งมีคํารองและคูความอีกฝายไมคัดคาน และศาลเห็นสมควรศาลอาจอนุญาต
ใหคูความฝายที่มีคํารองเสนอบันทึกถอยคําทั้ง หมดหรือแตบางสวนของผูที่ตนประสงคจะอางเปนพยานยืนยันขอเท็จจริงหรือ
ความเห็นของผูใหถอยคําตอศาลแทนการซักถามผูใหถอยคําเปนพยานตอหนาศาล ได
มาตรา 120/2 เมื่อ คูความมีคํารองรวมกันและศาลเห็นสมควร ศาลอาจอนุญาตใหเสนอบันทึกถอยคํายืนยันขอเท็จจริงหรือ
ความเห็นของผูให ถอยคําซึ่งมีถิ่นที่อยูในตางประเทศตอศาลแทนการนําพยานบุคคลมาเบิกความตอ หนาศาลได แตทั้งนี้ไมตัดสิทธิ
ผูใหถอยคําที่จะมาศาลเพื่อใหการเพิ่มเติม
„ ขอยกเวนบางประเภทไมตองเบิกความหรือตอบคําถาม (ม.115)
มาตรา 115 พระ มหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท ผูสําเร็จราชการแทนพระองคหรือพระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา แม
มาเปนพยานจะไมยอมเบิกความหรือตอบคําถามใดๆ ก็ไดสําหรับบุคคลที่ไดรับเอกสิทธิ์หรือความคุมกันตามกฎหมายจะไมยอมเบิก
ความหรือตอบคําถามใดๆ ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดไวตามกฎหมายนั้นๆ ก็ได
ค. ขอหามในการเบิกความของพยาน (ม.114)
มาตรา 114 หามไมใหพยานเบิกความตอหนาพยานอื่นที่จะเบิกความภายหลังและศาลมีอํานาจที่จะสั่งพยานอื่นที่อยูในหอง
พิจารณาใหออกไปเสียได
แตถาพยานคนใดเบิกความโดยไดฟงคําพยานคนกอนเบิกความตอหนาตนมาแลวและคูความอีกฝายหนึ่งอางวาศาลไมควร
ฟงคําเบิกความเชนวานี้ เพราะเปนการผิดระเบียบถาศาลเห็นวาคําเบิกความเชนวานี้เปนที่เชือ่ ฟงได หรือมิไดเปลี่ยนแปลงไปโดยได
ฟงคําเบิกความของพยานคนกอน หรือไมสามารถทําใหคําวินิจฉัยชี้ขาดของศาลเปลี่ยนแปลงไปได ศาลจะไมฟงวาคําเบิกความเชนวา
นี้เปนผิดระเบียบก็ได
ง. ลําดับการถามพยาน (ม.116 ถึง ม.119)

86
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 116 ในเบื้องตนใหพยานตอบคําถามเรื่อง นาม อายุ ตําแหนง หรืออาชีพภูมิลําเนาและความเกี่ยวพันกับคูความ


แลวศาลอาจปฏิบัติอยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้
(๑) ศาลเปนผูถามพยานเอง กลาวคือ แจงใหพยานทราบประเด็นและขอเท็จจริงซึ่งตองการสืบแลวใหพยานเบิกความในขอ
นั้น ๆ โดยวิธีเลาเรื่องตามลําพังหรือโดยวิธีตอบคําถามของศาล หรือ
(๒) ใหคูความซักถาม และถามคานพยานไปทีเดียว ดังที่บัญญัติไวในมาตราตอไปนี้

มาตรา 117 คูความฝายที่อางพยานชอบที่จะตั้งขอซักถามพยานไดในทันใดที่พยานไดสาบานตนและแสดงตนตามมาตรา ๑๑๒ และ


๑๑๖ แลว หรือถาศาลเปนผูซักถามพยานกอนก็ใหคูความซักถามไดตอเมื่อศาลไดซักถามเสร็จแลว
เมื่อคูความฝายที่ตองอางพยานไดซักถามพยานเสร็จแลว คูความอีกฝายหนึ่งชอบที่จะถามคานพยานนั้นได
เมื่อไดถามคานพยานเสร็จแลว คูความฝายที่อางพยานชอบที่จะถามติงได
เมื่อไดถามติงพยานเสร็จแลว หามมิใหคูความฝายใดซักถามพยานอีก เวนแตจะไดรับอนุญาตจากศาล ถาคูความฝายใด
ไดรับอนุญาตใหถามพยานไดดังกลาวนี้ คูความอีกฝายหนึ่งยอมถามคานพยานไดอีกในขอที่เกี่ยวกับคําถามนั้น
คูความที่ระบุพยานคนใดไว จะไมติดใจสืบพยานคนนั้นก็ได ในเมื่อพยานคนนั้นยังมิไดเบิกความตามขอถามของศาล หรือ
ของคูความฝายที่อาง แตถาพยานไดเริ่มเบิกความแลวพยานอาจถูกถามคานหรือถามติงได
ถาพยานเบิกความเปนปรปกษแกคูความฝายที่อางตนมา คูความฝายนั้นอาจขออนุญาตตอศาลเพื่อซักถามพยานนั้นเสมือน
หนึ่งพยานนั้นเปนพยานซึ่งคูความอีกฝายหนึ่งอางมา
การซักถามพยานก็ดี การซักคานพยานก็ดี การถามติงพยานก็ดี ถาคูความคนใดไดตั้งทนายความไวหลายคน ใหทนายความ
คนเดียวเปนผูถาม เวนแตศาลจะเห็นสมควรเปนอยางอื่น
มาตรา 118 ในการที่คูความฝายที่อางพยานจะซักถามพยานก็ดี หรือถามติงพยานก็ดี หามมิใหคูความฝายนั้นใชคําถามนํา เวนแต
คูความอีกฝายหนึ่งยินยอมหรือไดรับอนุญาตจากศาล
ในการที่คูความฝายที่อางพยานจะถามติงพยาน หามมิใหคูความฝายนั้นใชคําถามอื่นใดนอกจากคําถามที่เกี่ยวกับคําพยาน
เบิกความตอบคําถามคาน
ไมวาในกรณีใด ๆ หามไมใหคูความฝายใดฝายหนึ่งถามพยานดวย
(๑) คําถามอันไมเกี่ยวกับประเด็นแหงคดี
(๒) คําถามที่อาจทําใหพยาน หรือคูความอีกฝายหนึ่งหรือบุคคลภายนอกตองรับโทษทางอาญา หรือคําถามที่เปน
หมิ่นประมาทพยาน เวนแตคําถามเชนวานัน้ เปนขอสาระสําคัญในอันที่จะชี้ขาดขอพิพาท
ถาคูความฝายใดฝายหนึ่งถามพยานฝาฝนตอบทบัญญัติแหงมาตรานี้ เมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคูความอีกฝายหนึ่งรอง
คัดคาน ศาลมีอํานาจที่จะชี้ขาดวาควรใหใชคําถามนั้นหรือไม ในกรณีเชนนี้ ถาคูความฝายที่เกี่ยวของคัดคานคําชี้ขาดของศาล กอนที่
ศาลจะดําเนินคดีตอไป ใหศาลจดไวในรายงานซึ่งคําถามและขอคัดคาน สวนเหตุที่คูความคัดคานยกขึ้นอางนั้นใหศาลใชดุลพินิจจดลง
ไวในรายงาน หรือกําหนดใหคูความฝายนั้นยื่นคําแถลงเปนหนังสือเพื่อรวมไวในสํานวน
มาตรา 119 ไมวาเวลาใด ๆ ในระหวางที่พยานเบิกความ หรือภายหลังที่พยานไดเบิกความแลว แตกอนมีคําพิพากษา ใหศาลมี
อํานาจที่จะถามพยานดวยคําถามใด ๆ ตามที่เห็นวาจําเปน เพือ่ ใหคําเบิกความของพยานบริบูรณ หรือชัดเจนยิ่งขึ้น หรือเพื่อสอบสวน
ถึงพฤติการณที่ทําใหพยานเบิกความเชนนั้น
ถาพยานสองคนหรือกวานั้นเบิกความขัดกัน ในขอสําคัญแหงประเด็น เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งมี
คําขอ ใหศาลมีอํานาจเรียกพยานเหลานั้นมาสอบถามปากคําพรอมกันได
จ. ขอหามในการถามพยานและสิทธิที่ไมตองตอบคําถามของพยาน
„ ขอหามในการถามพยาน (ม.118 วรรคสาม)
1. คําถามอันไมเกี่ยวกับประเด็นแหงคดี
2. คําถามที่อาจทําใหพยาน หรือคูความอีกฝายหนึ่งหรือบุคคลภายนอกตองรับโทษทางอาญา หรือ
คําถามที่เปนหมิ่นประมาทพยาน
„ สิทธิในการไมตอบคําถามของพยาน (ม.92)

