You are on page 1of 18

กฎหมายระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL LAW
หน่วยที่ 1
ความรูท้ ั ่วไปเกี่ยวกับกฎหมายระหว่างประเทศ

ดร.ศาสดา วิริยานุ พงศ์, Docteur en droit


ประวัติผูบ้ รรยายโดยสังเขป
การศึกษา การทางาน
 ปริญญาเอกทางกฎหมาย (กฎหมายมหาชน) เกียรตินิยมดีมาก ด้วย  อาจารย์ประจาสาขาวิชานิ ติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ความชื่นชมเป็ นเอกฉันท์ของคณะกรรมการสอบ (avec les félicitations du  อนุ กรรมาธิการด้านการเงิน การธนาคาร สถาบันการเงินและตลาดทุน ใน
jury à l’unanimité) มหาวิทยาลัยนิ ติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ คณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง สภานิ ติบญั ญัติแห่งชาติ
แห่งกรุงปารีส - ปารีส 2 (PANTHÉON-ASSAS) กรุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส
 ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมของ
 ปริญญาชั้นสูง (กฎหมายรัฐธรรมนูญ) มหาวิทยาลัยนิ ติศาสตร์ ประชาชน วุฒิสภา
เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ แห่งกรุงปารีส - ปารีส 2 (PANTHÉON-
 นักวิจยั ด้านกฎหมาย สถาบันนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ASSAS) กรุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
 นิติศาสตร์บณั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพมหานคร  ผูอ้ านวยการวิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ (มศว.
 มัธยมศึกษา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร ภาคใต้) (2556-2560)
 รองคณบดีคณะนิ ติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ (มศว.ภาคใต้)
การอบรมที่สาคัญ
 ข้าราชการสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
 หลักสูตรการปฏิบตั ิการจิตวิทยาฝ่ ายอานวยการ สถาบันจิตวิทยาความ
มัน่ คง สถาบันวิชาการป้ องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย  ผูช้ ่วยดาเนิ นงานสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (รัฐธรรมนูญ 2540)
 หลักสูตรนักบริหารระดับสูง “ธรรมศาสตร์เพื่อสังคม” สถาบันวิทยาการ  อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ธรรมศาสตร์เพื่อสังคม มูลนิ ธิสถาบันวิทยาการธรรมศาสตร์เพื่อสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ฯลฯ

SARTSADA WIRIYANUPONG
ความหมายของกฎหมายระหว่างประเทศ
บุคคลระหว่างประเทศ → รัฐ เขตแดนและ กฎหมายองค์การ
กฎหมายทะเล
องค์การระหว่างประเทศ ปั จเจกชน เขตอานาจรัฐ ระหว่างประเทศ
(หน่ วยที่ 11)
บรรษัทข้ามชาติ (หน่ วยที่ 2) (หน่ วยที่ 3) (หน่ วยที่ 9)

กฎหมาย กฎหมายและข้อบังคับทั้งปวงของสังคมระหว่าง กฎหมายและ ความสัมพันธ์ระหว่าง


ข้อบังคับ → กฎหมายระหว่าง
ระหว่าง หมายถึง ประเทศที่กากับและควบคุมพฤติกรรมของ
สนธิสญั ญา ประเทศและกฎหมาย
ประเทศ บุคคลระหว่างประเทศให้อยูร่ ่วมกันโดยสันติสุข (หน่ วยที่ 5) ภายใน (หน่ วยที่ 4)

อยูร่ ่วมกันโดยสันติสุข → การระงับข้อพิพาท


ความรับผิดของรัฐ กฎหมายการทูต
ระหว่างประเทศโดยสันติวิธี (หน่ วยที่ 6)
(หน่ วยที่ 8) (หน่ วยที่ 10)
การจากัดการใช้กาลังทางทหาร (หน่ วยที่ 7)

SARTSADA WIRIYANUPONG
ลักษณะทัว่ ไปของกฎหมายระหว่างประเทศ
มารยาทหรืออัธยาศัยไมตรีอนั ดีต่อกันในความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศและศีลธรรมระหว่างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศ

International Comity
หรือ Comitas gentium
และ Moral การละเมิดกฎหมาย
กฎหมายระหว่าง
ระหว่างประเทศจึงมี
ประเทศมีสถานะเป็ น
โทษตามกฎหมาย
กฎหมาย
ไม่มีสถานะทางกฎหมาย ระหว่างประเทศ
และไม่มีการลงโทษ
สาหรับการละเมิด

SARTSADA WIRIYANUPONG
โทษสาหรับการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ
ความรับผิดชอบของรัฐ (State Responsibility)
: รัฐที่ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศต้องทาให้ทุกอย่างกลับคืนสภาพเดิม
(restitution in integrum) และถ้าทาไม่ได้ก็ตอ้ งจ่ายค่าชดเชย (Compensation)

การลงโทษด้วยมาตรการเศรษฐกิจ (Economic Sanction)


โทษตามกฎหมาย : โดยการตัดความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้า
ระหว่างประเทศ
การตัดให้อยูโ่ ดดเดี่ยวทางการทูต (Diplomatic Isolation)

