You are on page 1of 16

กฎหมายระหว่ างประเทศ: หลักการทั่วไป

 บรรยายคณะนิติศาสตร์

 ครั้งที่ 1-2
 โดย ผ.ศ. วิชยั ศรี รัตน์
กฎหมายระหว่างประเทศ: หลักการทัว่ ไป
 ความหมายของ กม รปท คือหลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติ หรื อข้ อตกลงร่ วมกันที่ใช้
บังคับในความสั มพันระหว่ างประเทศ และ การแบ่ งประเภทของกฎหมายระหว่ าง
ประเทศ
 แหล่ งทีม่ าของกฎหมายระหว่ างประเทศ
 ความแตกต่ างระหว่ างกฎหมายระหว่ างประเทศกับกฎหมายภายในประเทศ
(International law is an Imperfect legal system)
 ความสั มพันธ์ ระหว่ างกฎหมายระหว่ างประเทศ กับกฎหมายภายในประเทศ
 บุคคล (หรื อตัวกระทาการ) ในความสั มพันระหว่ างประเทศ
 รัฐ - ความหมายของรัฐ
 องค์ การระหว่ างประเทศ – ความหมายขององค์ การระหว่ างประเทศ
 สิ ทธิ ความรับผิดชอบของรัฐ และพันธกรณีระหว่ างประเทศ
เรื่ องที่ 1. ความหมายของกฎหมายระหว่ างประเทศ
 กฎหมายระหว่ างประเทศหมายถึงกฎเกณฑ์ ทใี่ ช้ บังคับในความสั มพันธ์ ของรัฐ
อธิปไตย หรื อ องค์ การระหว่ างประเทศ (สมาคมของรัฐ)
 หลักเกณฑ์ หรื อเกณฑ์ แห่ งความสั มพันธ์ ระหว่ างรัฐ เกีย่ วกับสิ ทธิ หน้ าที่ หรื อ
ความรับผิดชอบระหว่ างรัฐหรื อ แนวปฏิบัติ ทีร่ ัฐพึงมีต่อกัน
 ประเด็นเรื่ องผู้ทรงสิ ทธิ และ หน้ าที่ (subject of international law)
 ลักษณะทีแ่ ตกต่ างจากกฎหมายภายในของ รัฐ เนื่องจากโครงสร้ างของสั งคมและ
พืน้ ฐานทางกฎหมายของกฎหมายทั้งสองระบบ แตกต่ างกันเปรียบเทียบ กับ
กฎหมายภายในของรัฐ องค์ กรใดบ้ างมีสิทธิหน้ าที่
 กล่ าวได้ ว่ากฎหมายระหว่ าประเทศ จาลอง หรื อสะท้ อนหลักการของกฎหมายระบบ
ภายใน
เรื่ องที่ 1. ความหมายของกฎหมายระหว่ างประเทศ
ความแตกต่างระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศ คดีเมือง /คดีบุคคล

 คดีเมือง กฎเกณฑ์ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ มุ่งกากับ พฤติกรรมของรัฐโดยตรงในความสัมพันธ์


ระหว่างประเทศ ยังแบ่งแยกย่อย หลายสาขา เช่น กฎหมายทะเล กฎหมายเศรษฐกิจ รปท (บางที
เรี ยก กฎหมายการค้า รปท) กฎหมาย รปท ว่าด้วยสงคราม กฎหมายสิ่ งแวดล้อม ฯลฯ

 คดีบุคคล เป็ นกรอบความร่ วมมือทางกฎหมายระหว่างรัฐที่มุ่งใช้บงั คับในความสัมพันธ์ระหว่าง