87
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา 92 ถาคูความหรือบุคคลใดจะตองเบิกความหรือนําพยานหลักฐานชนิดใด ๆ มาแสดง และคําเบิกความหรือพยานหลักฐาน


นั้นอาจเปดเผย
(๑) หนังสือราชการหรือขอความอันเกี่ยวกับงานของแผนดินซึ่งโดยสภาพจะตองรักษาเปนความลับไวชั่วคราวหรือตลอดไป
และคูความหรือบุคคลนั้นเปนผูรักษาไว หรือไดทราบมาโดยตําแหนงราชการ หรือในหนาที่ราชการ หรือกึ่งราชการอื่นใด
(๒) เอกสารหรือขอความที่เปนความลับใด ๆ ซึ่งตนไดรับมอบหมายหรือบอกเลาจากลูกความในฐานะที่ตนเปนทนายความ
(๓) การประดิษฐ แบบ หรือการงานอื่น ๆ ซึ่งไดรับความคุมครองตามกฎหมายไมใหเปดเผย
คูความหรือบุคคลเชนวานั้นชอบที่จะปฏิเสธไมยอมเบิกความหรือนําพยานหลักฐานนั้น ๆ มาแสดงได เวนแตจะไดรับ
อนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่หรือผูที่เกี่ยวของใหเปดเผยได
เมื่อคูความหรือบุคคลใดปฏิเสธไมยอมเบิกความหรือนําพยานหลักฐานมาแสดงดังกลาวมาแลว ใหศาลมีอํานาจที่จะ
หมายเรียกพนักงานเจาหนาที่หรือบุคคลที่เกี่ยวของใหมาศาลและใหชี้แจงขอความตามที่ศาลตองการเพื่อวินิจฉัยวา การปฏิเสธนั้น
ชอบดวยเหตุผลหรือไม ถาศาลเห็นวา การปฏิเสธนั้นไมมีเหตุผลฟงได ศาลมีอํานาจออกคําสั่งมิใหคูความหรือบุคคลเชนวานั้นยก
ประโยชนแหงมาตรานี้ขึ้นใช และบังคับใหเบิกความหรือนําพยานหลักฐานนั้นมาแสดงได
ฉ. การบันทึกคําพยาน (ม.121)
มาตรา 121 ในการนั่งพิจารณาทุกครั้ง เมื่อพยานคนใดเบิกความแลว ใหศาลอานคําเบิกความนั้นใหพยานฟง และใหพยานลง
ลายมือชื่อไวดังที่บัญญัติไวในมาตรา 49 และ 50
ความในวรรคหนึ่งไมใชบังคับกับกรณีที่มีการใชบันทึกถอยคําแทนการเบิกความของ พยานตามมาตรา 120/1 หรือมาตรา
120/2 หรือกรณีที่มีการสืบพยานโดยใชระบบการประชุมทางจอภาพตามมาตรา 120/4 หรือกรณีที่มีการบันทึกการเบิกความของ
พยานโดยใชวิธีการบันทึกลงในวัสดุซึ่ง สามารถถายทอดออกเปนภาพหรือเสียงหรือโดยใชวิธีการอื่นใดซึ่งคูความและ พยานสามารถ
ตรวจสอบถึงความถูกตองของบันทึกการเบิกความนั้นได แตถาคูความฝายใดฝายหนึ่งหรือพยานขอตรวจดูบันทึกการเบิกความของ
พยานนั้น ใหศาลจัดใหมีการตรวจดูบันทึกการเบิกความนั้น
2.2 หลักเกณฑการนําสืบพยานเอกสาร
ก. หลักการสืบพยานเอกสารตองสืบดวยตนฉบับ
„ การสืบพยานเอกสารตองสืบดวยตนฉบับเอกสารเทานั้น (ม.93)
„ วิธีการนําสืบพยานเอกสาร ตองเปนไปตามมาตรา 122
มาตรา 122 เมื่อคูความฝายใดอางอิงเอกสารฉบับใดเปนพยานหลักฐานและคูความอีกฝายหนึ่งคัดคานเอกสารนั้นตามที่บัญญัติไว
ในมาตรา ๑๒๕ ถาตนฉบับเอกสารอยูในความครอบครองของคูความฝายที่อางเอกสาร ใหคูความฝายนั้นนําตนฉบับเอกสารมาแสดง
ตอศาลในวันสืบพยาน
ไมวาเวลาใด ๆ กอนมีคําพิพากษา ถาศาลไดกําหนดใหคูความฝายที่อางเอกสารสงตนฉบับตอศาล โดยที่ศาลเห็นสมควร หรือโดย
ที่คูความอีกฝายหนึ่งยื่นคําขอ ใหคูความฝายนั้นสงตนฉบับเอกสารตอศาล เพื่อศาลหรือคูความอีกฝายหนึ่งจะตรวจดูไดตามเงื่อนไขซึ่ง
จะไดกําหนดไวในกฎกระทรวงวาดวยการนั้น หรือตามที่ศาลจะไดกําหนด แต
(๑) ถาไมสามารถจะนํามาหรือยื่นตนฉบับเอกสารดังกลาวขางตน คูความฝายนั้นอาจยื่นคําขอโดยทําเปนคํารองตอศาลในวันหรือ
กอนวันที่กําหนด ใหนํามาหรือใหยื่นตนฉบับเอกสารนั้น แถลงใหทราบถึงความไมสามารถทีจ่ ะปฏิบัติตามไดพรอมทั้งเหตุผล ถาศาล
เห็นวาผูยื่นคําขอไมสามารถที่จะนํามาหรือยื่นตนฉบับเอกสารได ศาลจะมีคําสั่งอนุญาตใหนําตนฉบับเอกสารมาในวันตอไป หรือจะสั่ง
เปนอยางอื่นตามที่เห็นสมควรเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมก็ได ในกรณีที่ผูยื่นคําขอมีความประสงคเพียงใหศาลขยายระยะเวลาที่
ตนจะตองนํามา หรือยื่นตนฉบับเอกสารนั้น คําขอนั้นจะทําเปนคําขอฝายเดียวก็ได
(๒) ถาการที่จะนํามาหรือยื่นตนฉบับเอกสารตอศาลนั้น จะเปนเหตุใหเกิดการสูญหาย หรือบุบสลายหรือมีขอขัดของโดยอุปสรรค
สําคัญหรือความลําบากยากยิ่งใด ๆ คูความฝายที่อางอิงเอกสารอาจยื่นคําขอฝายเดียวโดยทําเปนคํารองตอศาล ในวันหรือกอนวัน
สืบพยานแถลงใหทราบถึงเหตุเสียหาย อุปสรรค หรือความลําบากเชนวานั้น ถาศาลเห็นวาตนฉบับเอกสารนั้นไมอาจนํามาหรือยื่นตอ
ศาลได ศาลจะมีคําสั่งใหยื่นตนฉบับเอกสารนั้น ณ สถานที่ใดตอเจาพนักงานคนใด และภายในเงื่อนไขใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได
หรือจะมีคําสั่งใหคัดสําเนาที่รับรองวาถูกตองทั้งฉบับหรือเฉพาะสวนที่ เกี่ยวแกเรื่องมายื่นแทนตนฉบับก็ได

88
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ หากตนฉบับอยูในความครอบครองดูแลของอีกฝายหนึ่ง หรือบุคคลภายนอก หรือทางราชการ หรือของเจาหนาที่


