You are on page 1of 41

กฎหมายระหว่างประเทศ

กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นหลักกฎหมายหรือข้อตกลงร่วมกันทีใ่ ช้บงั คับกับความ


สัมพันธ์ระหว่างประเทศ
วิวฒ
ั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศเริม ่ ต้นตัง้ แต่สมัยโบราณก่อนคริสต์กาล
นับตัง้ แต่มนุษย์เริม
่ รวมตัวเป็ นชุมชนสืบต่อมาในสมัยกลาง
สมัยใหม่จนถึงสมัยปัจจุบน ั โดยเริม ่ จากการปฏิบตั ต ิ อ
่ กันจนกลายเป็ นจารีตประเพณี
สนธิสญ ั ญา และแนวคิดในการจัดตัง้ องค์การระหว่างประเทศ
ความหมาย
มีผใู้ ห้คาจากัดความของกฎหมายระหว่างประเทศ ไว้ห ลายท่าน
โอเพนไฮน์ (Oppenhiem)
คือ กลุม ่ ยึดถือแห่งจารีตประเพณีและสนธิสญ ั ญา
ซึง่ ถือว่ามีความผูกพันทางกฎหมายต่อรัฐในแง่ความสัมพันธ์ระหว่างกัน
ลอเร็นซ์ (Lawrence)
คือ
กฎเกณฑ์ซงึ่ กาหนดพฤติกรรมของกลุม ่ ประเทศในการติดต่อระหว่างกัน
แฟนวิก (Fenwick0
คือ
กลุม ่ ประเทศทีย่ ด ึ หลักการทั่วไปและหลักเกณฑ์เฉพาะทีม ่ ีความผูกพันระหว่างสังคมร
ะหว่างประเทศ ในด้านความสัมพันธ์ของกันและกัน
ไฮด์ (Hyde)
คือ
หลักการและหลักเกณฑ์ของความประพฤติทท ี่ าให้รฐั นัน
้ ๆมีความรูส้ ก
ึ ว่าถูกผูกพันแล
ะจะต้องปฏิบตั ต ิ าม ซึ่งรัฐจะต้องให้ความเคารพในความสัมพันธ์ของกันและกัน
เจสสุป (Jessup)
คือ กฎหมายทีน ่ ามาใช้ในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
ฮูลเลอร์ (Huiller)
คือ กฎทีก ่ าหนดหรือควบคุมการติดต่อระหว่างรัฐ
ไบรเออลี (Bierly)
เขียนไว้ในหนังสือ The Law of Nations ว่ากฎหมายระหว่างประเทศ
คือ กลุม ่ กฎเกณฑ์และหลักของการกระทา
ซึง่ ผูกพันเหนือรัฐทีม ่ ีอารยธรรมในการสัมพันธ์ระหว่างกันและกัน
สตาร์ก (Starke)
ได้นิยามไว้ในหนังสือ An Introduction to International
Law ว่ากฎหมายระหว่างประเทศได้แก่
กลุม ่ กฎหมายทีส ่ ว่ นใหญ่ประกอบด้วยหลักและข้อบังคับความประพฤติทรี่ ฐั ต่างๆ
มีความรูส้ ก ึ ว่าต้องปฏิบตั ต ิ ามในความสัมพันธ์ระหว่างกัน
และยังรวมถึงข้อบังคับทางกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั งิ านขององค์การระหว่าง
ประเทศ และทีเ่ กีย่ วข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรเหล่านัน ้ ทีม
่ ีตอ
่ กัน
รวมทัง้ ความสัมพันธ์ทอ ี่ งค์กรเหล่านัน
้ มีตอ
่ รัฐต่างๆ และเอกชน

กล่าวโดยสรุป
กฎหมายระหว่างประเทศหมายถึงกฎเกณฑ์ทใี่ ช้บงั คับในความสัมพันธ์ระหว่า
งบุคคล ระหว่างประเทศ
ซึง่ ในปัจจุบน ั นอกจากรัฐแล้วยังมีองค์การระหว่างประเทศอีกด้วย
อีกทัง้ ยังมีเนื้อหาซึง่ เกีย่ วข้องกับการคุม ้ ครองปัจเจกคนภายในรัฐต่างๆ ด้วย
จากคาจากัดความดังกล่าว ทาให้เข้าใจว่ากฎหมายระหว่างประเทศ
ก็คอ ื กฎหมายทีก ่ าหนดขึน ้ มา เพือ่ ให้ประเทศต่างๆ
ดาเนินการติดต่อสัมพันธ์กน ั เป็ นไปตามกฎทีก ่ าหนดหรืออยูใ่ นกรอบข้อตกลงระหว่า
งกัน
รากฐานแห่งกฎหมายระหว่างประเทศ
คือความยินยอมร่วมกันของบรรดาประเทศต่างๆ ซึง่ มาจาก 2 ทางคือ
1. จารีตประเพณี
2. สนธิสญ ั ญา
จารีตประเพณี คือ ความยินยอมของรัฐทีย่ อมปฏิบตั ต ิ ามกฎเกณฑ์
เป็ นระยะเวลายาวนานพอสมควร
จนกลายเป็ นกฎเกณฑ์ทม ี่ ีความผูกพันไม่จาเป็ นต้องมีลายลักษณ์ อกั ษร
สนธิสญั ญา คือ
การทีไ่ ด้มีการทาข้อตกลงระหว่างกันของรัฐอย่างเปิ ดเผย
มีการสร้างกฎเกณฑ์ขน ึ้ มาเพือ่ ให้มีการปฏิบตั เิ ฉพาะคูส ่ ญ
ั ญา
ความแตกต่างระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายในประเทศ กล่
าวพอสรุปดังนี้
1. กฎหมายระหว่างประเทศ
้ จากธรรมเนียมปฏิบตั ต
เกิดขึน ิ อ่ กันระหว่างประเทศหรือโดยสนธิสญ ั
ญา
แต่กฎหมายภายในประเทศเกิดขึน ้ จากขนบธรรมเนียมภายในอาณาเ
ขตของประเทศใด ประเทศหนึ่ง
หรือถูกตราขึน ้ โดยสถาบันนิตบ ิ ญั ญัตขิ องประเทศนัน ้ ๆ
2. ความสัมพันธ์ทถ ี่ ูกบังคับ
กฎหมายระหว่างประเทศใช้บงั คับความสัมพันธ์ระหว่างกัน
ในขณะทีก ่ ฎหมายภายในประเทศบังคับความเกีย่ วพันระหว่างเอกชน
กับรัฐ หรือระหว่างเอกชนกับเอกชน
3. การตกอยูภ ่ ายใต้บงั คับ
กฎหมายระหว่างประเทศมิได้กาหนดให้รฐั หนึ่งมีอานาจเหนืออีกรัฐห
นึ่ง แต่เป็ นการจรรโลงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐอธิปไตย
การใช้อานาจบังคับของกฎหมายนัน ้ บางครัง้ เราจะเห็นได้วา่
ศาลภายในประเทศทีย่ อมรับเอาหลักกฎหมายระหว่างประเทศมาใช้บ ั
งคับในบางคดี ลักษณะการทาเช่นนี้จงึ ถือว่า
กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นส่วนหนึ่งของกฎหมายภายในประเทศ
แต่ศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศจะไม่ยอมรับเอากฎหมายภายในประ
เทศใดประเทศหนึ่งมาเป็ นหลักในการพิจารณาคดีพพิ าทระหว่างประ
เทศ
กฎหมายระหว่างประเทศ
เป็ นกฎหมายทีต ่ อ
้ งปฏิบตั ต
ิ ามเมือ
่ เกีย่ วข้องสัมพันธ์ตอ
่ กัน
ไม่วา่ ยามปกติหรือสงคราม
กฎหมายระหว่างประเทศมีมูลฐานมาจากความยินยอมของประเทศต่างๆเป็ นกฎหมา
ยทีม่ ีลกั ษณะแตกต่างกับกฎหมายภายในประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศ แบ่งออกเป็ น 3 สาขา
1. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง ได้แก่
กฎหมายทีว่ า่ ด้วยความสัมพันธ์ระหว่างรัฐในฐานะทีร่ ฐั เป็ นนิตบิ ุคคล
แผนกนี้สว่ นใหญ่เป็ นเรือ ่ งความสัมพันธ์ทางการทูต การทาสนธิสญ ั ญา
และการทาสงคราม
2. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล เป็ นกฎหมาย
ทีบ
่ งั คับเกีย่ วกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทีเ่ ป็ นพลเมืองของรัฐในทาง
แพ่ง เช่นการสมรส การหย่า การได้สญ ั ชาติ การสูญเสียสัญชาติ เป็ นต้น
3. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา เป็ นกฎหมาย
ทีก่ าหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐในคดีอาญา
เมือ ่ พลเมืองของรัฐกระทาความผิดกฎหมายอาญา เช่น
การกาหนดอานาจทีจ่ ะบังคับและปฏิบตั ต ิ อ
่ ชาวต่างประเทศ

กฎหมายระหว่างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศ แบ่งออกเป็ น 3 สาขา ดังนี้
1.กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง ได้แก่
กฎหมายทีว่ า่ ด้วยความสัมพันธ์ระหว่างรัฐในฐานะทีร่ ฐั เป็ นนิตบ ิ ุคคล
แผนกนี้สว่ นใหญ่เป็ นเรือ ่ งความสัมพันธ์ทางการทูต การทาสนธิสญ ั ญา
และการทาสงคราม
2.กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล เป็ นกฎหมายทีบ ่ งั คับเกีย่ วกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทีเ่ ป็ นพลเมืองของรัฐในทางแพ่ง เช่นการสมรส การหย่า
การได้สญ ั ชาติ การสูญเสียสัญชาติ เป็ นต้น
3.กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา เป็ นกฎหมายทีก ่ าหนดความ
สัมพันธ์ระหว่างรัฐในคดีอาญา เมือ ่ พลเมืองของรัฐกระทาความผิดกฎหมายอาญา
เช่น การกาหนดอานาจทีจ่ ะบังคับและปฏิบตั ต ิ อ
่ ชาวต่างประเทศ
1.กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
1.รัฐ เป็ นบุคคลดัง้ เดิมหรือเป็ นบุคคลหลักในกฎหมายระหว่างประเทศรัฐเกิดขึน ้ โดย
องค์ประกอบทาง
ข้อเท็จจริงมีสท ิ ธิและหน้าทีท ่ ส
ี่ มบูรณ์ ตามกฎหมายระหว่างประเทศและมีความ
เท่าเทียมกันตามกฎหมายระหว่างประเทศ
2.องค์การ
ระหว่างประเทศเป็ นบุคคลลาดับรองในกฎหมายระหว่างประเทศเกิดขึน ้ โดยความตก
ลง ระหว่างรัฐ
มีความสามารถตามกฎหมายระหว่างประเทศทีจ่ ากัดภายในขอบเขตของความตกลง
ก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศนัน ้ ๆ
3.โดยทั่วไปแล้วปัจเจกชนไม่มีสท ิ ธิความรับผิดชอบและใช้สท ิ ธิในทางระหว่างประเ
ทศได้โดยตรงตาม กฎหมายระหว่างประเทศ
ยกเว้นในบางกรณีทม ี่ ีขอบเขตทีจ่ ากัดอย่างมาก
4.บรรษัทข้ามชาติไม่ได้รบ ั การยอมรับว่ามีสภาพเป็ นบุคคลในกฎหมายระหว่างประเ
ทศแต่มีสถานะเป็ นเพียงบุคคลตามกฎหมายภายในเท่านัน ้
รัฐ
1. รัฐมีหลัก 3 ประการ คือดินแดน ประชากร และรัฐบาล
คาจากัดความของรัฐเป็ นแนวความคิดทางรัฐศาสตร์มากกว่าทางนิตศ ิ าสตร์
เนื่องจากรัฐเกิดขึน ้ จากข้อเท็จจริงของการใช้อานาจดินแดนและประชากร
2. การรับรองรัฐ มีผลเสมือนเป็ นการประกาศว่ารัฐได้เกิดขึน ้ มาแล้ว
รัฐทีไ่ ด้รบ ั การรับรองจะมีความสามารถในการทานิตก ิ รรมระหว่างประเทศได้อย่าง
สมบูรณ์
3. การรับรองรัฐขึน ้ อยูก ่ บ
ั การใช้ดลุ พินิจของรัฐผูใ้ ห้การรับรอง
โดยคานึงถึงผลประโยชน์ของรัฐเป็ นสาคัญ
4. รัฐมีสท ิ ธิและหน้าทีเ่ ท่าเทียมกันตามกฎหมาย
หน้าทีท ี่ าคัญประการหนึ่งของรัฐคือ
่ ส
การไม่เข้าแทรกแซงต่อกิจการภายในของรัฐอืน ่
1. การสืบสิทธิของรัฐในส่วนทีเ่ กีย่ วกับสนธิสญ ั ญาตัง้ อยูบ่ นพื้นฐานของความประสง
ค์ของรัฐผูส ้ ืบสิทธิและการพิทกั ษ์ ผลประโยชน์ของรัฐทีส ่ าม
2. การสืบสิทธิของรัฐในเรือ ่ งอืน ่ ๆ
นาหลักของความยุตธิ รรม (equity) มาปรับใช้เพือ ่ แบ่งความรับผิดชอบ
รัฐอาจให้ความคุม ้ ครองทางการทูตต่อคนในชาติของตนได้เมือ ่
(1) คดีถงึ ทีส ่ ุดในศาลของรัฐผูร้ บ ั แล้ว
(2) การกระทาของรัฐผูร้ บ ั ทาให้เกิดผลเสียหายทางกระบวนการยุตธิ รรม
(3) ความผิดนัน ้ จะต้องปราศจากเจตนามิชอบ
(4) รัฐผูใ้ ห้ความคุม ้ ครองเป็ นผูใ้ ช้ดุลยพินิจพิจารณาว่าสมควรทีจ่ ะให้ความคุม ้ ครอง
ทางการทูตหรือไม่
(5) เป็ นการให้ความคุม ้ ครองแก่คนชาติของตนหรือแก่คนชาติอืน ่ ทีม
่ ีความตกลงกา
หนดให้รฐั นัน ้ เป็ นผูใ้ ห้ความคุม ้ ครองแทนได้
เขตแดนของรัฐ
1.เขต แดนเป็ นเครือ ่ งกาหนดขอบเขตของดินแดนทีอ ่ ยูภ ่ ายใต้อานาจอธิปไตยของรัฐ
กาหนดขอบเขตแห่งการมีสท ิ ธิและหน้าทีร่ ะหว่างประเทศของรัฐในความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ และแบ่งแยกอานาจของรัฐออกจากกันโดยเด็ดขาด
เว้นแต่กรณีทรี่ ฐั ต่างๆ
ได้แสดงเจตจานงในการให้ความร่วมมือระหว่างกันในกรอบของความร่วมมือทีไ่ ด้
ตกลงระหว่างกันไว้
เขตแดนจึงเป็ นทัง้ เครือ ่ งชี้แสดงและจากัดขอบเขตการใช้อานาจอธิปไตยของรัฐใน
ประชาคมระหว่างประเทศ
2.องค์ประกอบของดินแดนของรัฐ คือพื้นดิน ใต้ดอน น่ านน้าภายใน ทะเลอาณาเขต
และน่ านฟ้ าเหนือดินแดน น่ านน้าภายในและทะเลอาณาเขต
3.แม่ น้าลาคลอง ทะเลสาบ อ่าวและช่องแคบ
ก็เป็ นองค์ประกอบของเขตแดนของรัฐซึ่งอาจมีลกั ษณะเป็ นเขตแดนภายในของรัฐ
หรือเป็ นเจตแดนระหว่างประเทศได้
4.รัฐ ทีม ่ ีลกั ษณะเป็ นหมูเ่ กาะ ได้แก่ รัฐทีม ่ ีดน
ิ แดนประกอบไปด้วยเกาะหลายเกาะ
การกาหนดขอบเขตของเขตแดนของรัฐนัน ้ จึงแตกต่างจากการกาหนดขอบเขตของเ
ขตแดนของ รัฐทั่วไป รวมทัง้ การกาหนดน่ านน้า และทะเลอาณาเขตของเกาะด้วย
รัฐชายฝั่งทีม ่ ีลกั ษณะพิเศษทางภูมศ ิ าสตร์ก็จะได้รบ ั การกาหนดเขตแดนทีแ ่ ตก
ต่างจากหลักเกณฑ์ท่วั ไปด้วยเช่นกัน
5.การกาหนดเส้นเขตแดนของรัฐมีทง้ ั ทางบก ทางน้า และทางอากาศ
โดยมักจะอาศัยอุปสรรคทางภูมศ ิ าสตร์เป็ นแนวเขตแดน ได้แก่สน ั เขา สันปันน้า
แม่น้า ลาน้า ทะเลสาบ ซึง่ แบ่งแยกดินแดนของรัฐตามธรรมชาติ
ส่วนการกาหนดเส้นเขตแดนทางอากาศมักจะเป็ นน่ านฟ้ าเหนือขอบเขตอันเป็ นเส้นเ
ขต แดนทางพื้นดิน และทะเลอาณาเขต กล่าวคือน่ านฟ้ าเหนือพื้นดิน น่ านน้าภายใน
และทะเลอาณาเขต
6.ขัน ้ ตอนและวิธีการกาหนดเส้นเขตแดนกระทาโดยคณะกรรมการป้ องกันเขตแดน
คณะกรรมการกาหนดจุดพิกดั และคณะกรรมการปักหลักเขต
ซึง่ มักจะเป็ นคณะกรรมการผสมประกอบด้วยผูเ้ ชีย่ วชาญทางเทคนิคของภาคี
คูส
่ ญั ญา และอานาจหน้าทีข ่ องคณะกรรมการทัง้ สามจะเป็ นไปตามทีร่ ฐั ภาคีกาหนด
โดยทาให้การกาหนดเส้นเขตแดนเป็ นไปตามทีภ ่ าคีคส ู่ ญ
ั ญาได้ตกลงกันไว้
เขตอานาจรัฐ หมายถึงอานาจตามกฎหมายของรัฐเหนือบุคคล ทรัพย์สน ิ
หรือเหตุการณ์ ตา่ งๆ
1.เขตอานาจรัฐ อาจจาแนกตามเนื้อหาของอานาจได้เป็ น 2 ประเภทคือ
(1) เขตอานาจในการสร้างหรือบัญญัตก ิ ฎหมาย
(2) เขตอานาจในการบังคับการตามกฎหมาย
2.การ ใช้เขตอานาจย่อมเป็ นไปตามกฎหมายภายในของรัฐ
แต่ทง้ ั นี้ตอ
้ งอยูภ ่ ายในขอบเขตของกฎหมายระหว่างประเทศด้วย กล่าวคือ
รัฐสามารถใช้เขตอานาจของตนเหนือบุคคล ทรัพย์สน ิ หรือเหตุการณ์ ตา่ งๆ
ตามกฎหมายภายใน โดยมีการเชือ ่ มโยงบางประการ
ซึง่ กฎหมายระหว่างประเทศรับรอง
3.เขตอานาจของรัฐมีมูลฐานมาจากหลักการสาคัญ 5 ประการ ได้แก่
(1) หลักดินแดน Territorial Principle
(2) หลักสัญชาติ National Principle
(3) หลักผูถ ้ ูกกระทา Passive Personality Principle
(4) หลักป้ องกัน Protective Principle
(5) หลักสากล Universality
Principle ซึ่งแต่ละหลักการดังกล่าวมีสาระสาคัญทีส ่ นับสนุ นการใช้เขตอานาจรัฐด้ว
ยเหตุผลทีแ ่ ตกต่างกัน
เขตแดนของรัฐ
1.เขต แดนเป็ นเครือ ่ งกาหนดขอบเขตของดินแดนทีอ ่ ยูภ
่ ายใต้อานาจอธิปไตยของรัฐ
กาหนดขอบเขตแห่งการมีสท ิ ธิและหน้าทีร่ ะหว่างประเทศของรัฐในความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ และแบ่งแยกอานาจของรัฐออกจากกันโดยเด็ดขาด
เว้นแต่กรณีทรี่ ฐั ต่างๆ
ได้แสดงเจตจานงในการให้ความร่วมมือระหว่างกันในกรอบของความร่วมมือทีไ่ ด้
ตกลงระหว่างกันไว้
เขตแดนจึงเป็ นทัง้ เครือ ่ งชี้แสดงและจากัดขอบเขตการใช้อานาจอธิปไตยของรัฐใน
ประชาคมระหว่างประเทศ
2.องค์ประกอบของดินแดนของรัฐ คือพื้นดิน ใต้ดอน น่ านน้าภายใน ทะเลอาณาเขต
และน่ านฟ้ าเหนือดินแดน น่ านน้าภายในและทะเลอาณาเขต
3.แม่ น้าลาคลอง ทะเลสาบ อ่าวและช่องแคบ
ก็เป็ นองค์ประกอบของเขตแดนของรัฐซึ่งอาจมีลกั ษณะเป็ นเขตแดนภายในของรัฐ
หรือเป็ นเจตแดนระหว่างประเทศได้
4.รัฐ ทีม่ ีลกั ษณะเป็ นหมูเ่ กาะ ได้แก่ รัฐทีม ่ ีดน
ิ แดนประกอบไปด้วยเกาะหลายเกาะ
การกาหนดขอบเขตของเขตแดนของรัฐนัน ้ จึงแตกต่างจากการกาหนดขอบเขตของเ
ขตแดนของ รัฐทั่วไป รวมทัง้ การกาหนดน่ านน้า และทะเลอาณาเขตของเกาะด้วย
รัฐชายฝั่งทีม ่ ีลกั ษณะพิเศษทางภูมศ ิ าสตร์ก็จะได้รบ ั การกาหนดเขตแดนทีแ ่ ตก
ต่างจากหลักเกณฑ์ท่วั ไปด้วยเช่นกัน
5.การ กาหนดเส้นเขตแดนของรัฐมีทง้ ั ทางบก ทางน้า และทางอากาศ
โดยมักจะอาศัยอุปสรรคทางภูมศ ิ าสตร์เป็ นแนวเขตแดน ได้แก่สน ั เขา สันปันน้า
แม่น้า ลาน้า ทะเลสาบ ซึง่ แบ่งแยกดินแดนของรัฐตามธรรมชาติ
ส่วนการกาหนดเส้นเขตแดนทางอากาศมักจะเป็ นน่ านฟ้ าเหนือขอบเขตอันเป็ นเส้นเ
ขต แดนทางพื้นดิน และทะเลอาณาเขต กล่าวคือน่ านฟ้ าเหนือพื้นดิน น่ านน้าภายใน
และทะเลอาณาเขต
6.ขัน ้ ตอนและวิธีการกาหนดเส้นเขตแดนกระทาโดยคณะกรรมการป้ องกันเขตแดน
คณะกรรมการกาหนดจุดพิกดั และคณะกรรมการปักหลักเขต
ซึง่ มักจะเป็ นคณะกรรมการผสมประกอบด้วยผูเ้ ชีย่ วชาญทางเทคนิคของภาคีคส ู่ ญ
ั ญา
และอานาจหน้าทีข ่ องคณะกรรมการทัง้ สามจะเป็ นไปตามทีร่ ฐั ภาคีกาหนด
โดยทาให้การกาหนดเส้นเขตแดนเป็ นไปตามทีภ ่ าคีคส
ู่ ญ
ั ญาได้ตกลงกันไว้
องค์การระหว่างประเทศ
1.สภาพ
บุคคลตามกฎหมายระหว่างประเทศขององค์การระหว่างประเทศอาจปรากฏโดยชัดแ
จ้งใน เอกสารก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศหรือโดยนัยจากเอกสารก่อตัง้ องค์การ
ระหว่างประเทศและถูกทาให้ชดั เจนและมั่นคงขึน ้ (Consolidated)
โดยทางปฏิบตั ข ิ ององค์การระหว่างประเทศนัน ้ เอง
2.ความ
สามารถในการกระทาตามกฎหมายระหว่างระเทศขององค์การระหว่างประเทศแต่ละ
องค์การ อาจไม่เท่าเทียมกัน
โดยขึน ้ อยูก
่ บ
ั ความตกลงก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศนัน ้ ๆ
หรือบางกรณีอาจเป็ นผลมาจากการมีอานาจโดยปริยาย
และการตีความความตกลงก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศนัน ้ เอง
3.องค์การระหว่างประเทศมีความรับผิดชอบตามกฎหมายระหว่างประเทศ
หากกระทาการละเมิดพันธกรณีตามกฎหมายระหว่างประเทศ
ตัวอย่างคดีเมือง
“คดีการเมือง” คดี นายปิ่ น จักกะพาก นัน ้
คงจากันได้วา่ ทางการไทยได้รอ้ งขอไปยังทางการอังกฤษเพือ ่ ให้สง่ ตัวเป็ น
ผูร้ า้ ยข้ามแดนมายังประเทศไทย
โดยกล่าวหาว่านายปิ่ นกระทาความผิดอาญาในประเทศไทยรวม 45 ข้อหา
โดยนายปิ่ นถูกจับตัวใน กรุงลอนดอนเมือ ่ วันที่ 11 ธันวาคม 2542
และถูกนาตัวขึน ้ ดาเนินคดีสง่ ผูร้ า้ ยข้ามแดนทีศ ่ าลแขวง Bow Street
Magistrates” Court นาย ปิ่ นได้ตอ ่ สูค ้ ดี
และได้รบ ั การปล่อยตัวชั่วคราวโดยมีประกันศาลแขวงดังกล่าวได้ไต่สวนพยานหลัก
ฐานทัง้ สองฝ่ ายแล้วได้มีพพ ิ ากษาเมือ ่ วันที่ 7 มีนาคม 2544
ว่านายปิ่ นมีความผิดเพียง 7 ข้อหา
จึงพิพากษาให้สง่ ตัวนายปิ่ นเป็ นผูร้ า้ ยข้ามแดนให้แก่ทางการไทย แต่
นายปิ่ นได้อุทธรณ์ คาพิพากษาต่อศาลสูง โดยศาลสูงได้วน ิ ิจฉัยคดีท ง้ ั 7
ข้อหาโดยละเอียดว่าโจทก์มีพยานหลักฐานเพียงพอทีจ่ ะรับฟังได้หรือไม่วา่ จาเลย
ได้กระทาความผิดตามข้อกล่าวหาของรัฐบาลไทย ท้ายสุดศาลสูงได้
มีคาพิพากษาเมือ ่ วันที่ 27 กรกฎาคม 2544
โดยพิพากษากลับคาพิพากษาของศาลแขวง
ยกฟ้ องคดีทุกข้อหาและปล่อยตัวนายปิ่ นพ้นข้อหาไป โดยศาลได้
วินิจฉัยในประเด็นสาคัญว่าโจทก์ไม่มีพยานหลักฐานใดๆ
บ่งชี้หรือสนับสนุนข้อพิสูจน์ได้วา่ นายปิ่ นกระทาการโดยมีเจตนาทุจริตตามข้อ
กล่าวหา
และยังไม่มีพยานหลักฐานเพียงพอทีค ่ ณะผูพ้ พ
ิ ากษาจะวินิจฉัยลงโทษนายปิ่ นได้
กรณี ของนายปิ่ นไม่เป็ นความผิดตามกฎหมายอังกฤษ
เพราะสัญญาส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนระหว่างไทยกับอังกฤษนัน ้
จะต้องพิสูจน์ให้ได้วา่ ข้อกล่าวหาในความผิดของนายปิ่ นตามทีท ่ างการไทยกล่าว
อ้างนัน ้ หากเกิดขึน ้ ในประเทศอังกฤษจะเป็ นความผิดตามกฎหมายอังกฤษหรือไม่
(Double
Criminality) แต่ปรากฏว่าพยานหลักฐานของฝ่ ายไทยยังไม่เพียงพอทีจ่ ะพิสูจน์ ได้ว่
าการกระทา ของนายปิ่ นผิดต่อกฎหมายอังกฤษด้วย
ซึง่ คดีดงั กล่าวได้ถงึ ทีส
่ ุดแล้วและรัฐบาลไทยไม่สามารถนาตัวนายปิ่ นมาดาเนิน
คดีทป ี่ ระเทศไทยได้จนบัดนี้
ต่าง ประเทศทีจ่ ะนามาบังคับใช้
แต่ถา้ หากเนื้อหากฎหมายต่างประเทศนัน ้ ไม่สอดคล้องกับความสงบเรียบร้อยหรือ
ศีลธรรมแล้ว
ศาลก็จะไม่พงึ นาเอากฎหมายนัน ้ มาใช้บงั คับซึง่ กฎหมายทีเ่ กีย่ วพันกับความสงบ
เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีงามของประชาชนตามกฎหมายภายในมีอยู่ 2 ลักษณะคือ