เอกชนกับเอกชน (regulate relationship between individuals) ในบริ บท
ระหว่างประเทศ ซึ่งอาจอยูใ่ นข้อตกลงหรื ออนุสญ
ั ญา แนวทาง หรื อ คาแนะนา เพื่อสร้างความ
เป็ นเอกภาพของกฎหมายภายในของรัฐต่างต่าง หรื อ เพื่อให้สอดคล้องกัน อาจมีหลายสาขา เช่น
กฎหมายว่าด้วยการขัดกันของกฎหมาย กฎหมายสัญชาติ กฎหมายพาณิ ชย์นาวี กฎหมายเกี่ยวกับ
การซื้อขายระหว่างประเทศ กฎหมายเกี่ยวกับกระบวนการพิจารณาคดี
 (List of Hague Conventions on Private International Law)
เรื่ องที่ 2. ลักษณะของกฎหมายระหว่ างประเทศ
 ประเด็นปัญหา มีการตั้งคาถามว่ ากฎหมายระหว่ างประเทศเป็ นกฎหมายหรื อไม่
 กฎหมาย (ภายใน)
 คาสั่ ง ข้ อบังคับ /ของรัฐาธิปัตย์ /ใช้ ได้ ทั่วไป / มีสภาพบังคับ(แพ่ งหรื ออาญา)
 กม รปท เป็ นกฎเกณฑ์ ที่เกิดจากการยอมรับ ของรัฐ กฎที่เน้ น “อธิปไตยของรัฐ”
Sovereignty รัฐเป็ นศูนย์ กลาง (state centric rules) การที่รัฐยินยอมเรพ เกิดขึน้ เพราะ
รัฐ ยินยอม
 ดังนั้น “consent” จึงเป็ นเรื่ องสาคัญใน กมรปท (รวมถึง Sanction)
 เป็ นกฎหมายที่ไม่ สมบูรณ์ imperfection legal system ดังเช่ นกฎหมายภายใน
 ไม่ มีองค์ กรตราหรื อออกกฎหมาย legislative – รั ฐเป็ นผู้ออกกฎหมาย
 ขาดองค์ กรตุลาการระหว่ างประเทศ (judiciary)
 ขาดองค์ กรบังคับใช้ กฎหมาย (law enforcement) - sanction -ขึน ้ อยู่กบั การ
ยอมรับ + การเมืองระหว่ างประเทศ
เรื่ องที่ 3 วิวฒ
ั นาการของกฎหมายระหว่ างประเทศ
 ยุคโบราณจนถึงสิ้นสุ ดสมัยกลาง (ศรรตวรรษ ที่ 16)
 ดึกดาบรรพ์ ยังไม่ มีสภาพเป็ นสังคม “รัฐ”
 ยุคกลาง เน้ นความสัมพันธ์ การทูต และกฎเกณ์ สงคราม
 สิ้นยุคกลางถึงสงครามโลกครั้งที่ 1
 เกิดการรวมตัวนครรัฐเป็ นรัฐชาติ หลังจากเกิดสนธิสัญญา เวสท์ ฟาเลีย (ปรัสเซีย กับ สวีเดนและพันธมิตร
 กม รปท พัฒนาจากแนวปฏิบัตขิ องรัฐในยุโรป
 เกิดการค้า มีความสัมพันธ์ กิจกรรมมากขึน้ จึงเกิดกฎเกณฑ์ ต่างๆ /สนธิสัญญาหลายฉบับ
 มีองค์การระดับระหว่างประเทศ
 สิ้นสงครามโลกครั้งที่ 1 ถึงปัจจุบนั
 เกิดองค์การระดับโลก (โลกบาล) สันนิบาติชาติ League of Nations ต่ อมากกลายเป็ ฯสหประชาชาติ United
Nations ฯลฯ สหประชาชาติมีบทบาทสาคัญในการทาให้ รัฐใกล้ชิดกันและเสริมส่ งให้ เกิดความร่ วมมื อ รปท ผ่าน
กฎหมาย รปท รอบด้ าน
 สนธิสัญญากลายเป็ นแหล่งที่มาหลัก
 มีองค์กร ตุลาการ และ องค์กรบังคับใช้ กฎหมายระหว่างประเทศ (เช่ น Security Council)
เรื่ องที่ 4 แหล่งที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศ (1/8)

 ประเด็นปัญหา
 แหล่ งทีม่ า พิจารณาตาม ข้ อ 38 ของ ICJ (State-centric rules)
 สนธิสัญญา treaty pacta sunt servanda
 จารีตประเพณีของกฎหมายระหว่ างประเทศ erga omnes
 Ex officioประมุขของรัฐ/ หัวหน้ารัฐบาล/ รมต กต/ ทูต
 Immunities & Privilege ความคุม้ กัน และเอกสิ ทธิ์ทางการทูต
 Diplomatic protection การคุม้ ครองทางทูต
 หลักกฎหมายทั่วไป
 หลักเสมอภาค / อธิ ปไตย/ รับที่ก่อให้เกิดความเสี ยหายต้องมีหน้าที่ในการเยียวยา