ตองบังคับตามมาตรา 123
มาตรา 123 ถาตนฉบับเอกสารซึ่งคูความฝายหนึ่งอางอิงเปนพยานหลักฐานนั้น อยูในความครอบครองของคูความอีกฝายหนึ่ง
คูความฝายที่อางจะยื่นคําขอโดยทําเปนคํารองตอศาลขอใหสั่งคูความอีกฝาย หนึ่งสงตนฉบับเอกสารแทนการที่ตนจะตองสงสําเนา
เอกสารนั้นก็ไดถาศาลเห็น วาเอกสารนั้นเปนพยานหลักฐานสําคัญ และคํารองนั้นฟงได ใหศาลมีคําสั่งใหคูความอีกฝายหนึ่งยื่น
ตนฉบับเอกสารตอศาลภายในเวลาอัน สมควรแลวแตศาลจะกําหนด ถาคูความอีกฝายหนึ่งมีตนฉบับเอกสารอยูในครอบครองไม
ปฏิบัติตามคําสั่ง เชนวานั้น ใหถือวาขอเท็จจริงแหงขออางที่ผูขอจะตองนําสืบโดยเอกสารนั้น คูความอีกฝายหนึ่งไดยอมรับแลว
ถาตนฉบับเอกสารอยูในความครอบครองของบุคคลภายนอก หรือในครอบครองของทางราชการ หรือของเจาหนาที่ ซึ่งคูความที่อาง
ไมอาจรองขอโดยตรงใหสงเอกสารนั้นมาได ใหนําบทบัญญัติในวรรคกอนวาดวยการที่คูความฝายที่อางเอกสารยื่นคําขอ และการที่
ศาลมีคําสั่งมาใชบังคับโดยอนุโลม แตทั้งนี้ฝายที่อางตองสงคําสั่งศาลแกผูครอบครองเอกสารนั้นลวงหนาอยางนอยเจ็ดวัน ถาไมได
เอกสารนั้นมาสืบตามกําหนด เมื่อศาลเห็นสมควร ก็ใหศาลสืบพยานตอไปตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๙๓ (๒)
„ ขอยกเวนในการนําตนฉบับเอกสารมาสืบ (ม.93(1)(2)(3)(4) และ ม.127)
มาตรา 93 การอางเอกสารเปนพยานหลักฐานใหยอมรับฟงไดเฉพาะตนฉบับเอกสารเทานั้นเวนแต
(๑) เมื่อคูความที่เกี่ยวของทุกฝายตกลงกันวาสําเนาเอกสารนัน้ ถูกตองแลวใหศาลยอมรับฟงสําเนาเชนวานัน้ เปนพยานหลักฐาน
(๒) ถาตนฉบับเอกสารนํามาไมได เพราะถูกทําลายโดยเหตุสุดวิสัย หรือสูญหาย หรือไมสามารถนํามาไดโดยประการอื่น อันมิใช
เกิดจากพฤติการณที่ผูอางตองรับผิดชอบ หรือเมื่อศาลเห็นวาเปนกรณีจําเปนและเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมที่จะ ตองสืบสําเนา
เอกสารหรือพยานบุคคลแทนตนฉบับเอกสารที่นํามาไมไดนนั้ ศาลจะอนุญาตใหนําสําเนาหรือพยานบุคคลมาสืบก็ได
(๓) ตนฉบับเอกสารที่อยูในความอารักขาหรือในความควบคุมของทางราชการนั้นจะนํามา แสดงไดตอเมื่อไดรับอนุญาตจากทาง
ราชการที่เกี่ยวของเสียกอน อนึ่ง สําเนาเอกสารซึ่งผูมีอํานาจหนาที่ไดรับรองวาถูกตองแลว ใหถือวาเปนอันเพียงพอในการที่จะนํามา
แสดง เวนแตศาลจะไดกําหนดเปนอยางอื่น
(๔) เมื่อคูความฝายที่ถูกคูความอีกฝายหนึ่งอางอิงเอกสารมาเปนพยานหลักฐานยันตนมิไดคัดคานการนําเอกสารนั้นมาสืบตาม
มาตรา ๑๒๕ ใหศาลรับฟงสําเนาเอกสารเชนวานั้นเปนพยานหลักฐานไดแตทั้งนี้ไมตัดอํานาจศาลตามมาตรา ๑๒๕ วรรคสาม
มาตรา 127 เอกสารมหาชนซึ่งพนักงานเจาหนาที่ไดทําขึ้นหรือรับรอง หรือสําเนาอันรับรองถูกตองแหงเอกสารนั้น และเอกสาร
เอกชนที่มีคําพิพากษาแสดงวาเปนของแทจริงและถูกตองนั้น ใหสันนิษฐานไวกอนวาเปนของแทจริงและถูกตอง เปนหนาที่ของคูความ
ฝายที่ถูกอางเอกสารนั้นมายัน ตองนําสืบความไมบริสุทธิ์หรือความไมถูกตองแหงเอกสาร
ข. การสืบพยานเอกสารตองสงสําเนาเอกสารลวงหนา
„ หลักเกณฑการสงสําเนาเอกสารลวงหนา (ม.90 วรรคหนึ่งและสอง)
มาตรา ๙๐ ใหคูความฝายที่อางอิงเอกสารเปนพยานหลักฐานเพื่อสนับสนุนขออางหรือขอเถียงของตนตามมาตรา ๘๘ วรรคหนึ่ง ยื่น
ตอศาลและสงใหคูความฝายอื่นซึ่งสําเนาเอกสารนั้นกอนวันสืบพยานไมนอยกวาเจ็ดวัน
ในกรณีที่คูความฝายใดยื่นคําแถลงหรือคํารองขออนุญาตอางอิงเอกสารเปนพยานหลักฐานตามมาตรา ๘๘ วรรคสองหรือวรรค
สาม ใหยื่นตอศาลและสงใหคูความฝายอื่นซึ่งสําเนาเอกสารนัน้ พรอมกับการยื่นคําแถลงหรือคํารองดังกลาว เวนแตศาลจะอนุญาตให
ยื่นสําเนาเอกสารภายหลังเมื่อมีเหตุอันสมควร
„ ขอยกเวนที่คค ู วามไมตองยื่นสําเนาเอกสารตอศาล และไมตองสงสําเนาเอกสารใหคูความฝายอื่น (ม.90
วรรคสาม(1)(2)(3) และมาตรา 87(2) ตอนทาย)
มาตรา ๙๐ วรรคสาม คูความฝายที่อางอิงพยานหลักฐานไมตองยื่นสําเนาเอกสารตอศาล และไมตองสงสําเนาเอกสารใหคูความ
ฝายอื่นในกรณีดังตอไปนี้
(๑) เมื่อคูความฝายใดอางอิงเอกสารเปนชุดซึ่งคูความฝายอื่นทราบดีอยูแลว หรือสามารถตรวจตราใหทราบไดโดยงายถึงความมี
อยูและความแทจริงแหงเอกสาร นั้น เชน จดหมายโตตอบระหวางคูความในคดี หรือสมุดบัญชีการคา และสมุดบัญชีของธนาคารหรือ
เอกสารในสํานวนคดีเรื่องอื่น
(๒) เมื่อคูความฝายใดอางอิงเอกสารฉบับเดียวหรือหลายฉบับที่อยูในความครอบครองของคูความฝายอื่นหรือของบุคคลภายนอก

89
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

(๓) ถาการคัดสําเนาเอกสารจะทําใหกระบวนพิจารณาลาชาเปนที่เสื่อมเสียแกคูความซึ่งอางอิงเอกสารนั้น หรือมีเหตุผลแสดงวา