อย่าง ไรก็ตาม การตีความในคาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ


ในกรณีเกีย่ วกับอนุสญ ั ญาความหลากหลายทางชีวภาพเมือ ่ ปลาย พ.ศ. 2543
ซึง่ ให้ความหมายอย่างกว้างกับคาว่า เขตอานาจแห่งรัฐ
ให้หมายถึงขอบเขตหรือสารัตถะของอานาจรัฐ
อันจะทาให้เกิดความยุง่ ยากขึน ้ ในทางปฏิบตั ใิ นอนาคต
เนื่องจากจะทาให้การทาสนธิสญ ั ญาทัง้ ปวง
ซึง่ ในทุกกรณี มีผลเปลีย่ นแปลงหรือจากัดอานาจรัฐ
ต้องผ่านความเห็นชอบจากฝ่ ายนิตบ ิ ญ
ั ญัตอ ิ ย่างไม่มีขอ
้ ยกเว้น
แนวทางปฏิบตั ข ิ องศาลไทยเกีย่ วกับการปรับใช้กฎหมายระหว่างประเทศ
สาหรับ ทางปฏิบตั ข ิ องประเทศไทยในเรือ ่ งนี้ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2540 โดยหลักการแล้ว
ในกรณีทเี่ ป็ นกฎหมายระหว่างประเทศทีอ ่ ยูใ่ นรูปของสนธิสญ ั ญา
ระบบกฎหมายไทยจะเป็ นไปในทิศทางเดียวกับแนวคิดและทฤษฎีของ “สานักทวินิย
ม” กล่าว
คือถ้ายังไม่มีกฎหมายรองรับการนาเอากฎหมายระหว่างประเทศมาปรับใช้ในประเท
ศ ไทย จะต้องผ่านกระบวนการรับเอาเสียก่อน
ซึง่ อาจจะกระทาได้โดยการออกกฎหมายอนุวตั รการ
โดยการแปรรูปให้เป็ นกฎหมายในประเทศ
หรือแก้ไขกฎหมายทีม ่ ีอยูใ่ ห้ครอบคลุมถึงข้อตกลงทัง้ หมดในสนธิสญ ั ญานัน
้ ก็ได้
โดยทางปฏิบตั จิ ริง
ในบางกรณีองค์กรของรัฐฝ่ ายตุลาการหรือฝ่ ายบริหารอาจจะนามาใช้บงั คับโดยตรง
โดยยังไม่มีกฎหมายรองรับหรือมีกฎหมายอนุวตั รการ เมือ ่ มีความจาเป็ นของรัฐ
(raison d’Etat) ทีจ่ ะต้องปฏิบตั ต ิ ามพันธกรณีในสนธิสญ ั ญานัน ้ ๆ
หรือเมือ ่ ลักษณะของข้อตกลงในสนธิสญ ั ญากาหนดและปักปันเขตแดน
สนธิสญ ั ญาการบินพลเรือน หรือสนธิสญ ั ญาทีใ่ ห้สท ิ ธิแก่รฐั เช่น
ในเรือ่ งการกาหนดอาณาเขตทางทะเลเป็ นต้น
2.กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
หมาย ความถึง
กฎเกณฑ์ทใี่ ช้ในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนต่อเอกชนทีม ่ ีจุดนิตส
ิ ม
ั พันธ์กบ

กฎหมายหลายระบบในความสัมพันธ์ทางแพ่งและพาณิชย์
รวมตลอดถึงกฎเกณฑ์ทก ี่ าหนดสิทธิและหน้าทีข ่ องคนต่างด้าวในดินแดนของรัฐอีก
รัฐหนึ่ง
บ่อเกิดกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
1. บ่อเกิดหรือทีม ่ าจากภายในประเทศ ได้แก่ กฎหมายลายลักษณ์ อกั ษร ได้แก่
1.1 เกีย่ วกับการแบ่งสรรเอกชนระหว่างประเทศ เช่น พรบ.สัญชาติ
พ.ศ. 2508, ปพพ.เรือ ่ งภูมลิ าเนา และถิน ่ ทีอ
่ ยู่, พรบ.ว่าด้วยการขัดกันของกฎหมาย
เป็ นต้น
1.2 สิทธิและฐานะคนต่างด้าว มีกฎหมายเกีย่ วข้องหลายฉบับทัง้ ทางตรงและอ้อม
เช่น พรบ.การทางานของคนต่างด้าว, พรบ.เรือไทย
พ.ศ. 2481, พรบ.ทะเบียนคนต่างด้าว, ประมวลทีด ่ น
ิ พ.ศ. 2497 เป็ นต้น
1.3 เกีย่ วกับการขัดกันของกฎหมาย มีพรบ.ทีเ่ กีย่ วข้อง
คือ พรบ.ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย, ปวพ. ม.4, 7, 34, พรบ.ล้มละลาย
2. บ่อเกิดหรือทีม ่ าระหว่างประเทศ ได้แก่ ข้อตกลงกันระหว่างรัฐ
อาจทาเป็ นสนธิสญ ั ญา เช่น อนุสญ ั ญากรุงเฮก ว่าด้วยสัญชาติ
ค.ศ. 1896, อนุสญ ั ญาว่าด้วยวิธีพจิ ารณาความแพ่ง
ค.ศ. 1905,อนุสญ ั ญาว่าด้วยการสมรส ค.ศ. 1902, การคุม ้ ครองคนต่างด้าว
ตามมาตรฐานสากล, ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ของสหประชาชาติ
ค.ศ. 1942 กฎหมายประเพณีระหว่างประเทศ
เช่น หลักเรือ ่ งสังหาริมทรัพย์เคลือ ่ นทีต ่ ด ิ ตามบุคคล,กฎหมายทีอ่ ยูใ่ นรูปจารีตประเพ
ณีการค้าระหว่างประเทศ, คาพิพากษาระหว่างประเทศ ของศาลประเทศต่างๆ
เช่นคดีโนตเตอโบม เกีย่ วกับสัญชาติของบุคคล ระหว่างชาติลเิ คนสไตน์
กับกัวเตมาลา คดีบาร์เซโลน่ า
ค.ศ. 1970 เรือ ่ งสัญชาตินิตบ ิ ุคคลระหว่างเบลเยีย่ มกับสเปน,คดีเกีย่ วกับอนุสญ ั ญากรุ
งเฮก ค.ศ. 1902 เกีย่ วกับเรือ ่ งผูพ้ ทิ กั ษ์ ผเู้ ยาว์ ระหว่างสวีเดนกับเนเธอร์แลนด์
ค.ศ. 1958
ขอบข่ายของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล มีขอบข่าย ครอบคลุม
ถึงเรือ ่ งสาคัญอยู่ 4 เรือ ่ งด้วยกัน
1) การแบ่งสรรเอกชนระหว่างประเทศ หมายความถึง
การจาแนกเอกชนว่าควรจะสังกัดอยูใ่ นรัฐใดและจะใช้เครือ ่ งมืออะไรในการจาแนก
เอกชนดังกล่าว ดังนัน ้ สัญชาติก็ดี ภูมลิ าเนาก็ดี ถิน ่ ทีอ
่ ยูก่ ็ดี
จึงเป็ นองค์ประกอบทีเ่ ป็ นจุดเกีย่ วพันกับระบบกฎหมายภายใน
2) สิทธิและฐานะของคนต่างด้าว เป็ นเรือ ่ งทีเ่ กีย่ วกับการคุม ้ ครองคนต่างด้าว
ฐานะของคนต่างด้าวในฐานะของกฎหมายภายในของแต่ละรัฐ
สิทธิของคนต่างด้าวกาหนดโดยกฎหมายภายในและกฎหมายสนธิสญ ั ญา
3) การขัดกันแห่งกฎหมาย
เป็ นหัวใจของการศึกษากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
การขัดกันแห่งกฎหมายเป็ นเรือ ่ งกฎเกณฑ์ทช ี่ ว่ ยหากฎหมายทีจ่ ะนามาใช้บงั คับกับ
คดี เมือ ่ คดีนน ้ ั มีจุดนิตส ิ ม
ั พันธ์กบั กฎหมายหลายระบบ
4.การ พิจารณาแผนกเอกชนระหว่างประเทศ เป็ นเรือ ่ งๆ
หนึ่งในกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลซึง่ มีประเด็นสาคัญอยูส ่ องประเด็น
คือ ประเด็นทีเ่ กีย่ วกับการขัดกันแห่งอานาจศาล
กับการยอมรับคาพิพากษาของศาลต่างประเทศบ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศ
แผนก คดีบุคคล
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล ประกอบด้วย
-การได้สญ ั ชาติและการถอนสัญชาติโดยการเกิด -ความสามารถ
-การได้สญ ั ชาติและการถอนสัญชาติภายหลังการเกิด -แบบแห่งนิตก ิ รรม
-สัญชาติของบุคคล -หนี้
-ทฤษฎียอ ้ นส่ง -การขัดกันแห่งกฎหมาย
-เขตอานาจศาลไทย
ความจาเป็ นของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล ในระบบกฎหมายปัจจุบน ั
1. หลักเรือ ่ งการมีอธิปไตยของแต่ละรัฐ นิยามของว่ารัฐ คือ
รัฐแต่ละรัฐต้องมีลกั ษณะ ดังนี้ คือ
1) มีอธิปไตย เป็ นของตนเอง
ซึง่ แต่ละรัฐย่อมมีความเท่าเทียมและเสมอภาคกันระหว่างรัฐ
2) มีดลุ อานาจเหนือดินแดนและเหนือประชากรของตน
3) มีสท ิ ธิขาดในการเสนอกฎหมายและบังคับใช้กฎหมายเหนือดินแดนและประชากร
ของตน ตามวิถีชีวต ิ ขนบธรรมเนียมประเพณี และสภาพอันเหมาะสมของตน
2. ความสัมพันธ์กน ั ระหว่างรัฐ ปัจจุบน ั ไม่มีรฐั ใดทีอ ่ ยูโ่ ดดเดีย่ วรัฐเดียวในโลก
เมือ ่ มีความสัมพันธ์กน ั กับรัฐอืน่ ไม่วา่ จะเป็ นระหว่างรัฐกับรัฐหรือกับ
องค์กรระหว่างประเทศ หรือกับเอกชนก็ตาม ย่อมเกิดความสัมพันธ์ระหว่างกันขึน ้
ในความสัมพันธ์นน ้ ั ย่อมต้องนากฎหมายมาใช้ ความจาเป็ นนี้คอ ื
เมือ ่ รัฐแต่ละรัฐมีลกั ษณะเฉพาะตัว นิตส ิ มั พันธ์ดงั กล่าวจะบังคับกันอย่างไร
ดัง นัน ้ ในแต่ละรัฐต้องจาต้องมีกฎเกณฑ์เพือ ่ แก้ปญ ั หาดังกล่าวนี้
เพือ ่ ให้ศาลสามารถนาเอากฎหมายของประเทศอืน ่ มาใช้บงั คับแก่คดีทม ี่ ีองค์
ประกอบต่างชาติ ทีก ่ าลังฟ้ องอยูใ่ นศาลของตน
เรียกกฎเกณฑ์นี้วา่ “กฎเกณฑ์วา่ ด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย” (conflict of
law) เป็ นหัวใจสาคัญของกฎหมายระหว่างประเทศ
วิวฒ ั นาการ
ของวิธีการแก้ไขการขัดกันแห่งกฎหมายก่อนยุคทีจ่ ะมีทฤษฎีของการขัดกันแห่ง
กฎหมาย ครัง้ โบราณมนุษย์ได้รวมกันขึน ้ เป็ นชุมชนแต่ยงั มิได้กอ ่ ตัง้ เป็ นรัฐ
หากแต่อยูร่ วมกันเป็ นหมูเ่ ป็ นเหล่า มีจารีตประเพณี ความเป็ นอยู่ วัฒนธรรม
ศาสนาเป็ นของตนเอง
ซึง่ จากข้อเท็จจริงนี้ทาให้เห็นว่าสมาชิกของชุมชนใดย่อมต้องอยูภ ่ ายใต้ขอ ้
บังคับแห่งชุมชนนัน ้ ประกอบด้วย
ข้อเท็จจริงในคดีกบ ั คาร้องขอของคูค ่ วามโดยอ้างตัวบทกฎหมายประกอบ
แต่กอ ่ นทีศ ่ าลจะวินิจฉัยคดี
ศาลจึงต้องพิจารณาเสียก่อนว่าข้อกฎหมายทีผ ่ เู้ ป็ นฝ่ ายในคดีกล่าวอ้างขึน ้ มา
นัน ้ มีความถูกต้องเพียงใดกับข้อเท็จจริงในข้อทีก ่ ล่าวอ้าง
1. การให้ลกั ษณะกฎหมายแก่ขอ ้ เท็จจริง
การให้ลกั ษณะกฎหมายแก่ขอ ้ เท็จจริงในกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล ห
มายความว่า
ถ้านิตส ิ ม
ั พันธ์ใดมีความเกีย่ วพันกับระบบกฎหมายหลายระบบหรือทีเ่ รียกว่านิติ
สัมพันธ์นน ้ ั มีองค์ประกอบต่างชาติ ศาลจาต้องให้ลกั ษณะข้อกฎหมายแก่ขอ ้ เท็จจริง
ว่าข้อเท็จจริงนัน ้ ๆ จะสังกัดอยูใ่ นปัญหากฎหมายประเภทใด
สาหรับวิธีการแก้ไขการขัดกันแห่งกฎหมายในส่วนที่
เกีย่ วกับการให้ลกั ษณะกฎหมายแก่ขอ ้ เท็จจริงนัน ้ มีวธิ ีการอยู่ 3 ประการคือ
1) การให้ลกั ษณะแก่ขอ ้ เท็จจริง
โดยการใช้กฎหมายของประเทศทีศ ่ าลซึง่ พิจารณาพิพากษาคดีตง้ ั อยู่
2) การให้ลกั ษณะกฎหมายแก่ขอ ้ เท็จจริงโดยการใช้กฎหมายของประเทศทีจ่ ะใช้บงั คั
ลแก่คดีน่ น ั เอง
3) การให้ลกั ษณะกฎหมายแก่ขอ ้ เท็จจริงโดยการใช้แนวความคิดแห่งหลักสากลของ
กฎหมาย
2. การย้อนส่ง การย้อนส่งในกฎหมายระหว่างประเทศ คือ “การ
ทีบ ่ ทบัญญัตข ิ องกฎหมายว่าด้วยการขัดกันแห่งประเทศหนึ่ง
กาหนดให้ใช้กฎหมายของอีกประเทศหนึ่ง
แต่กฎหมายของประเทศหลังนี้ยอ ้ นส่งกลับมาให้ใช้กฎหมายของประเทศแรกหรือย้อ
น ส่งไปให้ใช้กฎหมายของประเทศทีส ่ ามบังคับแก่กรณี ”
การย้อนส่ง จาแนกออกได้เป็ นสองประเภทคือ
การย้อนส่งกลับ หมายความถึง
่ ลักเกณฑ์แห่งการขัขดั กันแห่งกฎหมายประเทศหนึ่งบัญญัตใิ ห้ใช้กฎหมายภา
การทีห
ยในของอีกประเทศหนึ่ง แต่หลักเกณฑ์แห่งการขัดกันของกฎหมายประเทศหลังนี้ให้
ใช้กฎหมายของประเทศแรก
การย้อนส่งต่อไป หมายความถึง
การทีห่ ลักเกณฑ์แห่งการขัดกันแห่งกฎหมายประเทศหนึ่ง
บัญญัตใิ ห้ใช้กฎหมายภายในของอีกประเทศหนึ่ง
แต่หลักเกณฑ์แห่งการขัดกันของกฎหมายประเทศหลังนี้ให้ใช้กฎหมายของประเทศที่
สาม ข้อจากัดของการนาเอากฎหมายต่างประเทศมาใช้บงั คับ