 หลักป้องกันตัว

 เช่น หลักสัญญาเป็ นสัญญา (มาจาก กมเอกชน)

 คาพิพากษาของศาล รปท
 คาสอนข้ อเขียนของนักวิชาการ
แหล่งที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศ (2/8)
ICJ Statute Article 38
‘ The Court, whose function is to decide in accordance with
international law such disputes as are submitted to it, shall apply:

 a. international conventions, whether general or particular,


establishing rules expressly recognized by the contesting states;

 b. international custom, as evidence of a general practice accepted


as law;

 c. the general principles of law recognized by civilized nations;

 d. subject to the provisions of Article 59, judicial decisions and the


teachings of the most highly qualified publicists of the various
nations, as subsidiary means for the determination of rules of law.’
แหล่งที่มาฯ - สนธิสญ
ั ญา
สนธิสัญญา (Convention)
 ความหมาย = Treaty
 ประเภทของสนธิสัญญา
 ผลของสนธิสัญญา
 หลัก pacta sunt servanda -promises must be kept

 ข้ อยกเว้ น rebus sic stantibus -treaties to become inapplicable because


of a fundamental change of circumstances
 ตัวอย่ าง
แหล่งที่มาฯ - จารี ตประเพณี ของกฎหมายระหว่างประเทศ
จารีตประเพณีระหว่ างประเทศ
 ความหมาย “จารีตประเพณีระหว่ างประเทศ “ customary of international law”
 องค์ ประกอบ
 state practice
 “opinio jurist”
 temporis
 ผลของ จารีตประเพณี
 erga omnes - ใช้ ได้ ทว
ั่ ไป ผูกพันทุกรัฐแม้ ไม่ ได้ มสี ่ วนร่ วม แม้ ไม่ ได้ ยนิ ยอม
 jus cogen- peremptory norm / hierarchy ศักดิ์สูงกว่ าไม่ สามารถเว้ นได้