ไมอาจคัดสําเนาเอกสารใหเสร็จภายในกําหนดเวลาที่ใหยื่นสําเนาเอกสารนัน้
มาตรา 87(2) คูความฝายที่อางพยานหลักฐานไดแสดงความจํานงที่จะอางอิงพยานหลักฐานนั้นดังที่บัญญัติไวในมาตรา ๘๘ และ
๙๐ แตถาศาลเห็นวา เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม จําเปนจะตองสืบพยานหลักฐานอันสําคัญซึ่งเกี่ยวกับประเด็นขอสําคัญในคดี
โดยฝาฝนตอบทบัญญัติของอนุมาตรานี้ ใหศาลมีอํานาจรับฟงพยานหลักฐานเชนวานั้นได
„ การสืบพยานบุคคลประกอบเอกสาร ตองมีพยานบุคคลประกอบ หรือเขาใหการ การสงตนฉบับหรือสําเนา
เอกสารตอศาล ศาลรับฟงไมได
„ ตราสารใดไมปดแสตมปบริบูรณจะใชตนฉบับ คูฉบับ คูฉีก หรือสําเนาตราสารนัน
้ เปนพยานหลักฐานในคดีแพง
ไมได (ประมวลรัษฎากร มาตรา 118)
„ การคัดคานเอกสาร
1. เหตุแหงการคัดคานเอกสาร (ม.125 วรรคหนึ่งและสอง)
2. ผลของการไมคัดคานเอกสารภายในเวลาที่กาํ หนด (ม.125 วรรคสาม)
มาตรา ๑๒๕ คูความฝายที่ถูกอีกฝายหนึ่งอางอิงเอกสารมาเปนพยานหลักฐานยันตน อาจคัดคานการนําเอกสารนั้นมาสืบโดยเหตุ
ที่วาไมมีตนฉบับหรือตนฉบับนั้นปลอมทั้งฉบับหรือบางสวน หรือสําเนานั้นไมถูกตองกับตนฉบับ โดยคัดคานตอศาลกอนการสืบพยาน
เอกสารนั้นเสร็จ
ถาคูความซึ่งประสงคจะคัดคานมีเหตุผลอันสมควรที่ไมอาจทราบไดกอนการสืบพยานเอกสารนั้นเสร็จวาตนฉบับเอกสารนั้น
ไมมี หรือเอกสารนั้นปลอม หรือสําเนาไมถูกตองคูความนั้นอาจยื่นคํารองขออนุญาตคัดคานการอางเอกสารมาสืบดังกลาวขางตนตอ
ศาล ไมวาเวลาใดกอนศาลพิพากษา ถาศาลเห็นวาคูความนั้นไมอาจยกขอคัดคานไดกอนนั้น และคําขอนั้นมีเหตุผลฟงได ก็ใหศาลมี
คําสั่งอนุญาตตามคําขอ
ถาคูความซึ่งประสงคจะคัดคานไมคัดคานการอางเอกสารเสียกอนการสืบพยานเอกสารนั้นเสร็จ หรือศาลไมอนุญาตให
คัดคานภายหลังนั้น หามมิใหคูความนั้นคัดคานการมีอยูและความแทจริงของเอกสารนั้น หรือความถูกตองแหงสําเนาเอกสารนั้น แต
ทั้งนี้ ไมตัดอํานาจของศาลในอันที่จะไตสวนและชี้ขาดในเรื่องการมีอยู ความแทจริง หรือความถูกตองเชนวานั้น ในเมื่อศาล
เห็นสมควร และไมตัดสิทธิของคูความนั้นที่จะอางวาสัญญาหรือหนี้ที่ระบุไวในเอกสารนั้นไมสมบูรณหรือคูความอีกฝายหนึ่ง
ตีความหมายผิด
„ การชีข้ าดขอโตเถียงความแทจริง หรือความถูกตองของเอกสาร (ม.126)
มาตรา 126 ภายใตบังคับแหงบทบัญญัติมาตราตอไปนี้ ถาคูความที่ถูกอีกฝายหนึ่งอางอิงเอกสารมาเปนพยานหลักฐานยันแกตน
ปฏิเสธความแทจริงของเอกสารนั้น หรือความถูกตองแหงสําเนาเอกสารนั้น และคูความฝายที่อางยังคงยืนยันความแทจริงหรือความ
ถูกตองแหงสําเนาของเอกสาร ถาศาลเห็นสมควร ใหศาลชี้ขาดขอโตเถียงนั้นไดทันทีในเมื่อเห็นวาไมจําเปนตองสืบพยานหลักฐาน
ตอไป หรือมิฉะนั้นใหชี้ขาดในเมื่อไดสืบพยานตามวิธีตอไปนี้ทั้งหมดหรือโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง คือ
(๑) ตรวจสอบบรรดาเอกสารที่มิไดถูกคัดคานแลวจดลงไวซึ่งการมีอยูหรือขอความแหงเอกสารที่ถูกคัดคาน
(๒) ซักถามพยานที่ทราบการมีอยูหรือขอความแหงเอกสารที่ถูกคัดคาน หรือพยานผูที่สามารถเบิกความในขอความแทจริง
แหงเอกสาร หรือความถูกตองแหงสําเนา
(๓) ใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเอกสารที่ถูกคัดคานนั้น
ในระหวางที่ยังมิไดชี้ขาดตัดสินคดี ใหศาลยึดเอกสารที่สงสัยวาปลอมหรือไมถูกตองไว แตความขอนี้ไมบังคับถึงเอกสาร
ราชการซึ่งทางราชการเรียกคืนไป
„ การคืนเอกสารแกคูความ (ม.127 ทวิ)
มาตรา 127 ทวิ ตนฉบับพยานเอกสารหรือพยานวัตถุอันสําคัญที่คูความไดยื่นตอศาล หรือที่บุคคลภายนอกไดยื่นตอศาล หากผูที่
ยื่นตองใชเปนประจําหรือตามความจําเปนหรือมีความสําคัญในการเก็บรักษา ศาลจะอนุญาตใหผูที่ยื่นรับคืนไป โดยใหคูความตรวจดู
และใหผูที่ยื่นสงสําเนาหรือภาพถายไวแทน หรือจะมีคําสั่งอยางใดตามที่เห็นสมควรก็ได

90
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ คดีแพงเรื่องหนึ่ง โจทกอางสําเนาภาพถายเฉพาะดานหนาของเช็ค โดยโจทกไดมอบตนฉบับเช็คคืนแกจําเลยไปแลว จําเลยคง


คัดคานเพียงวาเอกสารดังกลาวเปนสําเนา มิไดคัดคานวาตนฉบับไมมี หรือเอกสารปลอมหรือสําเนาไมถูกตอง ทั้งมิไดปฏิเสธวา
ตนฉบับเช็คมิไดอยูที่จําเลย ดังนี้ ศาลรับฟงสําเนาเช็คดังกลาวประกอบคาเบิกความของโจทกไดหรือไม
2.3 หลักเกณฑการนําสืบพยานวัตถุ
„ หลัก (ม.128)
มาตรา ๑๒๘ ถาพยานหลักฐานที่ศาลจะทําการตรวจนั้นเปนบุคคลหรือสังหาริมทรัพยซึ่งอาจนํามาศาลได ใหคูความฝายที่ไดรับ
อนุญาตใหนําสืบพยานหลักฐานเชนวานัน้ นําบุคคลหรือทรัพยนั้นมาในวันสืบพยาน หรือวันอื่นใดที่ศาลจะไดกําหนดใหนํามา
ถาการตรวจไมสามารถกระทําไดในศาล ใหศาลทําการตรวจ ณ สถานที่ เวลาและภายในเงื่อนไข ตามที่ศาลจะเห็นสมควร
แลวแตสภาพแหงการตรวจนั้น ๆ
2.4 หลักเกณฑการนําสืบพยานผูเชี่ยวชาญและพยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร
ก. ความหมายของพยานผูเ ชี่ยวชาญ
„ ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 98, 99 และ 129 ใชถอยคําเรียกพยานผูเชี่ยวชาญทีแ่ ตกตางกัน 2 คํา คือ “ผูมีความรู
เชี่ยวชาญ” และ “ผูเชี่ยวชาญ”
มาตรา 98 คูความฝายใดฝายหนึ่งจะอางบุคคลใดเปนพยานของตนก็ไดเมื่อบุคคลนั้นเปนผูมีความรูเชี่ยวชาญในศิลป วิทยาศาสตร
การฝมือ การคา หรือการงานที่ทําหรือในกฎหมายตางประเทศ และซึ่งความเห็นของพยานอาจเปนประโยชนในการวินิจฉัยชี้ขาด
ขอความในประเด็นทั้งนี้ไมวาพยานจะเปนผูมีอาชีพในการนั้นหรือไม
มาตรา 99 วรรคหนึ่ง ถาศาลเห็นวา จําเปนที่จะตองตรวจบุคคล วัตถุ สถานที่หรือตั้งผูเชี่ยวชาญตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๒๙
และ ๑๓๐ เมื่อศาลเห็นสมควร ไมวาการพิจารณาคดีจะอยูในชั้นใด หรือเมื่อมีคําขอของคูความฝายใดภายใตบังคับแหงบทบัญญัติ
มาตรา ๘๗ และ ๘๘ ใหศาลมีอํานาจออกคําสั่งกําหนดการตรวจหรือการแตงตั้งผูเชี่ยวชาญเชนวานั้นได
ข. การแตงตัง้ ผูเชี่ยวชาญ (ม.129)
มาตรา ๑๒๙ ในการที่ศาลจะมีคําสั่งใหแตงตั้งผูเชี่ยวชาญดังกลาวมาในมาตรา ๙๙ โดยที่ศาลเห็นสมควรหรือโดยที่คูความฝายใด
ฝายหนึ่งรองขอนั้น
(๑) การแตงตั้งผูเชี่ยวชาญเชนวานั้นใหอยูในดุลพินิจของศาล แตศาลจะเรียกคูความมาใหตกลงกันกําหนดตัวผูเชี่ยวชาญที่
จะแตงตั้งนั้นก็ ได แตศาลจะบังคับบุคคลใดใหเปนผูเชี่ยวชาญไมได นอกจากบุคคลนั้นไดยินยอมลงชื่อเปนผูเชี่ยวชาญไวในทะเบียน
ผูเชี่ยวชาญ ของศาลแลว
(๒) ผูเชี่ยวชาญที่ศาลแตงตั้งอาจถูกคัดคานไดและตองสาบานหรือปฏิญาณตน ทั้งมีสิทธิที่จะไดรับคาธรรมเนียมและรับ
ชดใชคาใชจายที่ไดออกไปตามที่ กําหนดไวในกฎกระทรวงวาดวยการนั้น
ค. การแสดงความเห็นของผูเชี่ยวชาญ (ม.130)
มาตรา ๑๓๐ ผูเชี่ยวชาญที่ศาลแตงตั้งอาจแสดงความเห็นดวยวาจาหรือเปนหนังสือก็ได แลวแตศาลจะตองการ ถาศาลยังไมเปนที่
พอใจในความเห็นของผูเชี่ยวชาญที่ทําเปนหนังสือนั้น หรือเมื่อคูความฝายใดเรียกรองโดยทําเปนคํารอง ใหศาลเรียกใหผูเชี่ยวชาญทํา
ความเห็นเพิ่มเติมเปนหนังสือ หรือเรียกใหมาศาลเพื่ออธิบายดวยวาจา หรือใหตั้งผูเชี่ยวชาญคนอื่นอีก
ถาผูเชี่ยวชาญที่ศาลตั้งจะตองแสดงความเห็นดวยวาจาหรือตองมาศาลเพื่ออธิบายดวยวาจา ใหนําบทบัญญัติในลักษณะนี้วา
ดวยพยานบุคคลมาใชบังคับโดยอนุโลม
ง. การตรวจพิสูจนพยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร (ม.128/1)
มาตรา ๑๒๘/๑ ในกรณีที่จําเปนตองใชพยานหลักฐานทางวิทยาศาสตรเพื่อพิสูจนขอเท็จจริงใดที่เปนประเด็นสําคัญแหงคดี เมื่อศาล
เห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งรองขอ ศาลมีอํานาจสั่งใหทําการตรวจพิสูจนบุคคล วัตถุหรือเอกสารใดๆ โดยวิธีการทาง
วิทยาศาสตรได
ในกรณีที่พยานหลักฐานทางวิทยาศาสตรจะสามารถพิสูจนใหเห็นถึงขอเท็จจริงที่ ทําใหศาลวินิจฉัยชี้ขาดคดีไดโดยไมตองสืบ
พยานหลักฐานอื่นอีก เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งรองขอ ศาลอาจสั่งใหทําการตรวจพิสูจนตามวรรคหนึ่งโดย
ไมตองรอใหถึงวันสืบพยานตาม ปกติก็ได