ศาลทีม ่ ีอานาจในการพิจารณาคดีเมือ ่ ได้พลิกดูหลักเกณฑ์แห่งการขัดกันแห่งกฎหมา


ยแล้วก็จะทราบถึงกฎหมาย(มีตอ ่ )
3.กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา ประกอบด้วย
- ความผิดตามกฎหมายระหว่างประเทศ
- การส่งผูร้ า้ ยข้ามแดน
แนวคิดเกีย่ วกับการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดน
ปัจจุบน ั ลักษณะของการก่ออาชญากรรมมีความสลับซับซ้อนขึน ้ เรือ่ ยๆ
ส่งผลให้การกระทาความผิดต่างๆสามารถทีจ่ ะกระทาข้ามพรมแดนระหว่างประเทศส
อง ประเทศหรือมากกว่านัน ้
ปัญหาคือหากผูก ้ ระทาความผิดในประเทศหนึ่งแล้วหลบหนี ไปอยูอ ่ าศัยหรือไปหลบ
ซ่อนยังอีกประเทศหนึ่ง
ประเทศผูเ้ สียหายย่อมไม่มีทางทีจ่ ะดาเนินคดีความผิดอาญากับบุคคลดังกล่าวได้
เพราะการทีป ่ ระเทศผูเ้ สียหายจะเข้าไปจับกุมผูก ้ ระทาความผิดในประเทศอืน ่
เพือ ่ มาดาเนินคดี ก็เป็ นการล่วงละเมิดอานาจอธิปไตยของประเทศอืน ่ ๆนัน

ขณะเดียวกันหลักทั่วไปทีถ ่ ือเป็ นเงือ่ นไขสาคัญในการดาเนินคดีอาญา คือ
การนาตัวบุคคลผูก ้ ระทาความผิดมาปรากฏตัวต่อศาล
เพราะการฟ้ องคดีอาญานัน ้ ศาลไม่อาจพิพากษาลงโทษคดีอาญาแก่บุคคลผูไ้ ม่มาปรา
กฏ ตัวต่อศาลหรือพิพากษาไปเพียงฝ่ ายเดียวอย่างเช่นในคดีแพ่งได้
เพราะฉะนัน ้ วิธีการทีด
่ ที สี่ ุดในการเยียวยาปัญหาทีเ่ กิดขึน ้ คือ
ความร่วมมือของประเทศทัง้ สองประเทศดังกล่าว
โดยประเทศผูเ้ สียหายนัน ้ จะต้องทาการร้องขอไปยังประเทศทีผ ่ ู้กระทาความผิด
นัน ้ ไปอาศัยหรือหลบซ่อนอยู่
ให้ดาเนินการส่งตัวบุคคลดังกล่าวมาเพือ ่ ดาเนินคดีอาญา
และลงโทษตามกฎหมายของประเทศผูเ้ สียหาย
ซึง่ ความร่วมมือระหว่างประเทศทางอาญานี้เรียกว่า “การส่งผูร้ า้ ยข้ามแดน”
วัตถุประสงค์ของการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดน
การ
ส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนเป็ นความร่วมมือทางกฎหมายระหว่างประเทศเพือ ่ ประโยชน์ในการ
ป้ องกันและปราบปรามอาชญากรรม
โดยจัดส่งผูท ้ ก ี่ ระทาความผิดหรือถูกกล่าวหาว่ากระทาความผิดและหลบหนีไปยัง
ประเทศอืน ่ คืนไปยังประเทศทีค ่ วามผิดเกิดขึน ้
ซึง่ เป็ นกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา
ตามปกติการกระทาความผิดนัน ้ จะต้องกระทาขึน ้ ในเขตอานาจศาลของประเทศทีร่ อ้
งขอ
และบุคคลผูก ้ ระทาผิดได้หลบหนีมาอยูใ่ นเขตอานาจศาลของประเทศทีร่ บ ั คาร้องขอ
และการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนจะต้องเป็ นการร้องขอโดยผ่านพิธีการทางการทูต
ผูท้ อี่ าจถูกส่งเป็ นผูร้ า้ ยข้ามแดนได้
1. ผูก ้ ระทาความผิดเป็ นบุคคลในสัญชาติของประเทศผูร้ อ้ งขอ
กรณีนี้ถือเป็ นหลักสากลทีท ่ ่วั โลกยอมรับให้มีการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนกันได้เสมอ เช่น
คนไทยทาความผิดอาญาในประเทศไทยแล้วหลบหนี้ไปอยูใ่ นสหรัฐอเมริกาประเทศไ
ทยก็ ขอให้สหรัฐอเมริกาส่งตัวคนไทยผูน ้ ี้ขา้ มแดนมาเพือ ่ พิจารณาคดีหรือเพือ ่ รับ
โทษตามคาพิพากษาของศาลไทยในประเทศไทยได้
การทีป ่ ระเทศผูร้ อ้ งขอต้องการบุคคลสัญชาติของตนเอง
ประเทศผูร้ บ ั คาขอก็จะอนุญาตให้สง่ ผูร้ า้ ยข้ามแดนตามคาขอเสมอ
2. ผู้ กระทาผิดเป็ นบุคคลในสัญชาติของประเทศผูร้ บ ั คาขอ
เป็ นกรณี ทบ ี่ ุคคลในสัญชาติของประเทศหนึ่งกระทาความผิดแล้วหลบหนี้กลับไปยัง
ประเทศของตน
ตามหลักทั่วไปประเทศเจ้าของสัญชาติผก ู้ ระทาความผิดจะไม่ยอมส่งตัวผูก ้ ระทา
ความผิดนัน ้ กลับไปให้ประเทศอืน ่ พิจารณาพิพากษาคดี
โดยยึดถือหลักทีว่ า่ “ไม่ยอมส่งคนสัญชาติตนข้ามแดนให้ประเทศอืน ่ ” ก็
สามารถกระทาได้ เช่น คนไทยไปกระทาความผิดทางอาญา ณ
ประเทศฟิ ลิปปิ นส์แล้วหลบหนีกลับมายังประเทศไทย
ประเทศไทยจะไม่สง่ คนไทยผูน ้ ี้ขา้ มแดนเพือ ่ ไปให้ศาลฟิ ลิปปิ นส์พจิ ารณาพิพากษา
คดีก็กระทาได้
3. ผูก ้ ระทาความผิดเป็ นบุคคลในสัญชาติของประเทศทีส ่ าม
ในกรณี นี้ตามธรรมเนียมปฎิบตั ริ ะหว่างประเทศ
ประเทศผูร้ บ ั คาร้องขอจะต้องแจ้งให้ประเทศทีส ่ ามทีเ่ ป็ นเจ้าของสัญชาติผู้
กระทาผิดทราบเสียก่อนทีจ่ ะดาเนินการขัน ้ ต่อไป
เพือ ่ รักษาสัมพันธไมตรีอน ั ดีงามระหว่างประเทศ ซึง่ ในทาง
ปฏิบตั ป ิ ระเทศเจ้าของสัญชาติผก ู้ ระทาความผิดก็จะสอบถามข้อเท็จจริงแห่งคดี
แต่ไม่อาจห้ามมิให้ประเทศผูร้ บ ั คาขอส่งตัวข้ามแดนได้
ความผิดทีส ่ ง่ ผูร้ า้ ยข้ามแดนได้
ความ ผิดทีจ่ ะถึงขนาดทีจ่ ะนามาซึง่ การส่งตัวข้ามแดนนัน ้
ต้องเป็ นความผิดทางอาญาทีม ่ ีโทษทางตามกฎหมายให้ลงโทษประหารชีวต ิ จาคุก
หรือทาให้ปราศจากเสรีภาพเป็ นระยะเวลาเกินกว่า 1 ปี
ตามกฎหมายทัง้ ในประเทศผูร้ อ้ งขอให้สง่ ตัวผูร้ า้ ยข้ามแดนและประเทศผูร้ บ ั คา
ร้องขอ และความผิดนัน ้ จะต้องไม่ขาดอายุความตามกฎหมายของประเทศทีร่ อ้ งขอ
ประการสาคัญคือความผิดนัน ้ ต้องไม่ใช่ความผิดทางการเมือง
หรือความผิดทีเ่ กีย่ วกับศาสนา
องค์กรตุลาการระหว่างประเทศ มีอยู่ ๒ องค์กร ดังนี้
1. ศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศ หรือ ศาลโลก (International Court of Justice:
ICJ)
ศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice:
ICJ) หรือทีเ่ รียกกันโดยทั่วไปว่า “ศาลโลก” จัด ตัง้ ขึน ้ ตามหมวด ๑๔
ของกฎบัตรสหประชาชาติ ลงวันที๒ ่ ๖ มิถุนายน ๑๙๔๕ โดยมาตรา ๙๒๒
ของกฎบัตรสหประชาชาติกาหนดให้ศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศ
เป็ นองค์การตุลาการใหญ่แห่งสหประชาชาติ และมาตรา ๙๓๓
กาหนดพันธกรณีของสมาชิก
สหประชาชาติวา่ ต้องเป็ นภาคีของธรรมนูญจัดตัง้ ศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศ (Stat
ute of the International Court of Justice)
รัฐ ทีม ่ ใิ ช่สมาชิกแห่งสหประชาชาติอาจเป็ นภาคีในธรรมนูญศาลยุตธิ รรมระหว่าง
ประเทศได้ตามเงือ่ นไขทีส ่ มัชชาทั่วไปจะกาหนดเป็ นราย
ๆไปตามข้อเสนอแนะนาของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ และมาตรา
๙๔๔ กาหนดพันธกรณีของสมาชิกสหประชาชาติวา่
สมาชิกสหประชาชาติรบ ั ทีจ่ ะปฏิบตั ต ิ ามคาพิจารณาตัดสินของศาลยุตธิ รรมระหว่าง
ประเทศในทุกคดีทต ี่ นเป็ นคูก ่ รณี
หากคูก ่ รณี ในคดีหนึ่งคดีใดไม่ปฏิบตั ต ิ ามพันธกรรมอันเป็ นหน้าทีข ่ องตนโดยคา
พิพากษาของศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศ
คูก่ รณี อีกฝ่ ายหนึ่งอาจร้องเรียนต่อไปยังคณะมนตรีความมั่นคงได้
และถ้าคณะมนตรีความมั่นคงเห็นว่าจาเป็ น
ก็จะเสนอคาแนะนาหรือตกลงถึงวิธีการต่าง ๆ
ทีจ่ ะปฏิบตั เิ พือ
่ ให้สาเร็จผลตามคาพิพากษานัน ้ ศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศถือ
เป็ นองค์กรหลักเพียงองค์กรเดียวของสหประชาชาติทม ี่ ไิ ด้ตง้ ั อยูใ่ นทีต่ ง้ ั ของ
องค์การสหประชาชาติทม ี่ ลรัฐนิวยอร์ค
สหรัฐอเมริกาโดยศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศนัน ้ ตัง้ อยูท ่ ก
ี่ รุงเฮก
ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ศาลนี้ประกอบด้วยผูพ ้ พ
ิ ากษา ๑๕ คน
ซึง่ เลือกโดยทีป ่ ระชุมใหญ่สมัชชาแห่งสหประชาชาติและมีวาระการดารงตาแหน่ ง ๙
ปี
การฟ้ องคดีตอ ่ ศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศ แบ่งเขตอานาจ(Jurisdiction) ของศาล
ยุตธิ รรมระหว่างประเทศแบ่งออกเป็ นสองประเภท ดังนี้
ก. เขตอานาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท
ข. เขตอานาจในการให้คาปรึกษา
2. ศาลอาญาระหว่างประเทศ (International Criminal Court: ICC)
้ โดยธรรมนู ญจัดตัง้ ศาลอาญาระหว่างประเทศ
จัดตัง้ ขึน
หรือทีร่ จู ้ กั ทั่วไปว่า “ธรรมนูญกรุงโรม” (Rome
Statute of the International Criminal Court) ที่
เปิ ดให้มีการลงนามตัง้ แต่วน ั ที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑ และมีผลใช้บงั คับเมือ ่ วันที่ ๑
กรกฎาคม ๒๕๔๕ ขณะนี้ธรรมนูญกรุงโรมมีภาคีสมาชิกทัง้ สิน ้ ๑๑๔ ประเทศ ดังนัน ้
ศาลอาญาระหว่างประเทศจึงมีสถานะเป็ นองค์การระหว่างประเทศทีเ่ ป็ นอิสระ
มิได้เกีย่ วพันโดยตรงกับสหประชาชาติ
และมิได้เกีย่ วพันกับศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศหรือศาลโลก แม้จะมีทต ี่ ง้ ั อยูท่ ี่
กรุงเฮก ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เช่นเดียวกับศาลโลกก็ตาม
สาหรับ ทวีปเอเชียมีเพียง ๑๕ ประเทศทีเ่ ป็ นภาคีสมาชิก
และในอาเซียนคงมีกม ั พูชาเพียงประเทศเดียว ทีเ่ ป็ นรัฐภาคีของธรรมนูญกรุงโรม
ส่วนประเทศไทยนัน ้ ได้ลงนามในธรรมนูญกรุงโรมตัง้ แต่วน ั ที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๓
แต่ยงั มิได้ให้สตั ยาบันตามธรรมนูญกรุงโรม
ศาลอาญาระหว่างประเทศมีเขตอานาจเหนือการกระทา
ความผิดอาญาร้ายแรงทีเ่ กีย่ วกับสังคมโลกโดยรวม (Serious crimes of concern
to the international community as a
whole) อันได้แก่ “อาชญากรรม” ตามทีก ่ าหนดไว้ในมาตรา๕๘
ของธรรมนูญกรุงโรม อันได้แก่
- อาชญากรรมเกีย่ วกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (The crime of genocide)
- อาชญากรรมต่อความเป็ นมนุษย์ (Crimes against humanity)
- อาชญากรรมสงคราม (War crimes) และ
- อาชญากรรมเกีย่ วกับการรุกราน (The crime of aggression)
ทัง้ นี้ มาตรา ๖-๘
ของธรรมนูญกรุงโรมจะกาหนดรายละเอียดของอาชญากรรมแต่ละประเภทไว้
ส่วนองค์ประกอบความผิดเป็ นไปตาม Elements of
Crimes ทีอ ่ อกตามความในมาตรา ๙
การพิจารณาของพนักงานอัยการได้ใน ๓ กรณี คือ
(๑) รัฐภาคีได้รอ้ งทุกข์เกีย่ วกับอาชญากรรมนัน ้ ต่อพนักงานอัยการ
(๒) คณะ มนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติซงึ่ ปฏิบตั ห ิ น้าทีต่ ามหมวด ๗
แห่งกฎบัตรสหประชาชาติได้รอ้ งทุกข์เกีย่ วกับอาชญากรรมนัน ้ ต่อพนักงานอัยการ
หรือ
(๓) พนักงานอัยการได้เริม ่ สืบสวนเกีย่ วกับอาชญากรรมนัน ้ เองเมือ
่ ได้รบ
ั คาร้องทุกข์
จากผูเ้ สียหาย
พนักงานอัยการจะดาเนินการตามมาตรา ๑๕ และมาตรา ๕๓
โดยจะต้องไต่สวนข้อเท็จจริงเบื้องต้น (preliminary examination) และวิเคราะห์
(๑) มีการกระทาอาชญากรรมนัน ้ จริงหรือไม่และอาชญากรรมนัน
้ ขึน ้ อยูใ่ นเขตอานา
จศาลอาญาระหว่างประเทศหรือไม่
(๒) ควร
เสนออาชญากรรมนัน ้ ต่อศาลอาญาระหว่างประเทศเพือ ่ พิจารณาหรือไม่โดยคานึงถึง
ความร้ายแรงของอาชญากรรมนัน ้
และมีการดาเนินคดีตอ ่ อาชญากรรมนัน ้ โดยศาลภายในของรัฐนัน ้ ตามหลักความ
ยุตธิ รรมหรือไม่
(๓) การพิจารณาคดีตอ ่ อาชญากรรมนัน ้ เป็ นไปเพือ
่ ประโยชน์ แห่งการอานวยความยุ
ติธรรมหรือไม่
ทัง้ นี้ ในการไต่สวนข้อเท็จจริง พนักงานอัยการมีอานาจขอข้อมูลจากรัฐ
องค์กรของสหประชาชาติ องค์การระหว่างรัฐบาล องค์กรเอกชน
หรือแหล่งข้อมูลอืน่ เพือ ่ ประกอบการพิจารณาได้