ตัวอย่าง innocent passage / ความกว้ างของทะเลอาณาเขต / เอกสิ ทธิและ


ความคุ้มกันทางการทูต / กฎหมายมนุษยธรรม (การคุ้มครองบุคคลในยาม
ขัดกันด้ วยอาวุธ ต่ อมาเป็ น Geneva Convention 4 ฉบับ
แหล่งที่มาฯ- หลักกฎหมายทัว่ ไป
หลักกฎหมายทัว่ ไป
ความหมาย
ปัญหาเรื่ อง “รับรองโดยนานาอารยะประเทศ” “Civilize nations”
หลักกฎหมายทัว่ ไป มีได้ ท้งั ระดับ ระหว่ างประเทศ และระดับภูมภิ าค (ตย ECHR)
หลักกฎหมายทั่วไป มีได้ ในกฎหมายสาขาต่ างๆ
ตัวอย่างการยอมรับหลักกาหมายทั่วไป
กฎหมายอาญา มาตรา 2 / กฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา “สั นนิษฐานไว้ ก่อนว่ าเป็ น
ผู้บริสุทธิ์ / กฎหมาย แพ่ง ภารจายอม (คดี Goa) / การใช้ สิทธิโดยมิชอบ
(abuse of rights) เรื่ องละเมิด การชดใช้ เยียวยา คดี Lotus
แหล่งที่มาฯ -แนวคาวินิจฉัยศาลระหว่างประทศ
แนวคาวินิจฉัยขององค์ กรตุลาการ - ปัญหาเรื่ อวคาวินิจฉัยของศาลภายในประเทศ
 ข้ อพิจารณาเรื่ องแนวคาวินิจฉัย มูลเหตุผลทีร่ ับเอาแนวคาวินิจฉัยเป็ นกฎหมาย
 ลักษณะของคาวินิจฉัยขององ์ กรตุลาการระหว่ างประเทศ – ผูกพันเฉพราะรัฐทีเ่ กีย่ วข้ อง ICJ
Art.59
 ลักษณะของการใช้ แนวคาวินิจฉัยเพื่อเผป็ นแหล่ งทีม่ า –เนื่องจากกฎหมายต้ องมี
consistency - แนว เหตุผล เพื่อการอธิบายความ การมีอยู่และอธิบายความหมาย ของ
กฎเกณฑ์ ระหว่ างประเทศ
 องค์ กรตุลาการระหว่ างประเทศ
 ศาลระหว่ างประเทศ – ทั้งระดับโลก ICJ / ICC / และระดับภูมิภาค ECHR / Inter
American Court
 กรรมการตุลาการ หรื อศาลพิเศษ (Tribunal) เช่ น Nuremburg/ ICTR /ICTY
 อนุญาโตตุลาการระหว่ างประเทศ (Arbitrator)
 ปัญหาเรื่ องคณะกรรมการต่ างๆ ที่มีหน้ าที่อธิบายข้ อบทพันธกรณีตามสนธิสัญญา
แหล่งที่มา-ฯ ข้อเขียนของนักกฎหมาย รปท
คาสอน ข้อคิดข้อเขียนของนักวิชาการ
 most highly qualify ได้รับการยอมรับ
 various nations สะท้อนความหลากหลายของระบอบกฎหมายต่างๆ
 เป็ นความเห็นถึงการมีอยู่ หรื อลักษณะของกฎเกณ์ หรื อระเบียบระหว่างประเทศ (หนุน
customary / practice)
 นักวิชาการที่มีชื่อ เช่น
 Grotius, Mare Liberum, De Jure Belli ac Pacis
 Vattel - The Law of Nations (Le Droit des gens; ou, Principes de la
loi naturelle appliqués à la conduite et aux affaires des nations et des
souverains)
 Oppenheim,Lassa Francis Lawrence-
แหล่งที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศ (8/8)
แหล่งที่มาอื่น ที่ไม่ได้กาหนดไว้ใน ข้อ 38 ICJ
 การกระทาฝ่ ายเดียวของรัฐ
 ข้อมติ ที่รับรองในการประชุมระหว่างประเทศ (Resolutions)
 กฎหมายบัญญัติ (law-making treaty ที่รัฐนั้นไม่ได้รับรอง)
เรื่ องที่ 5 ความสั มพันธ์ ระหว่ างกฎหมายระหว่ างประเทศ
กับกฎหมายภายใน (1/2)
ประเด็นปัญหา นากฎหมายรปท มาใช้ ภายในได้ หรื อไม่ กรณีขัดกันกฎใดเหนื อกว่ า
(ปัญหา hierarchy of law)
 ทฤษฎี เอกนิยม Monism
 กฎหมาย รปท กับกฎหมายภายในเป็ นระบอบเดียวกัน และสอดคล้ องกัน
 กรณีขัดกัน มีสองสานัก – สานักแรก กฎหมายภายเหนือกว่ า / สานักทีส่ อง กม
รปท เหนือกว่ า
 ทฤษฎี ทวินิยม Dualism
 กม ภายในและ กมรปท เป็ นคนละระบบ วัตถุประสงค์ วิธีการ subject ของ
กฎหมายต่ างกัน
ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศ
กับกฎหมายภายใน (2/2)
 ข้ อสั งเกต เป็ นเพียงทฤษฎีในความเป็ นจริง ไม่ มีประเทศใดยึดถือทฤษฎีใดเด็ดขาด
 วิธีการรับมาใช้ เช่ น การแปลง การยอมรับ การรับเอา หรื อการออกกฎหมาย ให้
สอดคล้องเรียกรวมๆ ว่ า “อนุวตั กิ าร” compliance
 กรณีประเทศไทย-
 ค่ อนข้ างยึด “ทวินิยม ( เช่ นกรณี สิ ทธิในเปแตนท์ )
 แต่ เกณฑ์ บางอย่ างเช่ น สิ ทธิมนุษยชน jus cogen ศาลไทยก็รับเอา กรม
รปท มาปรับใช้ (เช่ นกรณี คาพิพากษาเรื่ องการใช้ ตรวน การแต่ งงานของ
ข้ าราชการหญิง / เรื่ องผู้ลภี้ ัย non-refuolement

You might also like