91
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

ในกรณีที่การตรวจพิสูจนตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองจําเปนตองเก็บตัวอยาง เลือด เนื้อเยื่อ ผิวหนัง เสนผมหรือขน ปสสาวะ


อุจจาระ น้ําลายหรือสารคัดหลั่งอื่น สารพันธุกรรม หรือสวนประกอบอื่นของรางกาย หรือสิ่งที่อยูในรางกายจากคูความหรือบุคคลใด
ศาลอาจใหคูความหรือบุคคลใดรับการตรวจพิสูจนจากแพทยหรือผูเชี่ยวชาญอื่นได แตตองกระทําเพียงเทาที่จําเปนและสมควร ทั้งนี้
ถือเปนสิทธิของคูความหรือบุคคลนั้นที่จะยินยอมหรือไมก็ได
ในกรณีที่คูความฝายใดไมยินยอมหรือไมใหความรวมมือตอการตรวจพิสูจนตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง หรือไมใหความ
ยินยอมหรือกระทําการขัดขวางมิใหบุคคลที่เกี่ยวของใหความยินยอมตอการตรวจเก็บตัวอยางสวนประกอบของรางกายตามวรรคสาม
ก็ใหสันนิษฐานไวกอนวาขอเท็จจริงเปนไปตามที่คูความฝายตรงขามกลาวอาง
คาใชจายในการตรวจพิสูจนตามมาตรานี้ ใหคูความฝายที่รองขอใหตรวจพิสูจนเปนผูรับผิดชอบโดยใหถือวาเปนสวนหนึ่งของ
คาฤชาธรรมเนียม แตถาผูรองขอไมสามารถเสียคาใชจายไดหรือเปนกรณีที่ศาลเปนผูสั่งใหตรวจพิสูจน ใหศาลสั่งจายตามระเบียบที่
คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมกําหนด สวนความรับผิดในคาใชจายดังกลาวใหเปนไปตามมาตรา ๑๕๘ หรือมาตรา ๑๖๑

3. หลักเกณฑการนําสืบพยานหลักฐานเพิ่มเติมโดยความตกลงของคูความหรือ
ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา
„ คูความอาจตกลงเกี่ยวกับวิธีการสืบพยาน นอกเหนือไปจากที่บังคับโดยกฎหมาย
„ ประธานศาลฎีกา มีอํานาจออกขอกําหนด เพื่อกําหนดหลักเกณฑ วิธีการนําสืบ หรือแมแตการรับฟง
พยานหลักฐานเพิ่มเติมจากที่กําหนดไวใน ป.วิ.พ.
3.1 หลักเกณฑตามขอตกลงของคูความ
ก. กรณีเปนขอตกลงที่ใชกับการสืบพยานหลักฐานทุกประเภท (ม.103/1, 103/2)
มาตรา ๑๐๓/๑ ในกรณีที่คูความตกลงกัน และศาลเห็นเปนการจําเปนและสมควร ศาลอาจแตงตั้งเจาพนักงานศาลหรือเจาพนักงาน
อื่นซึ่งคูความเห็นชอบใหทํา การสืบพยานหลักฐานสวนใดสวนหนึ่งที่จะตองกระทํานอกศาลแทนได
ใหเจาพนักงานผูปฏิบัติหนาที่ตามวรรคหนึ่งเปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาและใหนําความในมาตรา ๑๐๓ มา
ใชบังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๑๐๓/๒ คูความฝายที่เกี่ยวของอาจรองขอตอศาลใหดําเนินการสืบพยานหลักฐานไปตามวิธีการที่คูความตกลงกัน ถาศาล
เห็นสมควรเพื่อใหการสืบพยานหลักฐานเปนไปโดยสะดวกรวดเร็ว และเที่ยงธรรม ศาลจะอนุญาตตามคํารองขอนั้นก็ได เวนแตการสืบ
พยานหลักฐานนั้นจะเปนการไมชอบดวยกฎหมายหรือขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
ข. กรณีเปนขอตกลงที่ใชกับการพยานบุคคลโดยเฉพาะ (ม.120/1, 120/2)
มาตรา ๑๒๐/๑ เมื่อ คูความฝายใดฝายหนึ่งมีคํารองและคูความอีกฝายไมคัดคาน และศาลเห็นสมควรศาลอาจอนุญาตใหคูความ
ฝายที่มีคํารองเสนอบันทึกถอยคําทั้ง หมดหรือแตบางสวนของผูที่ตนประสงคจะอางเปนพยานยืนยันขอเท็จจริงหรือ ความเห็นของผูให
ถอยคําตอศาลแทนการซักถามผูใหถอยคําเปนพยานตอหนาศาลได
คูความที่ประสงคจะเสนอบันทึกถอยคําแทนการซักถามพยานดังกลาวตามวรรคหนึ่ง จะตองยื่นคํารองแสดงความจํานง
พรอมเหตุผลตอศาลกอนวันชี้สองสถาน หรือกอนวันสืบพยาน ในกรณีที่ไมมีการชี้สองสถาน และใหศาลพิจารณากําหนดระยะเวลาที่
คูความจะตองยื่นบันทึกถอยคําดังกลาวตอ ศาลและสงสําเนาบันทึกถอยคํานั้นใหคูความอีกฝายหนึ่งทราบลวงหนาไมนอย กวาเจ็ดวัน
กอนวันสืบพยานคนนั้น เมื่อมีการยื่นบันทึกถอยคําตอศาลแลวคูความที่ยื่นไมอาจขอถอนบันทึกถอย คํานั้น บันทึกถอยคํานั้นเมื่อ
พยานเบิกความรับรองแลวใหถือวาเปนสวนหนึง่ ของคํา เบิกความตอบคําซักถาม
ใหผูใหถอยคํามาศาลเพื่อเบิกความตอบคําซักถามเพิ่มเติม ตอบคําถามคาน และคําถามติงของคูความหากผูใหถอยคําไมมา
ศาล ใหศาลปฏิเสธที่จะรับฟงบันทึกถอยคําของผูนั้นเปนพยานหลักฐานในคดีแตถา ศาลเห็นวาเปนกรณีจําเปนหรือมีเหตุสุดวิสัยที่
ผูใหถอยคําไมสามารถมาศาล ได และเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม จะรับฟงบันทึกถอยคําที่ผูใหถอยคํามิไดมาศาลนั้นประกอบ
พยานหลักฐานอื่นก็ ได
ในกรณีที่คูความตกลงกันใหผูใหถอยคําไมตองมาศาล หรือคูความอีกฝายหนึ่งยินยอมหรือไมติดใจถามคาน ใหศาลรับฟง
บันทึกถอยคําดังกลาวเปนพยานหลักฐานในคดีได