การใช้กาลังอาวุธ » ติดตามด้วยการต้องชดใช้ค่าปฏิกรสงคราม

SARTSADA WIRIYANUPONG
ความแตกต่างระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายใน
ปั จจัยด้านโครงสร้าง ปั จจัยด้านพื้ นฐานของกฎหมาย
กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายในประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายในประเทศ
• สังคมระหว่างประเทศมีการ • สังคมระหว่างประเทศมีการ
รวมตัว (Integration)ใน รวมตัว (Integration)ใน • มีพื้นฐานอยูบ่ นหลัก pacta • มีพื้นฐานอยูบ่ นรัฐธรรมนู ญ
ระดับตา่ ระดับสูง sunt servanda และการ และเป็ นคาสัง่ ของรัฏฐาธิ
• หลักอานาจอธิปไตยของรัฐทา • มีองค์กรของรัฐซึ่งมีอานาจ ยอมรับของรัฐในประชาคม ปั ตย์
ให้สงั คมระหว่างประเทศไม่มี
องค์กรใดที่มีอานาจเหนื อรัฐ
เหนื อปั จเจกชนทาหน้าที่เป็ น ระหว่างประเทศ • ผลบังคับของกฎหมายจึงมิได้
(Supra-national)
ผูส้ ร้างและบังคับใช้กฎหมาย • ผลบังคับของกฎหมายจึง ขึ้ นอยูก่ บั การยอมรับของ
• สภาพบังคับของกฎหมายไม่ • สภาพบังคับของกฎหมาย ขึ้ นอยูก่ บั การยอมรับของรัฐ ประชาชน
เด็ดขาดและไม่มีประสิทธิภาพ เด็ดขาดและมีประสิทธิภาพ ซึ่งอยูใ่ ต้บงั คับของกฎหมาย
กว่า

SARTSADA WIRIYANUPONG
สถานะความเป็ นกฎหมายของกฎหมายระหว่างประเทศ
การที่ธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว่างประเทศกาหนดให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศนากฎหมายระหว่างประเทศมาปรับใช้ในการระงับข้อพิพาท

การที่ธรรมนู ญศาลยุติธรรมระหว่างประเทศบัญญัติไว้ใน ม. 38 ว่าอะไรบ้างที่เป็ นบ่อเกิดและที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศ

ข้อพิสูจน์ว่า การที่องค์การสหประชาชาติจดั ตั้งคณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศ (International Law Commission) และจัดสรรงบประมาณในการ


ดาเนิ นการ
กฎหมายระหว่าง
ประเทศเป็ น
กฎหมาย รัฐทั้งหลายต่างก็อา้ งหลักกฎหมายระหว่างประเทศในการอ้างและเรียกร้องสิทธิหรือในการดาเนิ นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

การที่กฎหมายระหว่างประเทศถูกละเมิดอยู่บ่อยๆ มิได้เป็ นข้อพิสูจน์ว่า กฎหมายระหว่างประเทศไม่เป็ นกฎหมาย หากแต่อาจกล่าวได้ว่า สภาพบังคับของกฎหมาย


ระหว่างประเทศไม่มีความเด็ดขาดและขาดประสิทธิภาพ

การนากฎหมายระหว่างประเทศไปเทียบกับกฎหมายในประเทศเพื่อพิสูจน์ว่ากฎหมายระหว่างประเทศไม่เป็ นกฎหมายไม่น่าจะถูกต้อง เพราะพื้ นฐานและที่มาของ


กฎหมายสองประเภทนี้ แตกต่างกัน

SARTSADA WIRIYANUPONG
สภาพบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ
ทฤษฎีการจากัดอานาจ รัฐจากัดอานาจอธิปไตยของตนเองดดยการสร้างกฎหมายระหว่างประเทศซึ่งก่อให้เกิดข้อผูกพัน
พวกที่เน้น อธิปไตยของตนเอง ของตนเอง
เจตนารมณ์ของผู ้
ทรงสิทธิของ ทฤษฎีเจตนารมณ์
กฎหมายระหว่างประเทศเกิดจากเจตนารมณ์ร่วมกัน ของรัฐต่างๆ
กฎหมายและ ร่วมกัน
รูปแบบ
ทฤษฎีกฎเกณฑ์ที่
มูลฐานของสภาพ หลักสัญญาต้องได้รบั การเคารพและถือปฎิบตั ิ (Pacta sunt servanda)
เหนื อกว่า
บังคับหรือผลผูกผัน
ของกฎหมายระหว่าง
ประเทศ ให้ความสาคัญกับเหตุผล
พวกที่ยึดถือกฎหมาย
ธรรมชาติ
แนวคิดที่ยึดถือปั จจัย
มุ่งไปที่ขอ้ พิจารณาทางศาสนา
ภายนอกที่มิใช่
เจตนารมณ์ของรัฐ
พวก objectivism ภววิสยั พิจารณาจากการสังเกตการณ์สงั คม

SARTSADA WIRIYANUPONG
วิวฒ
ั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศในด้านรูปแบบ