ทบทวนเรืองสนธิ
สญั ญา
วันนี้เรามาทบทวนเรือ
่ งบ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศกันนะคะ
บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศมีอยูห ่ ลายประการอันได้แก่
1. สนธิสญ ั ญา
2. จารีตประเพณี
3. หลักกฎหมายทั่วไป
4. คาพิพากษาของศาล
5. ความเห็นของนักนิตศ ิ าสตร์
6. หลักความยุตธิ รรม
วันนี้เราจะมาทบทวนกันเฉพาะเรือ ่ งของสนธิสญั ญาเพียงอย่างเดียวก่อนนะคะ
สนธิสญ ั ญา
ถือเป็ นกฎเกณฑ์ทยี่ ด ึ ถือปฏิบตั ก
ิ นั เป็ นจารีตประเพณีระหว่างประเทศทีย่ ด
ึ ถือโดยสอด
คล้องกันในสังคมระหว่างประเทศ
ตามอนุสญ ั ญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสญ ั ญา ค.ศ. 1969
ได้ให้คาจัดความของสนธิสญ ั ญาเอาไว้วา่
สนธิสญ ั ญานัน ้ เป็ นความตกลงระหว่างประเทศทีไ่ ด้กระทาเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรระหว่
างรัฐ และอยูใ่ นกรอบของกฎหมายระหว่างประเทศ
ทัง้ นี้ไม่วา่ สนธิสญ ั ญานัน ้ จะทาขึน ้ ฉบับเดียว สองฉบับ หรือหลายฉบับ
และไม่วา่ จะเรียกชือ ่ เฉพาะเป็ นอย่างไรก็ตาม
จากความหมายดังกล่าวเราสามารถแยกองค์ประกอบของสนธิสญ
ั ญาได้ 4 ประการ
ดังนี้
1. สนธิสญ ั ญาเป็ นเอกสารทีเ่ ป็ นลายลักษณ์ อกั ษรทีก่ ระทาขึน ้ ระหว่างภาคีสองฝ่ ายห
รือมากกว่าสองฝ่ ายขึน ้ ไป
2. สนธิสญ ั ญาต้องกระทาโดยภาคีซงึ่ เป็ นบุคคลตามกฎหมายระหว่างประเทศ
ซึง่ เป็ นรัฐ หรือองค์กรระหว่างประเทศก็ได้
3. ความตกลงนัน ้ ต้องอยูในกรอบ
หรืออยูภ ่ ายในข้อบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ ซึง่ มีผลปฏิบตั ริ ะหว่างรัฐ
4. ความตกลงทีเ่ กิดขึน ้ ควรก่อให้เกิดผลในทางกฎหมาย
คือมีผลผูกพันและสามารถบังคับใช้แก่ภาคีของสนธิสญ ั ญานัน
้ ด้วย
ประเภทของสนธิสญ ั ญา ขึน้ อยูก
่ บั ว่าเราจะพิจารณาจากสิง่ ใดมาเป็ นตัวกาหนดเพือ ่ ใช้
ในการแบ่งประเภท โดยทั่วไปแล้วจะพิจารณาโดยอาศัยพื้นฐาน ดังต่อไปนี้
1. พิจารณาจากเนื้อหาของสนธิสญ
ั ญา สามารถแบ่งสนธิสญ
ั ญาออกเป็ น
1.1 สนธิสญั ญาประเภทสัญญา จะมีผลผูกพันเฉพาะคูภ
่ าคีเท่านัน

1.2 สนธิสญ ั ญาประเภทกฎหมาย
เป็ นสนธิสญ
ั ญาทีก ึ้ โดยมุง่ หวังให้ปฏิบตั ริ ว่ มกันระหว่างประเทศเป็
่ าหนดกฎเกณฑ์ขน
นการทั่วไป
2. พิจารณาจากรูปแบบ
เป็ นการพิจารณาในเรือ
่ งของจานวนของรัฐทีเ่ ข้าร่วมลงนามว่าเป็ นกรณี
2.1 สนธิสญ
ั ญาทวิภาคี คือ สนธิสญ
ั ญา 2 ฝ่ าย
2.2 สนธิสญ ั ญาพหุภาคี คือ สนธิสญ
ั ญาหลายฝ่ าย เป็ นการลงนามระหว่างรัฐตัง้ แต่
้ ไป
2 รัฐขึน
3. พิจารณาจากพิธีการจัดทาสนธิสญ
ั ญา อาจแบ่งได้ดงั นี้
3.1 สนธิสญั ญาเต็มรูปแบบ คือ ทาตามพิธีการอย่างสมบูรณ์ ตง้ ั แต่การเจรจา
การลงนาม และการให้สตั ยาบัน จึงจะมีผลใช้บงั คับ
3.2 สนธิสญ ั ญาแบบย่อ คือสนธิสญ
ั ญาทีไ่ ม่ตอ
้ งผ่านพิธีการให้สตั ยาบัน
เพียงแค่มีการเจรจาและลงนามสนธิสญ ั ญานัน้ ก็ถือว่ามีผลตามกฎหมายแล้ว
ขัน
้ ตอนการทาสนธิสญ
ั ญา
1. การเจรจา เป็ นการส่งตัวแทนของแต่ละฝ่ ายทาการเจรจา
โดยมีตวั แทนของรัฐทีไ่ ด้รบ ั มอบหมายเข้าทาการเจรจา
การเจรจาเน้นเนื้อหาเป็ นสาคัญ การตกลงทาสนธิสญ ั ญาทวิภาคี
อาจมีการแลกเปลีย่ นหนังสือมอบอานาจกัน ถือเป็ นการตรวจสอบอานาจในตัว
หากเป็ นการทาสนธิสญ ั ญาพหุภาคี
ต้องตรวจหนังสือมอบอานาจซึง่ จะมีผลต่อการนับองค์ประชุม
และเมือ ่ การเจรจาได้ขอ้ ยุตแิ ล้ว
ถ้าเป็ นการทาสนธิสญั ญาทวิภาคีจะต้องได้รบ ั ความเห็นชอบโดยเอกฉันท์
ส่วนสนธิสญ ั ญาพหุภาคีตอ ้ งได้รบ ั ความเห็นชอบ 2 ใน 3

2. การลงนาม เมือ ่ ผลของการเจรจาได้ขอ ้ ยุตลิ งแล้วก็จะมีการรับรองโดยการลงนาม


ของผูแ ้ ทนของรัฐทีเ่ ข้าร่วมประชุม
โดยขัน ้ ตอนการลงนามนี้ถือเป็ นการยอมรับความถูกต้องของเนื้อหาของสนธิสญ ั ญาที่
ได้จดั ทาขึน้ ว่าถูกต้องตรงตามทีต ่ กลงกันไว้ การลงนามของสนธิสญ ั ญามีหลายแบบ
เช่น การลงนามแบบเต็ม และการลงนามแบบย่อ
ส่วนความผูกพันของรัฐภายหลังจากการลงนาม
โดยหลักแล้วเป็ นการยอมรับถึงความถูกต้องของต้นฉบับตามทีต ่ กลงกันไว้
ยังไม่มีผลผูกพันรัฐผูใ้ ห้การลงนามแต่ประการใด
แต่ในทางปฏิบตั แ ิ ล้วการลงนามย่อมก่อให้เกิดพันธะผูกพันทีจ่ ะต้องเลีย่ ง
หรือพยายามเลีย่ งการกระทาทีอ ่ าจส่งผลเสีย
หรือขัดต่อวัตถุประสงค์ของการทาสนธิสญ ั ญา
3. การให้สตั ยาบัน หลังการเจรจาและลงนามแล้วจะมีการตรวจสอบสนธิสญ ั ญาอีกค
รัง้ หนึ่งโดยสถาบันของรัฐทีไ่ ด้รบั อานาจ
เมือ ่ ผ่านการตรวจสอบและได้รบ ั ความเห็นชอบแล้วสนธิสญ ั ญานัน
้ จึงจะมีผลผูกพันต่
อรัฐ การให้ความเห็นชอบดังกล่าวนี้เรียกว่าการให้สตั ยาบัน
ซึง่ ถือเสมือนว่าเป็ นการยอมรับขัน ้ สุดท้ายของสนธิสญ
ั ญา
และเป็ นการประกาศอย่างเป็ นทางการว่ารัฐตนยอมรับพันธกรณีตามสนธิสญ ั ญานัน

การยอมรับพันธกรณีตามสนธิสญ ั ญาจะมีผลนับตัง้ แต่วน


ั ทีใ่ ห้สตั ยาบันไม่มีผลย้อนห
ลัง
ทัง้ นี้มีเหตุผลหลายประการเพือ ่ การสนับสนุนกระบวนการให้สตั ยาบันของรัฐต่อสนธิ
สัญญาว่าเป็ นผลดีตอ ่ รัฐดังต่อไปนี้
 เป็ นการให้เวลาแก่รฐั เพือ่ ศึกษาถึงข้อดีและข้อเสียของสนธิสญ ั ญาก่อนทีจ่ ะตัดสิน
ใจยอมรับพันธกรณี
 เป็ นการแสดงถึงอานาจอธิปไตยของรัฐ
แม้วา่ จะได้ลงนามไปแล้วก็ตามก็ไม่ผก ู พันว่าจะต้องให้สตั ยาบันเสมอไป
 เป็ นการเปิ ดโอกาสให้รฐ ั ดาเนินกิจการภายในระหว่างทีร่ อการให้สตั ยาบัน
เพือ่ เตรียมพร้อมต่อการทีจ่ ะต้องมีพน ั ธกรณีตอ ่ สนธิสญั ญานัน้ ต่อไป
อานาจการให้สตั ยาบันนัน้ ขึน้ อยูก่ บ
ั แนวทางปฏิบตั ข ิ องแต่ละรัฐดังนี้
 Ø
อานาจการให้สตั ยาบันโดยฝ่ ายบริหารจะพบในรัฐทีม ่ ีการปกครองภายใต้ระบบเ
ผด็จการ
 Ø อานาจการให้สตั ยาบันโดยฝ่ ายนิตบ ิ ญั ญัติ
เป็ นการทีร่ ฐั มอบอานาจนี้แก้ฝ่ายนิตบ ิ ญ ั ญัตแ
ิ ต่ฝ่ายเดียวในการให้สตั ยาบัน
 Ø อานาจการให้สตั ยาบันโดยฝ่ ายร่วมกันระหว่างฝ่ ายนิตบ ิ ญ
ั ญัตแ
ิ ละฝ่ ายบริหาร
ซึง่ เป็ นระบบทีน ่ ิยมกันโดยทั่วไปให้เป็ นอานาจแก่ฝ่ายบริหาร
แต่ถา้ สนธิสญ ั ญาทีม่ ีความสาคัญจะต้องให้ฝ่ายนิตบ ิ ญ
ั ญัตใิ ห้ความเห็นชอบ

แบบการให้สตั ยาบัน การทีจ่ ะถือว่าให้สตั ยาบันนัน


้ จะต้องทาเป็ นเอกสารโดยรัฐภาคีส
นธิสญั ญาเรียกว่า “สัตยาบันสาร” ซึ่งกระทาในนามของประมุข หรือรัฐบาล
หากเป็ นสนธิสญ ั ญาทวิภาคีก็จะมีการแลกเปลีย่ นสัตยาบันสารกัน
หรือถ้าเป็ นสนธิสญั ญาพหุภาคีก็จะกระทาโดยการนาสัตยาบันสารไปวางไว้ทรี่ ฐั หนึ่ง
รัฐใด
หรือองค์การทีไ่ ด้กาหนดไว้จงึ จะถือว่าสนธิสญ
ั ญานัน้ ได้รบ
ั การให้สตั ยาบันแล้ว
4. การจดทะเบียนสนธิสญ ั ญา เป็ นกระบวนการต่อเนื่องจากการให้สตั ยาบัน
โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
4.1 เป็ นการรวบรวมความตกลงระหว่างประเทศต่างๆ ไว้เป็ นหลักฐาน
4.2 เพือ ่ ป้ องกันการทาสัญญาลับระหว่างประเทศ
ซึง่ อาจก่อความไม่สงบสุขแก่ประชาคมโลก
หรือขัดต่อหลักการกฎหมายระหว่างประเทศ

อย่างไรก็ตามสนธิสญ ั ญาใดไม่ได้นาไปจดทะเบียนต่อองค์การสหประชาชาติยงั คงถือ


ว่ามีผลใช้บงั คับอยูไ่ ม่เป็ นโมฆะ หรือโมฆียะแต่อย่างใด
เพียงแต่วา่ คูส
่ ญ
ั ญาไม่อาจทีจ่ ะนาสนธิสญ ั ญาทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนนี้ไปกล่าวอ้างต่อองค์
กรใดๆ ของสหประชาชาติได้
การภาคยานุวตั ิ เมือ่ สนธิสญ ั ญาผ่านกระบวนการจัดทาไปแล้ว
อาจมีบางรัฐทีไ่ ม่ได้เข้าร่วมในกระบวนการจัดทาสนธิสญ ั ญาแต่แรกขอเข้าร่วมเป็ นภ
าคีสนธิสญ
ั ญานัน ้ ในภายหลัง หลังจากทีร่ ะยะเวลาทีส ่ ามารถลงนามได้สน ิ้ สุดลงแล้ว
โดยยอมรับผูกพันตามสิทธิและหน้าทีท ่ ก
ี่ าหนดไว้ในสนธิสญ ั ญาโดยการภาคยานุวตั ิ
หากว่าสนธิสญั ญานัน ้ กาหนดให้กระทาได้
และจะมีผลผูกพันนับแต่วน ั ทีท
่ าการภาคยานุวตั ิ ไม่มีผลย้อนหลังแต่อย่างใด

การลงนามภายหลัง เป็ นกรณีทีร่ ฐั ไม่ได้เข้ามามีสว่ นร่วมในการจัดทาสนธิสญ ั ญาตัง้ แ