92
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

มาตรา ๑๒๐/๒ เมื่อคูความมีคํารองรวมกันและศาลเห็นสมควร ศาลอาจอนุญาตใหเสนอบันทึกถอยคํายืนยันขอเท็จจริงหรือ


ความเห็นของผูให ถอยคําซึ่งมีถิ่นที่อยูในตางประเทศตอศาลแทนการนําพยานบุคคลมาเบิกความตอ หนาศาลได แตทั้งนี้ไมตัดสิทธิ
ผูใหถอยคําที่จะมาศาลเพื่อใหการเพิ่มเติม
สําหรับลายมือชื่อของผูใหถอยคําใหนํามาตรา ๔๗ วรรคสาม มาใชบังคับโดยอนุโลม
3.2 หลักเกณฑตามขอกําหนดของประธานศาลฎีกา
มาตรา ๑๐๓/๓ เพื่อใหการสืบพยานหลักฐานเปนไปโดยสะดวก รวดเร็ว และเที่ยงธรรมประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของที่
ประชุมใหญของศาลฎีกามีอํานาจออกขอกําหนดใดๆ เพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางการนําสืบพยานหลักฐานได แตตองไมขัดหรือแยงกับ
บทบัญญัติในกฎหมาย
ขอกําหนดของประธานศาลฎีกาตามวรรคหนึ่ง เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับได
„ หลักเกณฑ
1. ตองมีวัตถุประสงค เพื่อใหการสืบพยานหลักฐานเปนไปโดยสะดวก รวดเร็ว และเที่ยงธรรม
2. ตองผานความเห็นชอบของที่ประชุมใหญของศาลฎีกา
3. ตองไมขัดหรือแยงกับบทบัญญัติในกฎหมาย

93
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

15. การชั่งน้ําหนักพยานหลักฐาน
„ การชั่งน้าํ หนักพยานหลักฐาน หมายถึง การที่ศาลวินจิ ฉัยปญหาขอเท็จจริงในประเด็นที่พิพาทกันโดย
พยานหลักฐานที่คคู วามนําสืบ โดยเทียบกับมาตรฐานที่พิสูจน ซึ่งกฎหมายไดกาํ หนดหลักการไวแตกตางกันระหวาง
คดีแพง และคดีอาญา นอกจากนั้นในคดีที่มีการพิจารณาพิพากษาโดยองคคณะผูพ ิพากษา อาจมีความเห็นที่แตกตาง
ขัดแยงกัน จนไมอาจทําคําพิพากษาได จึงจําเปนตองกําหนดวิธีการแกไข เพื่อใหสามารถวินิจฉัยชีข้ าดตัดสินคดีได
„ พยานหลักฐานประเภทตางๆ ไดแก พยานบุคคล พยานเอกสาร พยานวัตถุ พยานสื่ออิเลคทรอนิคส และ
พยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร นอกจากจะมีวิธีการนําสืบ และการรับฟงที่แตกตางกันแลว การชั่งน้าํ หนัก
พยานหลักฐานก็ยังมีความแตกตางกันดวย
„ พยานหลักฐานที่มีน้ําหนักไมมั่นคง ศาลตองรับฟงดวยความระมัดระวัง โดยลําพังไมควรเชื่อเปนยุติ เวนแตจะมี
พยานหลักฐานอยางอื่นมาประกอบ หรือมีเหตุผล หรือพฤติการณแหงคดีเปนพิเศษมาสนับสนุน หากคูความฝายหนึ่ง
มีพฤติการณที่เปนพิรุธ ขัดแยงกับขออาง ขอเถียง หรือพยานหลักฐานของฝายตน ศาลอาจอนุมานขอเท็จจริงไป
ในทางที่เปนผลรายตอรูปคดีของคูค วามฝายนั้น

1. หลักการชั่งน้ําหนักพยานหลักฐาน
1.1 หลักเกณฑการชั่งน้าํ หนักพยานหลักฐาน
„ การชั่งน้าํ หนักพยานหลักฐาน หมายถึง การวินิจปญหาขอเท็จจริงในประเด็นที่พิพาทกันโดยอาศัยพยานหลักฐาน
„ การชั่งน้าํ หนักพยานหลักฐานในคดีแพง เปนการวินิจฉัยวา พยานหลักฐานของฝายใดมีน้ําหนักนาเชื่อถือกวากัน
„ การชั่งน้าํ หนักพยานหลักฐานในคดีอาญา เปนการวินิจฉัยวา พยานหลักฐานของโจทกมีนา้ํ หนักใหเชื่อไดโดย
ปราศจากขอสงสัยวา ไดมกี ารกระทําความผิดเกิดขึ้นดังที่โจทกกลาวอางหรือไม และจําเลยเปนผูกระทําความผิดนั้น
หรือไม
1.2 การชั่งน้าํ หนักพยานหลักฐานและมาตรฐานการพิสูจน
„ หลักกฎหมาย (ม.104 วรรคหนึ่ง)
1. พยานหลักฐานที่คค ู วามนําสืบนั้น เกี่ยวของกับประเด็นหรือไม
2. พยานหลักฐานที่คค ู วามนําสืบนั้น เพียงพอใหศาลเชื่อฟงเปนยุติไดหรือไม
มาตรา ๑๐๔ ใหศาลมีอํานาจเต็มที่ในอันที่จะวินิจฉัยวาพยานหลักฐานที่คูความนํามาสืบนั้นจะเกี่ยวกับประเด็นและเปนอันเพียงพอ
ใหเชื่อฟงเปนยุติไดหรือไม แลวพิพากษาคดีไปตามนั้น
ในการวินิจฉัยวาพยานบอกเลาตามมาตรา ๙๕/๑ หรือบันทึกถอยคําที่ผูใหถอยคํามิไดมาศาลตามมาตรา ๑๒๐/๑ วรรคสามและ
วรรคสี่ หรือบันทึกถอยคําตามมาตรา ๑๒๐/๒ จะมีน้ําหนักใหเชื่อไดหรือไมเพียงใดนั้น ศาลจะตองกระทําดวยความระมัดระวังโดย
คํานึงถึงสภาพ ลักษณะและแหลงที่มาของพยานบอกเลาหรือบันทึกถอยคํานั้นดวย
„ หลักปฏิบัติ
„ มาตรฐานการพิสูจน หมายถึง ระดับของความนาเปนไปไดที่ใชในการพิสูจนวาขอเท็จจริงอยางใดอยางหนึ่งเปน
ความจริงหรือไม ซึ่งเปนหนาที่ของคูค วามฝายที่มีภาระการพิสูจน จะตองนําสืบพยานหลักฐานตอศาล เพื่อใหศาลใช
ในการชั่งน้ําหนักพยานหลักฐาน
„ มาตรฐานการพิสูจนในคดีแพง คูความตองนําสืบวาพยานหลักฐานของฝายตนมีน้ําหนักนาเชือ่ กวาพยานหลักฐาน
ของคูค วามอีกฝายหนึ่ง

94
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ มาตรฐานการพิสูจนในคดีอาญา โจทกตอ งนําสืบพยานหลักฐานใหศาลเชื่อโดยปราศจากขอสงสัยวา มีการกระทํา