กฎหมายจารีตประเพณี การสร้างกฎหมาย
ระหว่างประเทศ พัฒนาจากสนธิสญ ั ญทวิ
ระหว่างประเทศขึ้ นมา
ภาคีเป็ นพหุภาคี
(Customary International Law) ใหม่ในรูปของสนธิสญ ั ญา

SARTSADA WIRIYANUPONG
วิวฒ
ั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศในด้านเนื้ อหา

เดิมมีเพียงกฎหมายระหว่าง ต่อมามีกฎหมายระหว่าง
ประเทศภาคมหาชน (Public กฎหมายระหว่างประเทศ
ประเทศภาคเอกชน
International Law) และ ภาคมหาชนแตกแขนง
กฎหมายภาคสงคราม (Law (Private International
Law)
ออกไปอีกเป็ นหลายสาขา
of War)

SARTSADA WIRIYANUPONG
วิวฒ
ั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศในเชิงประวัติศาสตร์

การจัดตั้งองค์กร สิ้ นยุคสงครามเย็นเข้าสู่


Jus gentium ในยุค
รัฐชาติ หลังยุคกลาง ระหว่างประเทศ หลัง สงครามทางเศรษฐกิจ
จักรวรรดิโรมัน
สงครามโลกครั้งที่ 2 และทางกาค้า

SARTSADA WIRIYANUPONG
บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศ
ั ญา (Treaty)
สนธิสญ

กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ (Customary International Law)


มาตรา 38 ของธรรมนู ญ (Statute)
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
(International court of Justice-ICJ) หลักกฎหมายทัว่ ไป (General Principles of Law)
กฎหมายระหว่างประเทศมีบ่อเกิด
(Sources) อยูใ่ น 5 รูปแบบ
แนวคาพิพากษาระหว่างประเทศ (Jurisprudence of International Instances)

ทฤษฎีของผูเ้ ชี่ยวชาญทางกฎหมายระหว่างประเทศ (Doctrine of Publicists)

SARTSADA WIRIYANUPONG
สนธิสญ
ั ญา
เป็ นบ่อเกิดที่สาคัญที่สุด เป็ นกฎหมายระหว่าง เป็ นความตกลงระหว่าง
ของกฎหมายระหว่าง ประเทศที่เป็ นลาย ประเทศที่กระทาระหว่าง
ประเทศ ลักษณ์อกั ษร บุคคลระหว่างประเทศ

เกิดสิทธิและพันธกรณี
อาจกระทาในรูปแบบทวิ
ตามกฎหมายระหว่าง
ภาคีหรือพหุภาคีก็ได้
ประเทศ
SARTSADA WIRIYANUPONG
กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ

จะทราบขอบเขตและเนื้ อหาที่ชดั เจน


ต่อเมื่อได้รบั การยืนยันโดยคา
เป็ นกฎหมายที่ไม่ได้เป็ นลายลักษณ์ ขาดความชัดเจนทั้งในด้านขอบเขต
พิพากษาระหว่างประเทศหรือเมื่อ
อักษร และเนื้ อหาสาระ
หลักกฎหมายนั้นได้ถูกประมวล
ขึ้ นมาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร

SARTSADA WIRIYANUPONG
หลักฎหมายทัว่ ไป

มีไว้เพื่อปิ ดช่องโหว่ของ
ในบางกรณีกฎหมายจารีต
เป็ นรูปหนึ่ งของกฎหมาย กฏหมายเมื่อไม่มี
ประเพณีกบั หลักกฎหมาย
ระหว่างประเทศ สนธิสญ ั ญาหรือกฎหมาย
ทัว่ ไปใกล้เคียงกันมาก
จารีตประเพณีมาปรับใช้

SARTSADA WIRIYANUPONG
แนวคาพิพากษาระหว่างประเทศ

คาวินิจฉัยชี้ ขาดของ
แนวคาพิพากษาของศาล
อนุ ญาโตตุลาการระหว่าง
ยุติธรรมระหว่างประเทศ
ประเทศ

SARTSADA WIRIYANUPONG
ทฤษฎีของผูเ้ ชี่ยวชาญทางกฎหมายระหว่างประเทศ

เกิดจากเมื่อไม่มีหลักกฎหมายในสนธิสญั ญา
เป็ นบ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศก็
กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ
ต่อเมื่อเป็ นทฤษฎีของผูเ้ ชี่ยวชาญ ซึ่งเป็ นที่
หลักกฎหมายทัว่ ไป หรือแนวคาพิพากษา
ยอมรับนับถือกันอย่างกว้างขวาง
ระหว่างประเทศที่จะนามาปรับใช้

SARTSADA WIRIYANUPONG
เช่น การประกาศสละสิทธิหรือให้
บ่อเกิดที่มิได้บญ
ั ญัติไว้ใน การกระทาฝ่ ายเดียวของรัฐ
คามัน่ สัญญญา
ธรรมนู ญศาลยุติธรรมระหว่าง
ประเทศ : การกระทาฝ่ ายเดียว
(Unilateral Acts) การกระทาฝ่ ายเดียวขององค์การ เช่น ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิ
ระหว่างประเทศ มุษยชน

SARTSADA WIRIYANUPONG

You might also like