ต่แรกเริม่ แต่เป็ นการเข้ามามีสว่ นร่วมในขัน ้ ตอนทีแ ่ ตกต่างกันเท่านัน

การลงนามระยะหลังเป็ นการอนุญาตให้รฐั ทีม ่ ไิ ด้เข้าร่วมในกระบวนการเจรจาของส
นธิสญ ั ญาสามารถลงนามยอมรับข้อความของสนธิสญ ั ญา
แต่ตอ้ งอยูใ่ นระยะเวลาทีอ ่ าจลงนามได้หรือไม่ได้กาหนดระยะเวลาลงนามได้
การลงนามภายหลังนี้ ตอ ้ งมีการให้สตั ยาบันอีกขัน ้ ตอนหนึ่งด้วย
ดังนัน
้ จึงแตกต่างกับการภาคยานุวตั ต ิ รงที่
การภาคยานุวตั น ิ น
้ ั จะเข้ามาสูข ่ น
้ ั ตอนทีเ่ มือ
่ การเข้ามาภาคยานุวตั แ ิ ล้วทาให้รฐั ทีเ่ ข้าม
าต้องผูกพันทีจ่ ะปฏิบตั ต ิ ามพันธกรณีทไี่ ด้กาหนดในทันที
ส่วนการลงนามนัน ้ ยังไม่ได้ผก ู พันทันที
แต่เป็ นเพียงการเข้าสูข ่ น ้ ั ตอนทีส ่ องของการทาสนธิสญ ั ญา
จึงจะต้องมีการให้สตั ยาบันอีกครัง้ จึงจะมีผลผูกพัน
การตัง้ ข้อสงวน คือ
ถ้อยแถลงฝ่ ายเดียวซึง่ รัฐกระทาในขณะทีม ่ ีการลงนามให้สตั ยาบัน หรือรับรอง
หรือทาภาคยานุวตั ิ โดยถ้อยแถลงนัน ้ ต้องการจะขอยกเว้น
หรือระงับความผูกพันบางประการของสนธิสญ ั ญานัน้ ไม่ให้มีผลใช้บงั คับต่อรัฐของต
น การตัง้ ข้องสงวนนี้แสดงได้วา่ สนธิสญ ั ญาทีไ่ ด้รบั การยอมรับนัน ้
อาจไม่ได้หมายความว่าเป็ นการยอมรับทัง้ หมดก็ได้
รัฐอาจกาหนดเงือ่ นไขเพือ ่ ให้เหมาะสมกับความเห็นหรือความต้องการของตนได้
ส่วนรัฐทีไ่ ม่ได้ตง้ ั ข้อสงวนก็ผก
ู พันตามสนธิสญ ั ญาฉบับปกติ
แม้วา่ การตัง้ ข้อสงวนเป็ นเรือ
่ งปกติของรัฐในการทาสนธิสญ ั ญา
การตัง้ ข้อสงวนนัน ้ สามารถขอตัง้ ได้ในขณะทีม ่ ีการลงนามสนธิสญ ั ญา
หรือในขณะทีม ่ ีการให้สตั ยาบัน แต่ก็มีกรณียกเว้นดังต่อไปนี้
 สนธิสญั ญากาหนดห้ามตัง้ ข้อสงวน
 สนธิสญ ั ญากาหนดกรณีทอ ี่ าจตัง้ ข้อสงวนได้นอกเหนือจากกรณีทด
ี่ งั ทีก
่ าหนดแล้
ว รัฐไม่อาจตัง้ ข้อสงวนได้
 ข้องสงวนนัน้ ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ หรือความมุง่ หมายของสนธิสญ ั ญา
ผลผูกพันต่อสนธิสญ ั ญา
1. ผลผูกพันของสนธิสญ ั ญาต่อรัฐภาคี โดยจะมีผลครอบคลุมดินแดนทัง้ หมด
ซึง่ รัฐภาคีทง้ ั หมดจะต้องดาเนินการต่างๆ
ทีจ่ าเป็ นเพือ
่ ให้สนธิสญ ั ญามีผลบังคับใช้อย่างสมบูรณ์
2. ผลผูกพันของสนธิสญ ั ญาต่อรัฐทีส
่ าม ตามมาตรา 34 ของอนุสญ ั ญากรุงเวียนนา
1969 ระบุไว้วา่ สนธิสญ ั ญาย่อมไม่กอ่ ให้สท
ิ ธิและหน้าทีแ
่ ก่รฐั ทีส
่ าม
เว้นแต่รฐั ทีส ่ ามนัน
้ จะยินยอม
การสิน
้ สุดของสนธิสญ ั ญา
1. สนธิสญ ั ญากาหนดวาระสิน ้ สุดเอาไว้
หรือภาคีสนธิสญ ั ญาตกลงยินยอมเลิกสนธิสญ ั ญา
2. มีการทาสนธิสญ ั ญาขึน ้ มาใหม่
โดยแสดงเจตนาอย่างชัดแจ้งว่ามุง่ ทีย่ กเลิกความตกลงฉบับก่อน
3. ภาคีคส ู่ ญ ั ญาฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดบอกเลิกสัญญา
ซึง่ จะต้องอยูภ ่ ายใต้เงือ ่ นไขว่าสามารถบอกเลิกสัญญาได้และต้องปฏิบตั ต ิ ามทีส่ น
ธิสญ ั ญากาหนดไว้
แต่ถา้ ไม่มีการกาหนดเช่นว่านัน ้ ตามปกติแล้วคูส ่ ญ
ั ญาไม่สามารถจะบอกเลิกแต่ฝ่
ายเดียวได้
ผลของการบอกเลิกสนธิสญ ั ญาต้องพิจารณาว่าหากเป็ นสนธิสญ ั ญาทวิภาคีมีผลทา
ให้สนธิสญ ั ญานัน ้ สิน
้ สุดลง หากเป็ นสนธิสญ ั ญาพหุภาคี
การบอกเลิกของภาคีใดก็มีผลให้ภาคีนน ้ ั พ้นจากความผูกพันตามสัญญา
สนธิสญ ั ญาไม่สน ิ้ สุด ภาคีอืน ่ ๆ ยังคงผูกพันกับสนธิสญ ั ญานัน
้ ต่อไป
4. มีการกระทาทีล่ ะเมิดหรือไม่ยอมปฏิบตั ต ิ ามสนธิสญ ั ญา
รัฐภาคีอืน ่ ก็มีสท ิ ธิทจี่ ะบอกเลิกสนธิสญ ั ญาได้
ทัง้ นี้ขน ้ึ อยูก ่ บ
ั ดุลยพินิจของรัฐทีถ ่ ูกละเมิดหรือเกิดความเสียหายจากการไม่ปฏิบตั ิ
ตามสนธิสญ ั ญา
5. มีเหตุการณ์ บางอย่างเกิดขึน ้ เช่น สงคราม
หรือเกิดจากสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปจากทีเ่ คยเป็ นอยูข ่ ณะทีท
่ าสนธิสญั ญ

กรณีสงคราม สนธิสญ ั ญาระหว่างรัฐคูส ่ งคราม
ย่อมสิน ้ สุดลงถ้าเป็ นสนธิสญ ั ญาทวิภาคี เว้นแต่
 สนธิสญ
ั ญาทีม ่ ีไว้เพือ
่ ใช้ในเวลาสงคราม
 สนธิสญั ญาบางชนิด เช่น การยกดินแดน
 สนธิสญ ั ญาทีร่ ะบุไว้อย่างชัดเจนว่าให้คงดาเนินต่อไปแม้จะเกิดสงคราม
ถ้ารัฐคูส
่ งครามเป็ นภาคีในสนธิสญั ญาพหุภาคีก็มีผลเพียงแค่ระงับชั่วคราวระหว่างรัฐ
คูส
่ งครามเท่านัน
้ สนธิสญ ั ญานัน
้ ยังไม่สน
ิ้ สุด
กรณีสภาพแวดล้อมเปลีย่ นแปลงไป
จะต้องเป็ นการเปลีย่ นแปลงทีส
่ าคัญไม่วา่ จะเป็ นการเมือง เศรษฐกิจ หรือสังคมก็ตาม
และจากการเปลีย่ นแปลงนี้ทาให้สภาพปัจจุบน ั ไม่สามารถทีจ่ ะปฏิบตั ต
ิ ามพันธะทีร่ ะบุ
ไว้ในสนธิสญ ั ญาได้ และการเปลีย่ นแปลงนัน ้ จะต้องชัดแจ้งจนทุกฝ่ ายยอมรับ
6. เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงอานาจอธิปไตยของรัฐคูก่ รณีสนธิสญั ญา เช่น
รัฐคูส ั ญาผนวกเข้าเป็ นส่วนหนึ่งของรัฐอืน
่ ญ ่ สนธิสญ
ั ญาเป็ นอันสิน
้ สุดลง
7. สนธิสญ ั ญาขัดต่อหลักเกณฑ์อน ั ไม่อาจยกเว้นได้ของกฎหมายระหว่างประเทศที่
้ ใหม่ สนธิสญ
เกิดขึน ั ญานัน
้ ย่อมเป็ นโมฆะ สิน้ สุดลง


ทบทวนเรืองความร ับผิดของร ัฐ
เนื่องจากรัฐมีสถานะเป็ นบุคคลตามกฎหมายระหว่างประเทศ
ดังนัน ้ ก็ถือว่ารัฐก็มีสท
ิ ธิและหน้าทีต
่ ามกฎหมายระหว่างประเทศด้วยเช่นกัน
และรัฐเองก็อาจจะต้องมีความรับผิดในทางระหว่างประเทศด้วย
เมือ ่ รัฐกระทาการละเมิดต่อกฎหมายระหว่างประเทศ
และก่อให้เกิดความเสียหายแก่รฐั อืน ่ รัฐนัน
้ จึงมีหน้าที่
ทีจ่ ะต้องรับผิดชอบต่อการกระทาของตน โดยมีเงือ่ นไขอยู่ 2 ประการดังนี้
1. การกระทาของรัฐนัน ้ เป็ นการไม่ชอบด้วยกฎหมายระหว่างประเทศ อาจเป็ นการ
กระทาของรัฐโดยตรงจากการดาเนินกิจการภายในหรือภายนอก
หรือเกิดจากตัวแทนของรัฐบาลก็ได้ ส่วนผูเ้ สียหายจากการละเมิดต่อกฎหมายระ
หว่างประเทศ อาจเป็ นรัฐหรือเอกชนก็ได้
2. การกระทานัน ้ ต้องถือได้วา่ อยูใ่ นความรับผิดชอบของรัฐ คือการกระทาของรัฐห
รือตัวแทนของรัฐตามทีร่ บ ั มอบอานาจจากรัฐ
แต่ถา้ เป็ นการกระทาของเอกชนซึง่ เป็ นคนในสัญชาติของตน
ย่อมไม่ผก ู ผันความรับผิดของรัฐ
ความรับผิดของรัฐทีม ่ ีตอ
่ คนต่างด้าวทีไ่ ด้รบ
ั ความเสียหาย
ก่อนทีค่ นต่างด้าวจะร้องขอให้รฐั ของตนใช้สท ิ ธิคมุ้ ครองทางการทูตดาเนินการเรียกร้
องแทนตนเองได้นน ้ ั จะต้องดาเนินการต่อไปนี้กอ ่ น คือ
1. พยายามใช้วถ ิ ีทางตามขัน
้ ตอนของกฎหมายภายในรัฐทีก ่ อ
่ ความเสียหายแก่ตนเอ
งก่อน เช่น เรียกร้องความเป็ นธรรมต่อเจ้าหน้าทีท
่ เี่ กีย่ วข้อง
หรือเรียกร้องค่าเสียหายต่อศาล เป็ นต้น
2. หากไม่ได้ผลเพราะมีการปฏิเสธไม่ให้ความเป็ นธรรม หรือไม่รบ ั ฟ้ อง
คนต่างด้าวนัน้ จึงจะสามารถร้องให้รฐั ของตนใช้สทิ ธิคม ุ้ ครองทางการทูตเข้ามา
ดาเนินการแทนตนได้ ทัง้ นี้การทีร่ ฐั จะใช้สท
ิ ธิดงั กล่าวนี้หรือไม่นน
้ั
ถือเป็ นสิทธิโดยเฉพาะของรัฐทีจ่ ะใช้หรือไม่ก็ได้
และการจะให้ความคุม ้ ครองจากการกระทาโดยสุจริตเท่านัน ้
ความรับผิดของรัฐในสงครามกลางเมือง
ซึง่ กรณี ทเี่ กิดสงครามกลางเมืองอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่รฐั ต่างประเทศ
หรือคนต่างด้าวได้ รัฐจะต้องรับผิดแค่ไหน เพียงใดขึน ้ อยูก
่ บ
ั ว่า
1. ความเสียหายเกิดจากฝ่ ายรัฐบาล รัฐบาลไม่จาเป็ นต้องรับผิด
เพราะถือเสมือนว่าเป็ นลักษณะเดียวกับการเกิดสงคราม
ความเสียหายทีเ่ กิดขึน ้ เป็ นเหตุสุดวิสยั
เว้นแต่วา่ ความเสียหายทีเ่ กิดขึน ้ นัน ้ จากการต่อสูเ้ พือ
้ มิได้เกิดขึน ่ รักษาความสงบเ
รียบร้อยในการปราบกบฏ หรือการจลาจลตามปกติวส ิ ยั
2. ความเสียกายเกิดจากฝ่ ายกบฏ ถ้าหากฝ่ ายกบฏเป็ นฝ่ ายแพ้
รัฐไม่ตอ ้ งรับผิดแต่อย่างใดเพราะถือว่าฝ่ ายกบฏไม่ใช่ตวั แทนของรัฐ
แต่มีขอ ้ ยกเว้นว่า
ถ้าความเสียหายนัน ้ เกิดจากการละเลยของรัฐทีไ่ ม่ดาเนินการป้ องกัน
หรือคุม้ ครองคนต่างชาติ
โดยรูอ้ ยูว่ า่ จะมีอน
ั ตรายและรัฐมีกาลังเพียงพอทีจ่ ะดาเนินการได้
หรือกรณีทรี่ ฐั ยอมยกโทษให้ฝ่ายกบฏหรือยอมให้เข้าร่วมเป็ นคณะรัฐบาล
ดังนี้แล้วฝ่ ายรัฐบาลจาต้องรับผิดต่อความเสียหายทีเ่ กิดขึน ้
แต่มีการกระทาบางกรณีทไี่ ม่ถือว่าอยูใ่ นความรับผิดชอบของรัฐ คือ
1. การกระทาทีเ่ กิดจากการยินยอมของรัฐทีเ่ สียหาย
2. การป้ องกันทีช ่ อบด้วยกฎหมายของรัฐ
3. กรณีทรี่ ฐั ผูเ้ สียหายมีสว่ นร่วมในการก่อให้เกิดความเสียหาย
4. การใช้มาตรการ Reprisals
5. การกระทาทีเ่ ป็ นเหตุสุดวิสยั
6. การกระทาด้วยความจาเป็ น

สาระสาคัญกฎหมายสัญชาติ

พระราชบัญญัตส
ิ ญ
ั ชาติ พ.ศ. 2508 และแก้ไขเพิม
่ เติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535 ฉบับที่
3 พ.ศ. 2535

เป็ นกฎหมายทีว่ า่ ด้วยการได้มา การเสียไป และการกลับคืนซึง่ สัญชาติไทยของบุคคล


โดยกฎหมายฉบับดังกล่าวได้มีการปรับปรุงแก้ไขสองครัง้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2535 ดังนี้

การได้มาซึง่ สัญชาติไทย มีดว้ ยกัน 3 วิธี คือ


1. โดยการเกิด หมายความว่า
ผูท
้ เี่ กิดมาย่อมได้รบ ั สัญชาติไทยภายใต้หลักการพิจารณา 2 หลักการ ได้แก่
1.1. หลักสืบสายโลหิต เช่น ผูท ้ เี่ กิดโดยบิดา
หรือมารดาเป็ นคนไทยย่อมได้สญ ั ชาติไทย
ทัง้ นี้ไม่วา่ จะเกิดในหรือนอกราชอาณาจักร
1.2. หลักดินแดน เช่น ผูท ้ เี่ กิดในประเทศไทยย่อมได้รบ ั สัญชาติไทย
เว้นแต่ผท ู้ เี่ กิดในประเทศไทยโดยบิดา
หรือมารดาเป็ นคนต่างด้าวและในขณะทีเ่ กิดบิดา หรือมาดาของผูน ้ น
้ ั เป็ น
1.2.1.
ผูท้ ไี่ ด้รบั การผ่อนผันให้พกั อาศัยอยูใ่ นราชอาณาจักรไทยกรณี พเิ ศษเฉพาะราย
1.2.2. ผูท ้ ไี่ ด้รบ ั อนุญาตให้เข้าอยูใ่ นราชอาณาจักรไทยเพียงชั่วคราว
1.2.3.
ผูท ้ ไี่ ด้เข้ามาอยูใ่ นราชอาณาจักรไทยโดยไม่ได้รบ ั อนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้า
เมือง
1.2.4. หัวหน้าคณะผูแ ้ ทนทางทูตหรือเจ้าหน้าทีใ่ นคณะผูแ ้ ทนทางทูต
1.2.5. หัวหน้าคณะผูแ ้ ทนทางกงสุลหรือเจ้าหน้าทีใ่ นคณะผูแ ้ ทนทางกงสุล
1.2.6. พนักงานหรือผูเ้ ชีย่ วชาญขององค์การระหว่างประเทศ
1.2.7.
คนในครอบครัวซึ่งเป็ นญาติอยูใ่ นความอุปการะหรือคนใช้ซงึ่ เดินทางมาจากต่างประ
เทศมาอยูก ่ บ ั บุคคลใน 1.2.4 ถึง 1.2.7
2. โดยการขอมีสญ ั ชาติไทยตามผูเ้ ป็ นสามี คือ
หญิงซึง่ มิใช่คนไทยทีส ่ มรสกับชายไทย
ถ้าประสงค์จะได้สญ ั ชาติไทยก็สามารถยืน ่ คาขอต่อรัฐมนตรีมหาดไทยเพือ ่ ขอมีสญ
ั ชา
ติไทย
การอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ได้สญ ั ชาติไทยนัน
้ อยูใ่ นดุลพินิจของรัฐมนตรีมหาดไท

3. โดยการแปลงสัญชาติ หมายความว่า
บุคคลทีม ่ ใิ ช่ผม ู้ ีสญ ั ชาติไทยขอมีสญ ั ชาติไทยโดยการขอแปลงสัญชาติเป็ นไทย
ถ้าหากมีคณ ุ สมบัตค ิ รบถ้วนดังนี้
3.1. บรรลุนิตภ ิ าวะแล้วตามกฎหมายไทยและกฎหมายทีบ ่ ุคคลนัน
้ มีสญ ั ชาติ
3.2. มีความประพฤติดี
3.3. มีอาชีพเป็ นหลักฐาน
3.4.
มีภูมลิ าเนาในประเทศไทยต่อเนื่องมาจนถึงวันทีย่ น ื่ คาขอแปลงสัญชาติเป็ นไทยเป็ นเ
วลาไม่น้อยกว่า 5 ปี
3.5. มีความรูภ ้ าษาไทยตามทีก ่ าหนดในกฎกระทรวง
การอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้แปลงสัญชาติเป็ นไทย
อยูใ่ นดุลพินิจของรัฐมนตรีมหาดไทย
เมือ
่ รัฐมนตรีเห็นสมควรก็ให้นาความขึน ้ กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราช
านุญาต เมือ ่ ได้รบ
ั พระบรมราชานุญาตแล้วผูข ้ อแปลงสัญชาติเป็ นไทย
ปฎิญาณตนว่าจะมีความซือ ่ สัตย์สุจริตต่อประเทศไทย

การเสียสัญชาติไทย มีดว้ ยกัน 2 วิธี คือ


1. สละสัญชาติไทย คือ
การทีผ ่ ม ั ชาติไทยคนใดคนหนึ่งมีความประสงค์จะขอสละสัญชาติไทยในกรณี ดงั ต่
ู้ ีสญ
อไปนี้
1.1.
หญิงซึง่ มีสญ ั ชาติไทยและได้สมรสกับคนต่างด้าวและอาจถือสัญชาติของสามีได้จามก
ฎหมายว่าด้วยสัญชาติของสามี
ถ้าประสงค์จะสละสัญชาติไทยก็สามารถยืน ่ ความจานงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
1.2. ผูเ้ กิดมามีสองสัญชาติเมือ ่ มีอายุครบ 20
ปี บริบูรณ์ หากประสงค์จะสละสัญชาติไทยก็สามารถแสดงความจานงสละสัญชาติไทย
ต่อรัฐมนตรีมหาดไทยได้
ในกรณี นี้รฐั มนตรีอาจสั่งระงับการสละสัญชาติไทยไว้กอ ่ นก็ได้หากว่าประเทศไทยอ
ยูใ่ นระหว่างการรบหรืออยูใ่ นสถานะสงคราม
1.3. ผูท ้ ไี่ ด้สญ ั ชาติไทยโดยการแปลง
หากประสงค์จะสละสัญชาติไทยก็สามารถยืน ่ คาขอต่อรัฐมนตรีมหาดไทย
การอนุญาตหรือไม่อนุญาตอยูใ่ นดุลพินิจของรัฐมนตรี
2. ถูกถอนสัญชาติไทย คือ ผูม ้ ีสญ
ั ชาติไทยถูกถอนสัญชาติไทยในกรณีดงั ต่อไปนี้
2.1. หญิงทีไ่ ด้สญ ั ชาติไทยโดยการสมรสอาจถูกถอนสัญชาติไทยถ้าหากว่า
2.1.1.
การสมรสนัน ้ เป็ นไปโดยปกปิ ดข้อเท็จจริงหรือแสดงความเท็จอันเป็ นสาระสาคัญ
2.1.2. กระทาการใดๆ
อันเป็ นการกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงหรือขัดต่อประโยชน์ของรัฐ
หรือเป็ นการเหยียดหยามประเทศชาติ
2.1.3. กระทาการใดๆ
อันเป็ นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศิลธรรมอันดีของประชาชน
2.2.
ผูม ้ ีสญ
ั ชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักรไทยโดยมีบด ิ าเป็ นคนต่างด้าวอาจถูกถอน
สัญชาติไทยถ้าหากว่า
2.2.1. ไปอยูต ่ า่ งประเทศทีบ
่ ด
ิ าเคยมีหรือเคยมีสญ ั ชาติเป็ นเวลาติดต่อกันเกิน 5 ปี
นับแต่วน ั ทีบ่ รรลุนิตภ ิ าวะ
2.2.2. มีหลักฐานแสดงว่าใช้สญ ั ชาติของบิดาหรือสัญชาติอืน ่
หรือฝักใฝ่ อยูใ่ นสัญชาติของบิดาหรือสัญชาติอืน ่
2.2.3. กระทาการใดๆ
อันเป็ นการกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงหรือขัดต่อประโยชน์ของรัฐ
หรือเป็ นการเหยียดหยามประเทศชาติ
2.2.4. กระทาการใดๆ
อันเป็ นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศิลธรรมอันดีของประชาชน
2.3. ผูท้ ม
ี่ ีสญ
ั ชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติถา้ หากว่า
2.3.1.
การแปลงสัญชาตินน ้ ั เป็ นไปโดยปกปิ ดข้อเท็จจริงหรือแสดงข้อความเป็ นเท็จอันเป็ น
สาระสาคัญ
2.3.2. มีหลักฐานแสดงว่าผูแ ้ ปลงสัญชาตินน้ ั ยังใช้สญ
ั ชาติเดิม
2.3.3. กระทาการใดๆ
อันเป็ นการกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงหรือขัดต่อประโยชน์ของรัฐ
หรือเป็ นการเหยียดหยามประเทศชาติ
2.3.4. กระทาการใดๆ อันเป็ นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือ
ศีลธรรมอันดีของประชาชน
2.3.5. ไปอยูต ่ า่ งประเทศโดยไม่มีภูมลิ าเนาในประเทศไทยเป็ นเวลาเกิน 5 ปี
2.3.6. ยังคงมีสญ ั ชาติของประเทศทีท ่ าสงครามกับประเทศไทย