ความผิดตามฟองเกิดขึ้นจริง และจําเลยเปนผูกระทําความผิดนั้น
1.3 การชั่งน้าํ หนักพยานหลักฐานและการพิจารณาคดีโดยองคคณะผูพิพากษา
„ ในคดีที่ตองพิจารณาพิพากษาโดยองคคณะ ซึ่งมีผูพิพากษาตั้งแต 2 คนขึ้นไป อาจเกิดปญหาในเรื่องความเห็นที่
แตกตางขัดแยงกัน จนไมอาจทําคําพิพากษาได จึงมีการหนดแนวทางแกไขโดยกําหนดใหผูพิพากษาที่เปนผูบ ริหาร
ศาลมีอาํ นาจตรวจสํานวนและทําคําพิพากษาไดดวย
ก. คดีแพง (ป.วิ.พ.มาตรา 140)
มาตรา 140 การทําคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาล ใหดําเนินตามขอบังคับตอไปนี้…
(๒) ภายใตบังคับบทบัญญัติมาตรา ๑๓ ถาคําพิพากษาหรือคําสั่งจะตองทําโดยผูพิพากษาหลายคน คําพิพากษาหรือคําสั่งนั้น
จะตองบังคับตามความเห็นของฝายขางมาก จํานวนผูพิพากษาฝายขางมากนั้น ในศาลชั้นตนหรือศาลอุทธรณตองไมนอยกวาสองคน
และในศาลฏีกาไมนอยกวาสามคน ในศาลชั้นตนและศาลอุทธรณ ถาผูพิพากษาคนใดมีความเห็นแยง ก็ใหผูพิพากษาคนนั้นเขียน
ใจความแหงความเห็นแยงของตนกลัดไวในสํานวน และจะแสดงเหตุผลแหงขอแยงไวดวยก็ได…
ข. คดีอาญา (ป.วิ.อ.มาตรา 184)
มาตรา 184 ในการประชุมปรึกษาเพื่อมีคําพิพากษาหรือคําสั่งใหอธิบดีผูพิพากษา ขาหลวงยุติธรรม หัวหนาผูพิพากษาในศาลนั้น
หรือเจาของสํานวนเปนประธาน ถามผูพิพากษาที่นั่งพิจารณาทีละคน ใหออกความเห็นทุกประเด็นที่จะวินิจฉัย ใหประธานออก
ความเห็นสุดทาย การวินิจฉัยใหถือตามเสียงขางมาก ถาในปญหาใดมีความเห็นแยงกันเปนสองฝายหรือเกินกวาสองฝายขึ้นไป จะหา
เสียงขางมากมิได ใหผูพิพากษาซึ่งมีความเห็นเปนผลรายแกจําเลยมากยอมเห็นดวยผูพิพากษาซึ่งมีความเห็นเปนผลรายแกจําเลยนอย
กวา

2. การชั่งน้ําหนักพยานหลักฐานประเภทตางๆ
2.1 การชัง
่ น้าํ หนักพยานบุคคล
„ การชั่งน้าํ หนักคําเบิกความของพยานบุคคลนั้น ขึ้นอยูก ับความนาเชื่อถือของคําเบิกความนั้น ซึ่งศาลจะพิจารณา
จาก การรับรู การจดจํา ความสามารถในการถายทอด และอคติของพยาน นอกจากนั้น หาตองชั่งน้ําหนักพยาน
บุคคลแลว ยังตองพิจารณาดวยวา พยานบุคคลนั้นเปนพยานประเภทใด เชน เปนประจักษพยานหรือพยานแวดลอม
กรณี เปนพยานเดี่ยวหรือพยานคู หรือเปนพยานบุคคลธรรมดา หรือพยานผูเชีย่ วชาญ
ก. การพิจารณาความนาเชื่อถือของพยานบุคคล ศาลจะพิจารณาจาก
1. การรับรู (Perception)
2. การจดจําของพยาน (Memory)
3. ความสามารถในการถายทอด (Narration)
4. อคติ (Bias)
ข. การชั่งน้าํ หนักพยานบุคคลประเภทตางๆ
„ ประจักษพยานกับพยานแวดลอมกรณี
ประจักษพยาน = พยานโดยตรง คือประสบพบเห็นขอเท็จจริงที่เปนประเด็นในคดีโดยตรง
พยานแวดลอมกรณี = พยานที่ประสบพบเห็นเหตุการณเหมือนกันแตไมใชเหตุการณโดยตรง
แต ประจักษพยานมักจะมีขอเสียคือ ถูกทําลายน้ําหนักไดงายกวาพยานแวดลอมกรณี เนื่องจากประจักษพยานสวน
ใหญมกั เปนผูมีสวนไดสวนเสียโดยตรงในผลของคดี
„ พยานเดี่ยวกับพยานคู

95
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

พยานเดี่ยว = ประจักษพยานคนเดียว
พยานคู = พยานที่รูเห็นเหตุการณหลายคน
ดังนั้น พยานคูยอมมีนา้ํ หนักมากกวาแตหากพยานคูเ บิกความแตกตางกันในสาระขอเท็จจริง ยอมทําใหผพู ิพากษา
สงสัยได
„ พยานบุคคลกับพยานผูเชี่ยวชาญ – กฎหมายถือวาพยานผูเชี่ยวชาญเปนเพียงพยานหลักฐานประเภทหนึ่ง ตองมี
การชั่งน้าํ หนักเชนเดียวกับพยานชนิดอื่น
„ ในคดีอาญาเรื่องหนึ่ง โจทกไมมีพยานรูเห็นขณะที่จําเลยกับพวกฆาผูตาย แตมีพยานเห็นจําเลยอยูกับผูตายดวยกันกอนเกิดเหตุ
และไดเห็นจําเลยกับรถจักรยานยนตของผูตายหลังเกิดเหตุ โดยพยานดังกลาวไมเคยรูจักหรือมีสาเหตุโกรธเคืองกับจําเลยมากอน
ดังนี้ ศาลรับฟงพยานดังกลาวลงโทษจําเลยไดหรือไม
2.2 การชั่งน้าํ หนักพยานเอกสาร
„ การชั่งน้าํ หนักพยานเอกสารนั้น ศาลตองวินิจฉัยวา พยานเอกสารนั้นมีความแทจริงถูกตองหรือไมและขอความ
เอกสารนั้นนาเชื่อถือหรือไม ศาลตองชั่งน้ําหนักพยานเอกสาร ตามประเภทของพยาน ไดแก
1. เอกสารซึ่งเปนนิติกรรมสัญญาตามกฎหมายสารบัญญัติ
2. เอกสารมหาชน
3. เอกสารที่เปนการบันทึกเหตุการณหรือขอความของบุคคล
„ โจทกฟองขอแบงที่ดินซึ่งเปนสินสมรส อางวาโจทกและจําเลยเปนสามีภริยากัน ที่ดินเปนทรัพยสินที่ไดมาในระหวางสมรส โดยมี
ชื่อจําเลยถือกรรมสิทธิ์เพียงผูเดียว จําเลยใหการตอสูแตเพียงวา จําเลยถือกรรมสิทธิ์ที่ดินแปลงพิพาทไวแทนบุคคลภายนอก แตไมมี
พยานหลักฐานมานําสืบตามขอตอสู ดังนี้ ศาลจะรับฟงขอเท็จจริงอยางไร
2.3 การชั่งน้าํ หนักพยานวัตถุ
„ การชั่งน้าํ หนักพยานวัตถุ ตองมีพยานบุคคลที่เบิกความรับรอง หรืออางอิงถึงพยานวัตถุนั้น สวนการวินิจฉัยความ
นาเชื่อถือของวัตถุพยานนั้น ศาลจะตรวจเอง หรือตั้งผูเชี่ยวชาญตรวจก็ได ในกรณีที่ตองอาศัยความรูห รือความ
เชี่ยวชาญเปนพิเศษ ศาลก็อาจใหผูเชีย่ วชาญตรวจและทําความเห็นได
„ คดีแพงเรื่องหนึ่ง จําเลยอางสงแถบบันทึกเสียง และคําถอดขอความจากแถบบันทึกเสียง ประกอบคําเบิกความของพยานจําเลย
โดยมิไดมีการถามคานพยานอีกฝายหนึ่งวาไดกลาวถอยคําดังเชนที่บันทึกในแถบบันทึกเสียงหรือไม ศาลรับฟงพยานหลักฐานของ
จําเลยดังกลาวไดหรือไม
2.4 การชั่งน้าํ หนักพยานสื่ออิเลคทรอนิคส
„ การชั่งน้าํ หนักพยานวัตถุประเภทสื่ออิเลคทรอนิคส เนื่องจากยังไมมีกฎเกณฑการนําเสนอพยานวัตถุที่ชดั แจง
ดังนั้น คูความที่นําเสนอพยานวัตถุในลักษณะของสิ่งที่บันทึกไว ควรนําพยานบุคคลที่เกี่ยวของกับการบันทึกพยาน
วัตถุประเภทนั้นๆ มาสืบ เพื่อยืนยันใหเห็นถึงความถูกตองแทจริงและความนาเชือ่ ถือของพยานวัตถุนั้นๆ
„ พ.ร.บ.วาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิคส พ.ศ.2544 กําหนดในเรื่องความนาเชื่อถือของพยานหลักฐานสื่อ
อิเลคทรอนิคสไวในมาตรา 11
2.5 การชั่งน้าํ หนักพยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร
„ การชั่งน้าํ หนักพยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร ตองมีผูเชี่ยวชาญทีต่ รวจพิสูจนทางวิทยาศาสตรมาเบิกความ
ประกอบ ดังนั้น การจะเชื่อถือพยานหลักฐานทางวิทยาศาสตรหรือไมเพียงใด จึงตองพิจารณาจาก
1. ความรูของผูเชี่ยวชาญ
2. ความเห็นของพยานผูเชี่ยวชาญ
3. ความถูกตองแทจริงของขอมูลที่นํามาตรวจพิสูจน

96
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

„ ป.วิ.พ.มาตรา 128/1 ไดบัญญัติเกี่ยวกับการตรวจพิสูจนพยานหลักฐานทางวิทยาศาสตรไวดังนี้


มาตรา ๑๒๘/๑ ในกรณีที่จําเปนตองใชพยานหลักฐานทางวิทยาศาสตรเพื่อพิสูจนขอเท็จจริงใดที่เปนประเด็นสําคัญแหงคดี เมื่อศาล
เห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งรองขอ ศาลมีอํานาจสั่งใหทําการตรวจพิสูจนบุคคล วัตถุหรือเอกสารใดๆ โดยวิธีการทาง
วิทยาศาสตรได
ในกรณีที่พยานหลักฐานทางวิทยาศาสตรจะสามารถพิสูจนใหเห็นถึงขอเท็จจริงที่ ทําใหศาลวินิจฉัยชี้ขาดคดีไดโดยไมตองสืบ
พยานหลักฐานอื่นอีก เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคูความฝายใดฝายหนึ่งรองขอ ศาลอาจสั่งใหทําการตรวจพิสูจนตามวรรคหนึ่งโดย
ไมตองรอใหถึงวันสืบพยานตาม ปกติก็ได
ในกรณีที่การตรวจพิสูจนตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองจําเปนตองเก็บตัวอยาง เลือด เนื้อเยื่อ ผิวหนัง เสนผมหรือขน ปสสาวะ
อุจจาระ น้ําลายหรือสารคัดหลั่งอื่น สารพันธุกรรม หรือสวนประกอบอื่นของรางกาย หรือสิ่งที่อยูในรางกายจากคูความหรือบุคคลใด
ศาลอาจใหคูความหรือบุคคลใดรับการตรวจพิสูจนจากแพทยหรือผูเชี่ยวชาญอื่นได แตตองกระทําเพียงเทาที่จําเปนและสมควร ทั้งนี้
ถือเปนสิทธิของคูความหรือบุคคลนั้นที่จะยินยอมหรือไมก็ได
ในกรณีที่คูความฝายใดไมยินยอมหรือไมใหความรวมมือตอการตรวจพิสูจนตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง หรือไมใหความยินยอม
หรือกระทําการขัดขวางมิใหบุคคลที่เกี่ยวของใหความยินยอมตอการตรวจเก็บตัวอยางสวนประกอบของรางกายตามวรรคสาม ก็ให
สันนิษฐานไวกอ นวาขอเท็จจริงเปนไปตามที่คูความฝายตรงขามกลาวอาง
คาใชจายในการตรวจพิสูจนตามมาตรานี้ ใหคูความฝายที่รองขอใหตรวจพิสูจนเปนผูรับผิดชอบโดยใหถือวาเปนสวนหนึ่งของคา
ฤชาธรรมเนียม แตถาผูรองขอไมสามารถเสียคาใชจายไดหรือเปนกรณีที่ศาลเปนผูสั่งใหตรวจพิสูจน ใหศาลสั่งจายตามระเบียบที่คณะ
กรรมการบริหารศาลยุติธรรมกําหนด สวนความรับผิดในคาใชจายดังกลาวใหเปนไปตามมาตรา ๑๕๘ หรือมาตรา ๑๖๑
„ โจทกฟองจําเลยขอใหจําเลยรับวาเด็กหญิง ก อันเกิดจากโจทกโดยมีจําเลยเปนบิดาของเด็กหญิง ก ซึ่งจําเลยจะตองจาคาอุปการะ
เลี้ยงดูเด็กหญิง ก ในชั้นพิจารณาโจทกของใหตรวจพิสูจนทางวิทยาศาสตรดวยการตรวจ DNA ของจําเลยวาตรงกับเด็กหญิง ก
หรือไม แตจําเลยไมยอมใหเก็บตัวอยางเลือดของจําเลยเพื่อนําไปตรวจพิสูจน DNA ดังนี้ ศาลจะรับฟงขอเท็จจริงดังกลาวอยางไร

3. หลักปฏิบัติเกี่ยวกับการชั่งน้ําหนักพยานหลักฐาน
3.1 พยานหลักฐานที่มีน้ําหนักไมมั่นคง
„ พยานหลักฐานที่มีน้ําหนักไมมั่นคง หมายถึง พยานหลักฐานที่เพียงลําพังพยานหลักฐานนั้นแลว ไมมีน้ําหนัก
เพียงพอใหศาลรับฟง หรือเชื่อขอเท็จจริงไปทางหนึ่งทางใดได จําเปนตองรับฟงประกอบกับพยานหลักฐานอืน่ ๆ
มาตรา 104 วรรคสอง ในการวินิจฉัยวาพยานบอกเลาตามมาตรา ๙๕/๑ หรือบันทึกถอยคําที่ผูใหถอยคํามิไดมาศาลตามมาตรา
๑๒๐/๑ วรรคสามและวรรคสี่ หรือบันทึกถอยคําตามมาตรา ๑๒๐/๒ จะมีน้ําหนักใหเชื่อไดหรือไมเพียงใดนั้น ศาลจะตองกระทําดวย
ความระมัดระวังโดยคํานึงถึงสภาพ ลักษณะและแหลงที่มาของพยานบอกเลาหรือบันทึกถอยคํานั้นดวย
„ พยานหลักฐานประกอบ ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 227/1 วรรคสอง กําหนดหลักเกณฑในการรับฟงและชั่งน้ําหนัก
พยานหลักฐานดังนี้
1. ตองเปนพยานหลักฐานที่มไิ ดตองหามมิใหรับฟงตามกฎหมาย
2. แหลงที่มาของพยานหลักฐาน ตองเปนอิสระตางหากจากพยานหลักฐานนั้น
3. ตองเปนพยานหลักฐานทีท ่ าํ ใหพยานหลักฐานนั้นมีความนาเชื่อถือมากขึ้น
3.2 การอนุมานขอเท็จจริงที่ใหเปนผลรายแกคูความที่มีพฤติการณสอพิรุธ
„ คูความฝายใดฝายหนึ่ง มีพฤติการณที่เปนพิรุธ ขัดแยงกับขออาง ขอเถียง หรือพยานหลักฐานของฝายตน ศาลก็
อาจอนุมานขอเท็จจริง ไปในทางที่เปนผลรายตอรูปคดีของคูค วามฝายนั้น
ก. การอนุมานดวยวิธีนิรนัย
„ การอนุมานดวยวิธีนิรนัย คือ การแสดงเหตุผลจากสวนรวม ไปหาสวนยอย หรือการอนุมานจากหลักความจริง
ทั่วไปกับความจริงเฉพาะเรื่อง แลวอนุมานไดขอสรุป ซึ่งเปนความจริงเฉพาะอีกเรื่องหนึ่ง

97
กฎหมายวิธีสบัญญัติ ๑ : วิธีพิจารณาความแพง

ข. การอนุมานดวยวิธีอปุ มัย แบงออกเปน 3 ประเภท


1. การอนุมานจากสาเหตุไปหาผลลัพธ
2. การอนุมานจากผลลัพธไปหาสาเหตุ
3. การอนุมานจากผลลัพธไปหาผลลัพธ
„ ในคดีความผิดฐานรับของโจร โจทกนําสืบแตเพียงวา เจาพนักงานตํารวจยึดรถจักรยานยนตของผูเสียหายที่มีคนรายลักเอาไป
เทานั้น โดยไมมีพยานหลักฐานยืนยันใหเห็นวา จําเลยไดรับรถจักรยานยนตไวโดยรูวาเปนทรัพยอันไดมาจากการกระทําความผิด
ดังนี้ศาลจะรับฟงลงโทษจําเลยไดหรือไม

ปรับปรุงเมื่อ 12 กุมภาพันธ 2553

98

You might also like