การกลับคืนสัญชาติไทย มีดว้ ยกัน 2 กรณี คือ


1. หญิงซึง่ มีสญ ั ชาติไทยและได้สละสัญชาติไทยในกรณีสมรสกับคนต่างด้าว
ถ้าขาดจากการสมรสแล้วไม่วา่ ด้วยเหตุใดๆ ย่อมมีสท ิ ธิขอกลับคืนสัญชาติไทยได้
2.
้ งึ่ มีสญ
ผูซ ั ชาติไทยและได้เสียสัญชาติไทยตามบิดาหรือมารดาในขณะทีต ่ นยังไม่บรร
ลุนิตภ ิ าวะ ก็สามารถยืน ่ คาขอกลับคืนสัญชาติไทยได้ภายใน 2 ปี
นับแต่วน ั ทีบ
่ รรลุนิตภ
ิ าวะ
การอนุญาตหรือไม่อนุญาตตามกรณี นี้อยูใ่ นดุลพินิจของรัฐมนตรีมหาดไทย
จัดทาโดยผูช
้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ลาวัณย์ ถนัดศิลปกุล
คาถาม
นายเดวิดเป็ นบุตรของนายจอห์นบิดาซึง่ มีสญ ั ชาติองั กฤษ และ นางโซฟี
มารดาซึง่ มีสญ ั ชาติฝรั่งเศส แต่นายเดวิดเกิดทีป ่ ระเทศไทย
เนื่องจากนายจอห์นและนางโซฟี
ได้เข้ามาลงทุนทาธุรกิจตัง้ ภัตตราคารฝรั่งเศสในประเทศไทย
ครอบครัวนี้ได้อาศัยอยูใ่ นประเทศไทยเป็ นเวลา 20 ปี เมือ ่ นายเดวิดอายุ 16 ปี
ได้หลงรักนางสาวดวงใจเพือ ่ นร่วมชัน้ เรียนและได้ทาพินยั กรรมยก
ทรัพย์สน ิ ทัง้ หมดของตนให้นางสาวดวงใจ โดยเขียนพินยั กรรมทัง้ ฉบับด้วยตนเอง
ซึง่ นายเดวิดมีเงินเก็บอยูใ่ นธนาคาร 100,000 บาท และ
เป็ นเจ้าของตึกแถวหนึ่งคูหา ราคา 1,000,000 บาท
ซึง่ นายจอห์นยกให้นายเดวิดเป็ นของขวัญวันเกิดเมือ ่ อายุครบ 15 ปี
ต่อมานายเดวิดประสบอุบตั เิ หตุถงึ แก่ความตาย
นางสาวดวงใจจึงมาเรียกร้องทรัพย์มรดกจากบิดา มารดา นายเดวิด แต่นายจอห์น
และ นางโซฟี ปฏิเสธทีจ่ ะดาเนินการยกทรัพย์สน ิ ให้
โดยอ้างว่าตามกฎหมายอังกฤษและฝรั่งเศส บุคคลจะทาพินยั กรรมได้ตอ ้ งอายุ
ครบ 20ปี บริบูรณ์ และ
พินยั กรรมต้องทาต่อพนักงานเจ้าหน้าทีต ่ ามแบบทีก ่ ฎหมายกาหนด
ดังนัน้ พินยั กรรมทีน ่ ายเดวิดทาจึงเป็ นโมฆะ
เนื่องจากนายเดวิดไม่มีความสามารถในการทาพินยั กรรม
อีกทัง้ ไม่ได้ทาพินยั กรรมตามแบบทีก ่ ฎหมายกาหนดพินยั กรรมจึงเป็ นโมฆะ
นักศึกษาจงพิจารณา วินิจฉัยว่าข้อต่อสูข ้ องนายจอห์นและนางโซฟี
ชอบด้วยกฎหมาย หรือ ไม่ และ นางสาวดวงใจจะได้รบ ั ทรัพย์มรดกตามพินยั กรรม
หรือ ไม่
แนวตอบ
หลักกฎหมาย
พระราชบัญญัตก
ิ ฎหมายสัญชาติ พ. ศ. 2508, 2535, 2551
มาตรา 7 บุคคลดังต่อไปนี้ยอ
่ มได้สญ
ั ชาติไทยโดยการเกิด
(1) ผูเ้ กิดโดยบิดาหรือมารดาเป็ นผูม
้ ีสญ
ั ชาติไทย
ไม่วา่ จะเกิดในหรือนอกราชอาณาจักรไทย
(2) ผูเ้ กิดในราชอาณาจักรไทย ยกเว้นบุคคลตามมาตรา 7 ทวิ วรรคหนึ่ง
มาตรา 7 ทวิ ผูเ้ กิดในราชอาณาจักรไทย โดยบิดาและมารดาเป็ นคนต่างด้าว
ย่อมไม่ได้รบ ั สัญชาติไทย ถ้าในขณะทีเ่ กิดบิดาตามกฎหมาย
หรือบิดาซึง่ มิได้มีการสมรสกับมารดาหรือมารดาของผูน ้ น
้ ั เป็ น
(1)
ผูท
้ ไี่ ด้รบ
ั การผ่อนผันให้พกั อาศัยอยูใ่ นราชอาณาจักรไทยเป็ นกรณีพเิ ศษเฉพาะราย
(2) ผูท
้ ีไ่ ด้รบ
ั อนุญาตให้เข้าอยูใ่ นราชอาณาจักรไทยเพียงชั่วคราวหรือ
(3)
ผูท
้ เี่ ข้ามาอยูใ่ นราชอาณาจักรไทยโดยไม่ได้รบ
ั อนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมื
อง
มาตรา 8 ผูเ้ กิดในราชอาณาจักรไทยโดยบิดาและมารดาเป็ นคนต่างด้าว
ย่อมไม่ได้สญ ั ชาติไทย ถ้าขณะทีเ่ กิดบิดาหรือมารดาเป็ น
(1) หัวหน้าคณะผูแ
้ ทนทางทูตหรือเจ้าหน้าทีใ่ นคณะผูแ
้ ทนทางทูต
(2) หัวหน้าคณะผูแ
้ ทนทางกงสุลหรือเจ้าหน้าทีใ่ นคณะผูแ
้ ทนทางกงสุล
(3) พนักงานหรือผูเ้ ชีย่ วชาญขององค์การระหว่างประเทศ
(4)
คนในครอบครัวซึ่งเป็ นญาติอยูใ่ นความอุปการะหรือคนใช้ซงึ่ เดินทางจากต่างประเท
ศมาอยูก
่ บ
ั บุคคลใน (1) (2) หรือ (3)
พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ. 2481
มาตรา 6
………………………………………..
ในกรณีใดๆ ทีม ่ ีการขัดกันในเรือ
่ งสัญชาติของบุคคล
ถ้าสัญชาติหนึ่งสัญชาติใดซึง่ ขัดกันนัน
้ เป็ นสัญชาติไทย
กฎหมายสัญชาติซงึ่ จะใช้บงั คับได้แก่กฎหมายแห่งประเทศสยาม
มาตรา 39 ความสามารถของบุคคลทีจ่ ะทาพินยั กรรม
ให้เป็ นไปตามกฎหมายสัญชาติในขณะทีท
่ าพินยั กรรม
มาตรา 40 บุคคลจะทาพินยั กรรมตามแบบทีก่ ฎหมายสัญชาติกาหนดไว้ก็ได้
หรือจะทาตามแบบทีก
่ ฎหมายของประเทศทีท่ าพินยั กรรมกาหนดไว้ก็ได้
มาตรา 41 ผลและการตีความพินยั กรรมก็ดี
ความเสียเปล่าแห่งพินยั กรรมหรือข้อกาหนดพินยั กรรมก็ดี
ให้เป็ นไปตามกฎหมายภูมลิ าเนาของผูท้ าพินยั กรรมในขณะทีผ
่ ท
ู้ าพินยั กรรมถึงแก่ค
วามตาย
ประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์
มาตรา 25 ผูเ้ ยาว์อาจทาพินยั กรรมได้เมือ
่ อายุ 15 ปี บริบูรณ์
มาตรา 22 ผูเ้ ยาว์อาจทาการใด ๆ ได้ทง้ ั สิน ้
หากเป็ นเพียงเพือ่ จะได้ไปซึง่ สิทธิอน
ั ใดอันหนึ่ง
หรือเป็ นการเพือ
่ ให้หลุดพ้นจากหน้าทีอ ั ใดอันหนึ่ง ย่อมสามารถทาได้
่ น
มาตรา 1657 พินยั กรรมนัน ้ จะทาเป็ นเอกสารเขียนเองทัง้ ฉบับก็ได้
้ าพินยั กรรมต้องเขียนด้วยมือตนเองซึง่ ข้อความทัง้ หมด วัน เดือน ปี
กล่าวคือผูท
และลายมือชือ ่ ของตน

วินิจฉัย
ประเด็นปัญหา
1. นายเดวิดมีสญ
ั ชาติใด
2. มูลพิพาทเกีย่ วกับเรือ
่ งใด
3. ต้องใช้กฎหมายของประเทศใดบังคับกับคดี
4. ความสามารถในการทาพินยั กรรม และ
แบบของพินยั กรรมบังคับตามกฎหมายประเทศใด และ มีแบบอย่างใด
5. ปัญหาการตีความ หรือ การมีผลของพินยั กรรมใช้กฎหมายของประเทศใดบังคับ
1. นายเดวิดเป็ นบุตรของนายจอห์นบิดาซึง่ มีสญ ั ชาติองั กฤษ และ นางโซฟี
มารดาซึง่ มีสญ ั ชาติฝรั่งเศส
แต่นายเดวิดเกิดทีป ่ ระเทศไทย โดยนายจอห์นและนางโซฟี
ได้เข้ามาลงทุนทาธุรกิจตัง้ ภัตตราคารฝรั่งเศสในประเทศไทย
ครอบครัวนี้ได้อาศัยอยูใ่ นประเทศไทยเป็ นเวลา 20 ปี นายเดวิดจึงมีสญ ั ชาติองั กฤษ
และฝรั่งเศสตามหลักสืบสายโลหิต และ ได้สญ ั ชาติไทยตามหลักดินแดน
โดยไม่เข้าข้อยกเว้นทีจ่ ะไม่ได้สญ ั ชาติไทยตามมาตรา 7 ทวิวรรคหนึ่ง
เพราะแม้บด ิ ามารดาจะเป็ นต่างด้าวทัง้ คู่
แต่ครอบครัวนี้ได้เข้ามาอยูใ่ นประเทศไทยตัง้ 20 ปี
จึงไม่ใช่บุคคลทีเ่ ข้ามาอยูช่ ่วั คราว หรือ ไม่ได้เข้าเมืองมาโดยไม่ชอบ หรือ
ไม่ได้เข้าเมืองมาอยูโ่ ดยได้รบ ั การยกเว้นเป็ นกรณีพเิ ศษ
เนื่องจากได้เข้ามาประกอบธุรกิจทาภัตราคารฝรั่งเศสโดยชอบด้วยกฎหมาย อีกทัง้
บิดา มารดา ของเดวิดไม่ได้ เป็ นบุคคลในคณะทูต กงสุล องค์การระหว่างประเทศ
คนใช้ หรือ ครอบครัวทูต
เดวิดจึงมีสญั ชาติไทยด้วย และเดวิดเป็ นบุคคลมีสญ ึ้ ไปอันไ
ั ชาติตง้ ั แต่สองสัญชาติขน
ด้รบั มาคราวเดียวกัน คือสัญชาติ อังกฤษ ฝรั่งเศส และ สัญชาติไทย
2. มูลพิพาทในคดีนี้เกีย่ วกับความสามารถในการทาพินยั กรรม
และแบบของพินยั กรรม เนื่องจาก บิดา มารดานายเดวิด อ้างว่า
นายเดวิดไม่มีความสามารถทาพินยั กรรมด้วยยังไม่บรรลุนิตภ ิ าวะตามกฎหมายอังก
ฤษและฝรั่งเศส แต่ตามกฎหมายไทยนายเดวิดสามารถทาพินยั กรรมได้
อีกทัง้ แบบของพินยั กรรมของประเทศอังกฤษ
และฝรั่งเศสก็แตกต่างจากแบบของพินยั กรรมตามกฎหมายไทย
ดังนัน
้ เมือ
่ มีมูลพิพาทกันด้วยความสามารถในการทาพินยั กรรมและแบบของพินยั กร
รมซึง่ นายเดวิดมีหลายสัญชาติรวมทัง้ สัญชาติไทยด้วยจึงจะใช้กฎหมายไทยทันทีไม่ไ
ด้ เนื่องจากเป็ นคดีทีม
่ ีองค์ประกอบต่างชาติ (Foreign Elements)

3.คดีทพ ี่ พ
ิ าทกันด้วยเรือ่ งความสามารถในการทาพินยั กรรมและแบบของพินยั กรรม
ซึง่ เป็ นคดีทม ี่ ีองค์ ประกอบต่างชาติดงั กล่าว
จึงต้องพิจารณาตามพระราชบัญญัตก ิ ฎหมายขัดกันอันเป็ นเครือ ่ งมือในการหากฎหม
ายมาบังคับกับคดี ซึง่ มาตรา 39 ของพระราชบัญญัตก ิ ฎหมายขัดกัน
บัญญัตวิ า่ ความสามารถของบุคคลทีจ่ ะทาพินยั กรรม
ให้เป็ นไปตามกฎหมายสัญชาติในขณะทีท ่ าพินยั กรรมจึงต้องหาสัญชาติของนายเดวิ
ดเพือ ่ หากฎหมายสัญชาติมาปรับใช้กบ ั คดี
และ มาตรา 6 ของพระราชบัญญัตก ิ ฎหมายขัดกัน บัญญัตวิ า่ ………ในกรณีใดๆ
ทีม
่ ีการขัดกันในเรือ ่ งสัญชาติของบุคคล
ถ้าสัญชาติหนึ่งสัญชาติใดซึง่ ขัดกันนัน
้ เป็ นสัญชาติไทย
กฎหมายสัญชาติซงึ่ จะใช้บงั คับได้แก่กฎหมายแห่งประเทศสยาม
ดังนัน้ นายเดวิดซึง่ มีหลายสัญชาติแต่มีสญั ชาติไทยอยูด
่ ว้ ยจึงต้องใช้สญ
ั ชาติไทยในกา
รหากฎหมายมาบังคับกับคดี
4. ดังนัน ้ เมือ
่ หากฎหมายแห่งสัญชาตินายเดวิดได้แล้วคือ กฎหมายไทย
จึงสามารถพิจารณา ความสามารถตามกฎหมายไทยต่อไป
รวมทัง้ แบบของพินยั กรรม ซึ่งมาตรา 25 ปพพ บัญญัตวิ า่
ผูเ้ ยาว์อาจทาพินยั กรรมได้เมือ ่ อายุ 15 ปี บริบูรณ์ และ
มาตรา 40 ของพระราชบัญญัตก ิ ฎหมายขัดกัน บัญญัตวิ า่
บุคคลจะทาพินยั กรรมตามแบบทีก ่ ฎหมายสัญชาติกาหนดไว้ก็ได้
หรือจะทาตามแบบทีก ่ ฎหมายของประเทศทีท ่ าพินยั กรรมกาหนดไว้ก็ได้
ดังนัน ้ เดวิดซึ่งมีสญั ชาติไทยและทาพินยั กรรมในประเทศไทยจึงสามารถทาพินยั กรร
มตามแบบทีก ่ ฎหมายไทยกาหนดได้ และ
แบบของพินยั กรรมย่อมสมบูรณ์ ตามกฎหมายไทย
หากทาตามแบบทีก ่ ฎหมายไทยกาหนด
เมือ ่ พิจารณาแบบของพินยั กรรมตามกฎหมายไทยอันเป็ นกฎหมายสัญชาติของเดวิด
และที่ ทีท ่ าพินยั กรรม จะพบว่า
กฎหมายไทยบัญญัตแ ิ บบของพินยั กรรมไว้หลายแบบ
รวมทัง้ แบบเขียนเองทัง้ ฉบับได้ ตาม มาตรา 1657 พินยั กรรมนัน ้
จะทาเป็ นเอกสารเขียนเองทัง้ ฉบับก็ได้
กล่าวคือผูท ้ าพินยั กรรมต้องเขียนด้วยมือตนเองซึง่ ข้อความทัง้ หมด วัน เดือน ปี
และลายมือชือ ่ ของตน
ดังนัน ้ นายเดวิดจึงทาพินยั กรรมแบบเขียนเองทัง้ ฉบับได้และมีผลสมบูรณ์ ตามกฎหม
ายไทย
5. เกีย่ วกับปัญหาการตีความ หรือ
การมีผลของพินยั กรรมใช้กฎหมายของประเทศใดบังคับ มาตรา 41 ของพระราชบั
ญญัตก ิ ฎหมายขัดกัน บัญญัตวิ า่ ผลและการตีความพินยั กรรมก็ดี
ความเสียเปล่าแห่งพินยั กรรมหรือข้อกาหนดพินยั กรรมก็ดี
ให้เป็ นไปตามกฎหมายภูมลิ าเนาของผูท ้ าพินยั กรรมในขณะทีผ
่ ท
ู้ าพินยั กรรมถึงแก่ค
วามตาย ดังนัน
้ นายเดวิดมึภูมลิ าเนาอยูใ่ นประเทศไทยในขณะทีถ ่ งึ แก่ความตา
ยจึงต้องใช้กฎหมายไทยบังคับกับคดี
สรุป
1. นายเดวิดมีสญ
ั ชาติองั กฤษ ฝรั่งเศส และ ไทย
่ งความสามารถในการทาพินยั กรรมซึง่ ต้องใช้กฎหม
2. มูลพิพาทในคดีนี้เกีย่ วกับเรือ
ายสัญชาติมาบังคับกับคดี และ แบบของพินยั กรรม
ซึง่ สามารถทาตามแบบกฎหมายสัญชาติ หรือ
ตามแบบกฎหมายของประเทศทีท ่ าพินยั กรรม นั่นคือกฎหมายไทย
3. ต้องใช้กฎหมายของประเทศไทยบังคับกับคดี
เมือ
่ นายเดวิดเป็ นบุคคลทีม
่ ีหลายสัญชาติทไี่ ด้มาในเวลาเดียวกัน
แต่นายเดวิดมีสญ ั ชาติไทยด้วย กฎหมายขัดกันของไทย
ให้ใช้กฎหมายสยามเป็ นกฎหมายสัญชาติทจี่ ะมาบังคับกับคดี
4. นายเดวิดมีความสามารถในการทาพินยั กรรม
ซึง่ ตามกฎหมายไทยผูเ้ ยาว์สามารถทาพินยั กรรมได้ตง้ ั แต่อายุ 15 ปี บริบูรณ์ และ
แบบของพินยั กรรมบังคับตามกฎหมายประเทศไทยได้เพราะเป็ นกฎหมายสัญชาติข
องผูท ้ าพินยั กรรม และ
แบบของพินยั กรรมแบบเขียนเองทัง้ ฉบับเป็ นแบบของพินยั กรรมทีส ่ ามารถทาได้ตา
มกฎหมายไทยได้โดยสมบูรณ์
5. ส่วนปัญหาการตีความ หรือ
การมีผลของพินยั กรรมให้ใช้กฎหมายของประเทศไทยบังคับกับคดี
6. ดังนัน ้ นางสาวดวงใจจึงสามารถรับมรดกตามพินยั กรรมได้
แม้นางสาวดวงใจจะเป็ นผูเ้ ยาว์แต่การทานิตก ิ รรมตาม มาตรา ๒๒
ผูเ้ ยาว์อาจทาการใด ๆ ได้ทง้ ั สิน ่ จะได้ไปซึ่งสิทธิอน
้ หากเป็ นเพียงเพือ ั ใดอันหนึ่ง
หรือเป็ นการเพือ่ ให้หลุดพ้นจากหน้าทีอ ่ นั ใดอันหนึ่ง ย่อมสามารถทาได้
วิเคราะห์
ข้อสอบข้อนี้มีวตั ถุประสงค์ในการประเมินความรูข ้ องนักศึกษาว่าสามารถวิเค
ราะห์ประเด็นโจทย์ทถ ี่ ามเกีย่ วกับการกาหนดสัญชาติได้หรือไม่ และ
สามารถวิเคราะห์ การใช้เครือ ่ งมือในการหากฎหมายมาบังคับกับคดีได้หรือไม่
ตามพระราชบัญญัตก ิ ฎหมายขัดกัน ในเรือ ่ งการหาสัญชาติของบุคคล
การหากฎหมายสัญชาติทจี่ ะมาบังคับกับคดี และ การวิเคราะห์มูลคดีพพ ิ าท
ตลอดจนการปรับใช้กฎหมายไทยบังคับกับคดีได้ถูกต้องหรือไม่
เป็ นการศึกษาอย่างบูรณาการในการใช้กฎหมาย
ซึง่ จาเป็ นสาหรับนักศึกษาวิชากฎหมายระหว่างประเทศ
คาถาม
นาย โมฮัมเหม็ด ชาวโรฮิงยา ต้องการหนีออกจากประเทศพม่า
โดยบุกขึน ้ ไปจี้เครือ ่ งบินสายการบินแควนตัสทีจ่ อดอยูท ่ ส
ี่ นามบินกรุงย่างกุง้
แล้วบังคับนายปี เตอร์ ซึง่ มีสญ ั ชาติองั กฤษ
และเป็ นกัปตันเครือ ่ งบินดังกล่าวให้ไปส่งทีป ่ ระเทศสิงคโปร์
แต่นายปี เตอร์ขดั ขืนจึงถูกนายโมฮัมเหม็ด ยิงบาดเจ็บ นางสาวมิชโิ กะ แอร์โฮสเตส
สัญชาติญป ี่ ุ่ น ทีท
่ างานในเครือ ่ งบินดังกล่าว เข้าช่วยเหลือกัปตัน
จึงถูกยิงบาดเจ็บอีกคน นายโมฮัมเหม็ด
ได้บงั คับให้กป ั ตันทีส่ องนาเครือ่ งบินลงจอดทีป ่ าปัวนิวกินีแทน แล้วหลบหนีไป
ต่อมานายโมฮัมเหม็ดได้รบ ั แจ้งจากเพือ่ นๆให้ทราบว่าคนไทยใจดีเลี้ยงดูช าวโรฮิงยา
อย่างดี ไม่ตอ ้ งหนีไปไหนให้มาปักหลักทีป ่ ระเทศไทยจะดีกว่า นายโมฮัมเหม็ด
ดีใจมากจึงเล็ดลอดหนีเข้ามาอยูใ่ นประเทศไทย แต่ถูก ตารวจของไทยจับตัวได้ ดังนี้
นักศึกษาจงพิจารณาว่า
1. ประเทศใดบ้างมีเขตอานาจรัฐในการดาเนินคดีจี้เครือ
่ งบินกับนายโมฮัมเหม็ดได้
2. ประเทศไทยมีเขตอานาจรัฐทีจ่ ะดาเนินคดีตอ
่ นายโมฮัมเหม็ดได้หรือไม่เพราะเหตุ
ใด
3. หากประเทศออสเตรเลียจะร้องขอให้รฐั บาลไทยส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนไปยังออสเตรเลี
ยจะได้หรือไม่หากประเทศไทยและออสเตรเลียมีสนธิสญ ั ญาส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนระหว่า
งกัน

แนวตอบ
หลักกฎหมาย
เขตอานาจรัฐ หมายถึง อานาจตามกฎหมายของรัฐเหนือ บุคคล ทรัพย์สน ิ
หรือเหตุการณ์ ตา่ ง ๆ
ซึง่ หากพิจารณาเขตอานาจรัฐในฐานะทีเ่ ป็ นส่วนสาคัญของอธิปไตยของรัฐ แล้ว
อาจแบ่งเขตอานาจรัฐออกเป็ น เขตอานาจในทางนิตบ ิ ญ
ั ญัติ เขตอานาจในทางศาล
และเขตอานาจในการบังคับการตามกฎหมายในทางบริหาร
แต่หากคานึงถึงประโยชน์ในการทาความเข้าใจขอบเขตของเขตอานาจรัฐ
อาจจาแนกเขตอานาจของรัฐออก ดังนี้
1) เขตอานาจในการสร้างหรือบัญญัตก
ิ ฎหมาย โดยฝ่ ายนิตบ
ิ ญ
ั ญัติ
2) เขตอานาจในการบังคับใช้กฎหมายหรือบังคับการให้เป็ นไปตามกฎหมาย
โดยฝ่ ายตุลาการ และโดยฝ่ ายบริหาร
การใช้เขตอานาจรัฐ ในบริบทของกฎหมายระหว่างประเทศ
โดยได้มีการศึกษาสารวจทางปฏิบตั ขิ องรัฐต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง
พบว่าการใช้เขตอานาจของรัฐเหนือบุคคล ทรัพย์สน ิ หรือเหตุการณ์ ตา่ ง ๆ นัน

มีมูลฐาน (Basis) เนื่องมาจากหลักการ (principle) 5 ประการ
ทีส
่ นับสนุนการใช้เขตอานาจของรัฐด้วยเหตุผลทีแ ่ ตกต่างกัน ได้แก่
1. หลักดินแดน (Territorial Principle) หมายถึง รัฐมีเขตอานาจเหนือบุคคล
ทรัพย์สน
ิ หรือเหตุการณ์ ตา่ ง ๆ ภายในดินแดนของรัฐ โดยไม่จาต้องคานึงว่า
บุคคลนัน้ มีสญ
ั ชาติของรัฐใด หรือทรัพย์สน
ิ นัน
้ เป็ นของบุคคลสัญชาติใด
2. หลักสัญชาติ (Nationality Principle)
ถือว่าสัญชาติเป็ นสิง่ เชือ่ มโยงทีท่ าให้รฐั สามารถใช้เขตอานาจของตนเหนือบุคคลซึง่ ถื
อสัญชาติของรัฐ
ตลอดจนทรัพย์สน ิ ทีม่ ีสญ ั ชาติของรัฐโดยไม่ตอ ้ งคานึงว่าบุคคลหรือทรัพย์สน
ิ นัน
้ จะอยู่
ทีใ่ ด
3. หลักป้ องกัน (Protection Principle)
รัฐสามารถใช้เขตอานาจของตนเหนือบุคคลซึง่ กระทาการอันเป็ นภัยต่อความมั่นคงข
องรัฐ ทัง้ ในทางการเมืองและในทางเศรษฐกิจ เช่น การคบคิดกันล้มล้างรัฐบาล
การจารกรรม การปลอมแปลงเงินตรา ตั๋วเงิน ดวงตรา แสตมป์ หนังสือเดินทาง
หรือเอกสารมหาชนอืน ่ ๆ ซึง่ ออกโดยรัฐ เป็ นต้น
แม้วา่ ผูก
้ ระทาจะมิใช่บุคคลสัญชาติของรัฐ
และการกระทานัน ้ ภายในดินแดนของรัฐนัน
้ จะมิได้เกิดขึน ้ ก็ตาม
4. หลักผูถ
้ ูกกระทา (Passive Personality Principle) หลักสัญชาติ
และหลักผูถ ้ ูกกระทา (passive
personality) ต่างก็อาศัยสัญชาติของบุคคลเป็ นตัวเชือ่ มโยงระหว่างบุคคลและรัฐผูใ้
ช้เขตอานาจ แต่มีขอ ้ แตกต่างกันคือ ตามหลักสัญชาติ
รัฐสามารถใช้เขตอานาจของตนโดยมีมูลฐานมาจากสัญชาติของผูก ้ ระทาความผิด
ในขณะทีต ่ ามหลัก passive
personality เขตอานาจของรัฐกลับอาศัยมูลฐานจากสัญชาติของเหยือ ่ หรือผูไ้ ด้รบ
ั ผ
ลร้ายจากการกระทาความผิด
5. หลักสากล (Universality Principle)
รัฐใดๆก็ตามย่อมมีเขตอานาจเหนืออาชญากรรมทีก
่ ระทบต่อประชาคมระหว่างประเ
ทศโดยส่วนรวม
โดยไม่คานึงว่าอาชญากรรมนัน ้ จะเกิดขึน ้ ในดินแดนของรัฐนัน
้ หรือไม่
และผูก
้ ระทาหรือผูไ้ ด้รบ
ั ผลเสียหายจากการกระทาจะเป็ นคนสัญชาติของรัฐใด ดังนัน

เขตอานาจสากลจึงมีความเชือ ่ มโยงอยูก ่ บ
ั ลักษณะของการกระทาความผิดหรืออาชญ
ากรรมเป็ นสาคัญ ได้แก่ การจี้เครือ่ งบิน โจรสลัด การจับคนเป็ นตัวประกัน
การค้ายาเสพติด การก่อการร้ายเป็ นต้น
การพิจารณากรณีทม ี่ ีการร้องขอให้สง่ ผู้รา้ ยข้ามแดน
ต้องพิจารณาตามลาดับต่อไปนี้คอ ื ประเภทของบุคคล ประเภทของความผิด
ฐานะพิเศษบางประการของผูก ้ ระทาความผิด พิธีการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดน
ผลการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดน และหลักทั่วไปของการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดน
หลักทั่วไปของการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนอาจสรุปได้ดงั นี้
1. บุคคลทีถ
่ ูกขอให้สง่ ตัว เป็ นผูก ้ ระทาผิดทางอาญาหรือถูกลงโทษในทางอาญา
ในเขตของประเทศผูร้ อ้ งขอ
หรือเป็ นคดีอาญาทีม ่ ีมูลทีจ่ ะนาตัวผูต
้ อ ้ ฟ้ องร้องต่อศาลได้
้ งหาขึน
2. ต้องไม่ใช่คดีทข ี่ าดอายุความ
หรือคดีทศ ี่ าลของประเทศใดได้พจิ ารณาและพิพากษาให้ปล่อยหรือได้รบ
ั โทษในควา
มผิดทีร่ อ้ งขอให้สง่ ข้ามแดนแล้ว
3. บุคคลทีถ
่ ูกขอให้สง่ ตัว
จะเป็ นพลเมืองของประเทศผูร้ อ้ งขอหรือของประเทศผูร้ บ
ั คาขอ
หรือของประเทศทีส ่ ามก็ได้
4. ความผิดซึ่งบุคคลผูถ
้ ูกขอให้สง่ ตัวได้กระทาไปนัน

ต้องเป็ นความผิดต่อกฎหมายอาญาของทัง้ สองประเทศ
คือประเทศผูร้ อ้ งขอและประเทศผูร้ บ
ั คาขอ (principle of double criminality)
5. ต้องเป็ นความผิด
ซึง่ กฎหมายกาหนดโทษจาคุกไม่ต่ากว่าหนึ่งปี (ตามอนุสญ
ั ญา Montevideo ค.ศ.
1933) และกฎหมายไทยก็ยด ึ ถือหลักเกณฑ์นี้ดว้ ย
6. บุคคลผูถ
้ ูกขอตัวได้ปรากฏตัวอยู่ในประเทศทีถ
่ ูกร้องขอให้สง่ ตัว (ประเทศผู้
รับคาขอ)
7. ประเทศเจ้าของท้องทีเ่ กิดเหตุ (ประเทศผูร้ อ้ งขอ) เป็ นผูด
้ าเนินการร้องขอใ
ห้สง่ ตัวโดยปฏิบตั ต
ิ ามพิธีการต่างๆ
ครบถ้วนดังทีก่ าหนดไว้ในสนธิสญ ั ญาหรือตามกฎหมายว่าด้วยการนัน ้
8. ผูท
้ ถ
ี่ ูกส่งตัวไปนัน ้
จะต้องถูกฟ้ องเฉพาะในความผิดทีร่ ะบุมาในคาขอให้สง่ ตัวหรืออย่างน้อยทีส
่ ุดจะต้อง
เป็ นความผิดทีม ่ ีระบุไว้ในสนธิสญ
ั ญาระหว่างกัน
9. ต้องไม่ใช่ความผิดทางการเมือง
เพราะมีหลักห้ามการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนในคดีการเมือง
นอกจากนัน้ ยังมีความผิดบางประเภทซึง่ ประเทศต่างๆ ไม่นิยมส่งผูร้ า้ ยข้ามแดน
หลักกฎหมายไทยกาหนดวิธีพจิ ารณาการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนไว้สองวิธีคอ ื
กรณีทป ี่ ระเทศไทยมีสนธิสญ ั ญาหรือสัญญาส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนไว้กบ ั ประเทศผูร้ อ้ งขอ
ก็ให้พจิ ารณาสนธิสญ ั ญาหรือสัญญานัน้ เป็ นหลักพิจารณา
และกรณีทป ี่ ระเทศไม่มีสนธิสญ
ั ญาหรือสัญญาส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนไว้กบ ั ประเทศผูร้ อ้ งข
อก็ให้นาหลักทั่วๆ ไปในพระราชบัญญัตส ิ ง่ ผูร้ า้ ยข้ามแดน พ.ศ.
2472 มาเป็ นหลักพิจารณา และ
การส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนเป็ นอานาจอธิปไตยของประเทศผูร้ บ ั คาขอทีจ่ ะส่งหรือไม่สง่ ก็ไ
ด้
วินิจฉัย
1. ประเทศใดบ้างมีเขตอานาจรัฐในการดาเนินคดีจี้เครือ
่ งบินกับนายโมฮัมเหม็ดได้
ในกรณี นี้จะเห็นได้วา่ การกระทาของนายโมฮัมเหม็ดเป็ นการกระทาทีเ่ ป็ นอันตรายต่
อมวลมนุษยชาติตามหลักเกณฑ์ในการกาหนดเขตอานาจศาลตามมูลฐานหลักสากลที่
ไม่คานึงว่าผูใ้ ดเป็ นผูก
้ อ
่ ความผิด และใครจะเป็ นผูเ้ สียหายโดยตรง และ
ไม่วา่ จะกระทาในเขตแดนของรัฐใดก็ตาม ทุกประเทศก็มีเขตอานาจรัฐเหนือคดีนี้
ดังนัน้ ประเทศทีม ่ ีเขตอานาจรัฐเหนือคดีนี้ คือ ทุกประเทศ
2.ประเทศไทยมีเขตอานาจรัฐทีจ่ ะดาเนินคดีตอ ่ นายโมฮัมเหม็ดได้หรือไม่เพราะเหตุ
ใดนัน้ เมือ
่ ทุกประเทศมีเขตอานาจรัฐตามมูลฐานหลักสากล
ดังนัน
้ ประเทศไทยย่อมมีเขตอานาจรัฐเหนือคดีนี้ดว้ ย
แม้วา่ การกระทาในการจี้เครือ ้ ในประเทศไทย
่ งบินของนายโมฮัมเหม็ดไม่ได้เกิดขึน
และคนไทยไม่ได้เป็ นผูเ้ สียหาย หรือ
คนไทยไม่ได้เกีย่ วข้องในการกระทาผิดเลยก็ตาม
3.หากประเทศออสเตรเลียจะร้องขอให้รฐั บาลไทยส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนไปยังออสเตรเลีย
จะได้หรือไม่หากประเทศไทยและออสเตรเลียมีสนธิสญ ั ญาส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนระหว่าง
กัน ในกรณี นี้ ประเทศออสเตรเลียก็มีเขตอานาจรัฐเหนือคดีนี้ เช่นกัน
ในกรณีของการมีเขตอานาจรัฐทับซ้อน (Concurrent
Jurisdiction) ซึ่งหมายถึงการทีม
่ ีประเทศมากกว่าหนึ่งประเทศมีเขตอานาจรัฐเหนื อ
การกระทาอันเป็ นความผิด ดังเช่นในกรณีนี้
ประเทศทีจ่ ะใช้เขตอานาจรัฐในการดาเนินคดี
จะต้องเป็ นประเทศทีผ ่ กู้ ระทาผิดได้เข้าไปอยูใ่ นเขตอานาจรัฐนัน ้ ๆ
ดังนัน ้ หากผูก ้ ระทาผิดไม่ได้เข้าไปอยูใ่ นเขตอานาจรัฐนัน ้
ถึงแม้รฐั นัน ้ จะมีเขตอานาจรัฐเหนือคดีดงั กล่าวก็จะไม่สามารถใช้อานาจรัฐได้
เว้นแต่จะมีการขอให้มีการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนเพือ ่ ส่งตัวผูก ้ ระทาผิดไปยังรัฐทีร่ อ้ งขอนั้
น ดังนัน ้ ประเทศออสเตรเลียซึง่ ก็มีเขตอานาจรัฐเหนือการกระทาผิดฐานจี้เครือ ่ งบิน
จึงอยูใ่ นกรณีดงั กล่าวนี้
หากประเทศออสเตรเลียประสงค์ทจี่ ะขอให้มีการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนจากประเทศไทย
ซึง่ ผูก
้ ระทาผิดได้เข้ามาอยูใ่ นเขตอานาจรัฐของไทยแล้ว
และประเทศไทยซึง่ มีเขตอานาจรัฐเหนือคดีนี้ดว้ ยและมีสนธิสญ ั ญาส่งผูร้ า้ ยข้ามแดน
กับประเทศออสเตรเลียนัน ้ จะส่ง หรือ
ไม่สง่ นายโมฮัมเหม็ดให้แก่ประเทศออสเตรเลียก็ได้
โดยปกติประเทศทีไ่ ด้ตวั ผูก ้ ระทาผิดหากไม่ได้เกีย่ วข้องโดยตรงมักจะส่งผูร้ า้ ยข้ามแ
ดนไปยังประเทศทีม ่ ีความเกีย่ วข้องกับการกระทาผิด เช่นในกรณีของ
ประเทศอังกฤษ หรือ ประเทศญีป ่ ุ่ น เป็ นต้น
แต่ในกรณี ทป ี่ ระเทศออสเตรเลียซึง่ ไม่ได้เกีย่ วข้องโดยตรง มาร้องขอให้สง่ ผูร้ า้ ยข้าม
แดนประเทศทีไ่ ด้ตวั ผูก ้ ระทาผิดมักจะดาเนินคดีกบ ั ผูน
้ น
้ ั เองในฐานะทีเ่ ป็ นเจ้าของดิน
แดนทีผ ่ กู้ ระทาผิดเข้ามาอยูใ่ นเขตอานาจรัฐ
เว้นแต่ประเทศทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรงจะร้องขอให้มีการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนดังกล่าว เช่น
อังกฤษ หรือ ญีป ่ ุ่ น
สรุป
1. ทุกประเทศมีเขตอานาจรัฐในการดาเนินคดีจี้เครือ
่ งบินกับนายโมฮัมเหม็ดได้
2. ประเทศไทยมีเขตอานาจรัฐทีจ่ ะดาเนินคดีตอ
่ นายโมฮัมเหม็ดได้ตามมูลฐานหลักส
ากล
3. ประเทศออสเตรเลียจะร้องขอให้รฐั บาลไทยส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนไปยังออสเตรเลียได้
หากประเทศไทยและออสเตรเลียมีสนธิสญ ั ญาส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนระหว่างกัน
แต่ประเทศไทยย่อมมีอานาจอธิปไตยในการส่งหรือไม่สง่ ผูร้ า้ ยข้ามแดนก็ได้

วิเคราะห์
ข้อสอบข้อนี้มีวตั ถุประสงค์ในการประเมินผลความรู ้
ความเข้าใจเกีย่ วกับเขตอานาจรัฐ และ มูลฐานในการกาหนดเขตอานาจรัฐ
การใช้อานาจรัฐ ตลอดจนความเข้าใจเกีย่ วกับการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดน
นักศึกษาส่วนใหญ่ตอบข้อสอบข้อนี้ได้แต่ไม่สมบูรณ์ ครบถ้วน
ส่วนนักศึกษาทีต ่ อบผิดมักจะไม่เข้าใจเขตอานาจรัฐตามหลักสากล
โดยตอบว่าการกระทาผิดไม่ได้เกิดขึน ้ ในราชอาณาจักรไทยและ
คนไทยไม่ได้เกีย่ วข้องในการกระทาผิดในคดีดงั กล่าวเลย
นอกจากนัน ้ นักศึกษาบางส่วนยังตอบผิดเกีย่ วกับการไม่มีเขตอานาจรัฐของออสเตรเ
ลีย ด้วยเหตุผลทีว่ า่ การกระทาผิด บุคคลทีก ่ ระทาผิด
หรือผูเ้ สียหายไม่ได้เกีย่ วข้องกับออสเตรเลียเลย เป็ นต้น
การตอบข้อสอบผิดในลักษณะนี้สว่ นใหญ่เนื่องจากไม่ได้ศก ึ ษามา
เพราะเป็ นหลักเกณฑ์ท่วั ไปเกีย่ วกับเขตอานาจรัฐ
จึงแนะนาให้นกั ศึกษาตัง้ ใจอ่านหนังสือให้เข้าใจ
วิชานี้ไม่ได้ยากหากได้ศก ึ ษามาอย่างดี
นักศึกษาจาเป็ นจะต้องมีความรูจ้ งึ จะสามารถสอบผ่านได้
คาถาม
นายเจฟฟรี เอกอัครราชทูต ชาวอังกฤษ ประจาประเทศ ฝรั่งเศส
ได้นารถยนต์สว่ นตัวของตนไปจอดอยูท ่ ี่ ถนน ชองเอลิเซ่ ซึง่ เป็ นทีห
่ า้ มจอด
จึงถูกตารวจจราจรฝรั่งเศสจับ และถูกปรับ
นายเจฟฟรีโต้แย้งว่าตนเป็ นทูตได้รบ ั เอกสิทธิแ ์ ละความคุม ้ กันทางการทูต
จะไม่ถูกจับ หรือ ปรับแต่ประการใด แต่ตารวจฝรั่งเศสก็โต้แย้งว่า นายเจฟฟรี
ไม่ได้กาลังปฏิบตั ห ิ น้าทีท
่ ูต ออกมาทาธุรกิจส่วนตัวและใช้รถยนต์สว่ นตัวด้วย
จึงไม่รบ ั ฟัง นายเจฟฟรีโกรธมาก
จึงทาหนังสือประท้วงไปยังรัฐบาลฝรั่งเศสและแจ้งรัฐบาลอังกฤษให้ทราบว่ารัฐบาลฝรั่
งเศสละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ
รัฐบาลอังกฤษจึงทาหนังสือประท้วงรัฐบาลฝรั่งเศสทีจ่ บ ั กุมเอกอัครราชทูต แล้วปรับ
ซึง่ ฝ่ าฝื นกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการคุม ้ ครองทูต
เนื่องจากทูตจะบริโภคเอกสิทธิแ ์ ละความคุม ้ กันทางการทูต
นักศึกษาจงพิจารณาว่าในกรณีดงั กล่าวนี้
รัฐบาลฝรั่งเศสจะต้องรับผิดชอบต่อทูตและรัฐบาลอังกฤษหรือไม่อย่างไร และ
ข้อโต้แย้งของตารวจจราจรฝรั่งเศสชอบด้วยกฎหมายหรือไม่เพราะเหตุใด
แนวตอบ
หลักกฎหมาย
“เอกสิทธิท์ างทูต” เป็ นสิทธิพเิ ศษของรัฐผูร้ บ
ั ทีใ่ ห้แก่ผแ ู้ ทนทางทูตของรัฐผูส ้ ง่ ตา
มทางปฏิบตั ริ ะหว่างประเทศอันเป็ นประเพณีนิยม
โดยอาศัยหลักอัธยาศัยไมตรีและการถ้อยทีถอ ้ ยปฏิบตั ต ิ อ่ กันเป็ นมูลฐาน
สิทธิพเิ ศษเช่นว่านี้อาจเป็ นการให้ประโยชน์หรือให้ผลปฏิบตั อ ิ ย่างใดอย่างหนึ่งเป็ นพิ
เศษ เช่น การให้สท ิ ธิผแ
ู้ ทนทางทูตมีโบสถ์สาหรับประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
การให้เกียรติในงานพิธี อาทิ
การยิงสลุตให้ในเมือ
่ กองเรือรบของรัฐผูส ้ ง่ เข้าไปในเมืองท่าของรัฐผูร้ บ
ั เป็ นต้น
หรืออาจเป็ นการยกเว้นไม่ให้ตอ ้ งปฏิบตั กิ ารหรือไม่ให้ตอ้ งรับภาระอย่างใดอย่างหนึ่ง
เช่น
การยกเว้นไม่ตอ้ งให้ผแ
ู้ ทนทางทูตต้องปฏิบตั ก ิ ารในฐานะของคนต่างด้าวในรัฐผูร้ บ ั
การยกเว้นภาษี อากรให้แก่ผแ ู้ ทนทางทูต เป็ นต้น
ส่วน “ความคุม ้ กันทางทูต” นัน ้ เป็ นสิทธิของรัฐผูส
้ ง่ หรือทีร่ ฐั ผูส
้ ง่ มีอยูใ่ นตัวตาม
กฎหมายระหว่างประเทศ และพึงสังเกตไว้ดว้ ยว่า ความคุม ้ กันเป็ นสิทธิของรัฐผูส ้ ง่
ไม่ใช่ของผูแ้ ทนทางทูตของรัฐผูส ้ ง่ การสละความคุม ้ กันจึงให้รฐั ผูส ้ ง่ เป็ นผูส
้ ละ
ผูแ
้ ทนทางทูตจะสละเสียเองหาได้ไม่ ความคุม ้ กันเช่นว่านี้
ั ปลอดหรือหลุดพ้นจากอานาจหรือภาระอย่างใดอย่างหนึ่ง
เป็ นการยกเว้นให้ผไู้ ด้รบ
เช่น ความคุม ้ กันจากการจับกุม กักขังหรือจาขัง
ความคุม้ กันจากอานาจพิจารณาพิพากษาของศาล
หรือจากการถูกฟ้ องร้องคดียงั โรงศาลของรัฐผูร้ บ ั
เอกสิทธิท ์ างทูตได้แก่ เอกสิทธิท ์ างด้านภาษี อากร และค่าธรรมเนียม
ั เอกสิทธิเ์ กีย่ วกับภาษี รายได้ แบ่งได้เป็ น 2
หรือค่าภาระทีเ่ รียกเก็บในรัฐผูร้ บ
ลักษณะ คือ เอกสิทธิท ์ างด้านภาษี ทเี่ กีย่ วกับสถานทีข่ องคณะผูแ้ ทน
์ างด้านภาษี ของบุคคลในคณะผูแ
กับเอกสิทธิท ้ ทน
เอกสิทธิท ์ างด้านภาษี เกีย่ วกับสถานทีข่ องคณะผูแ ้ ทนนัน้ โดยหลักแล้ว
สถานทีข ่ องคณะผูแ ์ องรัฐผูส
้ ทนซึง่ เป็ นกรรมสิทธิข ้ ง่ หรือบุคคลทีท
่ าในนามของรัฐผูส
้ ่
ง ซึง่ ได้ใช้ประโยชน์ ในทางราชการ ย่อมถูกยกเว้นจากการเรียกเก็บภาษี บารุงท้องที่
หรือภาษี ทเี่ กีย่ วกับการซื้อขาย
ข้อยกเว้นทีไ่ ม่ได้รบ
ั สิทธิพเิ ศษ ดังต่อไปนี้คอ

(ก) ภาษี ทางอ้อมชนิดทีต่ ามปกติรวมอยูใ่ นราคาของสินค้าหรือบริการแล้ว
ภาษี ประเภทนี้เป็ นภาษี ทบ
ี่ วกเข้าไปในราคาสินค้า เช่น ภาษี สน
ิ ค้าของฟุ่ มเฟื อย
เป็ นต้น สาหรับภาษี ทางอ้อมนี้ ตัวแทนทางการทูตมิได้รบ ั การยกเว้นภาษี
(ข) ค่าติดพัน
และภาษี จากอสังหาริมทรัพย์สว่ นตัวซึ่งตัง้ อยูใ่ นอาณาเขตของรัฐผูร้ บ
ั นอกจากตัวแท
นทางการทูตครอบครองอสังหาริมทรัพย์นน ้ ั ไว้
ในนามของรัฐผูส้ ง่ เพือ
่ ความมุง่ ประสงค์ของคณะผูแ ้ ทน
(ค) อากรกองมรดก การสืบมรดก หรือการรับมรดกซึ่งรัฐผูร้ บ
ั เรียกเก็บ
(ง) ค่าติดพัน และภาษี จากเงินได้สว่ นตัว ซึง่ มีแหล่งกาเนิดในรัฐผูร้ บ

และภาษี เก็บจากเงินทุนซึง่ ได้ลงทุนประกอบการพาณิชย์ในรัฐผูร้ บ ั
(จ) ค่าภาระซึ่งเรียกเก็บสาหรับบริการจาเพาะทีไ่ ด้ให้
(ฉ) ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมศาล หรือสานวนความ
ค่าติดพันในการจานอง และอากรแสตมป์ ในส่วนทีเ่ กีย่ วกับอสังหาริมทรัพย์
นอกจากนี้ยงั มีเอกสิทธิทางด้าน เสรีภาพในการคมนาคมสือ ่ สาร และ
เอกสิทธิความคุม ้ กันเกีย่ วกับตัวบุคคลทีจ่ ะไม่ถูกจับกุม คุมขังไม่วา่ รูปแบบใด
ให้รฐั ผูร้ บ
ั ปฏิบตั ติ อ
่ ตัวแทนทางทูตด้วยความเคารพตามสมควร
และดาเนินการทีเ่ หมาะสมทัง้ มวลทีจ่ ะป้ องกันการประทุษร้ายใดต่อตัวบุคคล เสรีภาพ
หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต"
เอกสิทธินี้ให้ความคุม ้ กันเกีย่ วกับตัวบุคคลโดยเด็ดขาด
และไม่จากัดขอบเขต คือหมายความ ครอบคลุมถึงการกระทาทุกประการ
ไม่จากัดเฉพาะแต่ทีป ่ ฏิบตั ห
ิ น้าทีท
่ างการของตัวแทนทางการทูตเท่านัน ้
สาหรับความคุม ้ กันเกีย่ วกับสถานทีข ่ องคณะผูแ ้ ทน
หรือความละเมิดมิได้เกีย่ วกับสถานทีท ่ าการของผูแ ้ ทนทางการทูต
เป็ นหลักกฎหมายทีย่ อมรับกันโดยทั่วไป
จากหลักดังกล่าวก่อให้เกิดภาระหน้าทีแ ่ ก่รฐั ผูร้ บ ั คือ
รัฐผูร้ บ
ั จะต้องงดเว้นการกระทาทีเ่ ป็ นสภาพบังคับ เช่น
การบุกรุกเข้าในสถานทูตเพือ ่ กระทาการบางอย่าง
และในขณะเดียวกันรัฐผูร้ บ ั ก็จะต้องให้ความคุม ้ ครองแก่สถานทีด ่ งั กล่าวด้วย
ความคุม ้ กันเกีย่ วกับสถานทีน ่ ี้
มิได้หมายความถึงสถานทีต ่ ง้ ั ของคณะผูแ ้ ทนทางการทูตแต่อย่างเดียว
แต่รวมถึงทีอ ่ ยูส
่ ว่ นตัวของผูแ ้ ทนทางการทูตด้วย
ความคุม ้ กันในสถานทีน ่ ี้ถือว่าเป็ นสิง่ จาเป็ นทีจ่ ะทาให้คณะผูแ ้ ทนสามารถปฏิบตั งิ านไ
ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
เจ้าพนักงานส่วนท้องถิน ่ ไม่สามารถทีจ่ ะเข้าไปในสถานทีท ่ าการทางการทูต
เพือ่ ปฏิบตั ก ิ ารควบคุม จับกุมบุคคลในสถานทูตเพือ ่ ตรวจค้นเอกสาร
เว้นเสียแต่ได้รบ ั ความยินยอมจากหัวหน้าคณะผูแ ้ ทน
วินิจฉัย
การทีน
่ ายเจฟฟรี เอกอัครราชทูต ชาวอังกฤษ ประจาประเทศ ฝรั่งเศส
ได้นารถยนต์สว่ นตัวของตนไปจอดอยูท ่ ี่ ถนน ชองเอลิเซ่ ซึง่ เป็ นทีห
่ า้ มจอด
และได้ถูกตารวจจราจรฝรั่งเศสจับ และถูกปรับ
นายเจฟฟรีโต้แย้งว่าตนเป็ นทูตได้รบ
ั เอกสิทธิแ์ ละความคุม้ กันทางการทูต
จะไม่ถูกจับ หรือ ปรับแต่ประการใด แต่ตารวจฝรั่งเศสก็โต้แย้งว่า นายเจฟฟรี
ไม่ได้กาลังปฏิบตั ห ิ น้าทีท ่ ูต ออกมาทาธุรกิจส่วนตัวและใช้รถยนต์สว่ นตัวด้วย
จึงไม่รบ
ั ฟังนัน ้ ไม่ชอบเพราะกฎหมายการทูตกาหนดให้เอกสิทธิความคุม ้ กันเกีย่ วกับ
ตัวบุคคลทีจ่ ะไม่ถูกจับกุม คุมขังไม่วา่ รูปแบบใด
และให้รฐั ผูร้ บ
ั ปฏิบตั ต ิ อ
่ ตัวแทนทางทูตด้วยความเคารพตามสมควร
และดาเนินการทีเ่ หมาะสมทัง้ มวลทีจ่ ะป้ องกันการประทุษร้ายใดต่อตัวบุคคล เสรีภาพ
หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต
เอกสิทธินี้ให้ความคุม ้ กันเกีย่ วกับตัวบุคคลโดยเด็ดขาด และไม่จากัดขอบเขต
คือหมายความ ครอบคลุมถึงการกระทาทุกประการ
ไม่จากัดเฉพาะแต่ทีป ่ ฏิบตั หิ น้าทีท
่ างการของตัวแทนทางการทูตเท่านัน

สรุป
รัฐบาลฝรั่งเศสจะต้องรับผิดชอบต่อทูตและรัฐบาลอังกฤษ และ
ข้อโต้แย้งของตารวจจราจรฝรั่งเศสไม่ชอบด้วยกฎหมายเพราะเอกสิทธิและความคุม ้
กันในตัวบุคคลอันละเมิดมิได้น้นั เป็ นเอกสิทธิเด็ดขาดไม่จากัดเฉพาะแต่ทปี่ ฏิบตั ห
ิ น้า
ทีท
่ างการของตัวแทนทางการทูตเท่านัน ้ อย่างไรก็ตามตัวทูตเองจะต้องมีสานึกในกา
รปฏิบตั ห
ิ น้าทีข
่ องตนโดยเคารพต่อกฎหมายของรัฐผูร้ บ ั ด้วย
วิเคราะห์
ข้อสอบข้อนี้มีวตั ถุประสงค์ทีจ่ ะประเมินความรูข ้ องนักศึกษา เกีย่ วกับ เอกสิทธิ
และความคุม ้ กันทางการทูตว่านักศึกษามีความรู ้ และสามารถวิเคราะห์
การปรับใช้หลักกฎหมายดังกล่าวกับข้อเท็จจริงทีเ่ กิดขึน ้ ได้หรือไม่
นักศึกษาส่วนใหญ่สามารถตอบข้อสอบนี้ได้ แต่มีนกั ศึกษาบางส่วนทีต ่ อบผิดโดย
ตอบว่า
การกระทาของทูตทีผ ่ ด
ิ กฎหมายในขณะทีไ่ ม่ได้ปฏิบตั ห ิ น้าทีจ่ ะไม่ได้รบั เอกสิทธิและ
ความคุม ้ กัน
ซึง่ หลักเกณฑ์การให้ความคุม ้ กันนี้ในข้อนี้ตอ
้ งการทีจ่ ะให้ความคุม ้ กันทูตแบบเด็ดขา

You might also like