You are on page 1of 25

กฎหมายปกครอง1.

ภาค1/2559 อาจารย์ศรุต จุย๋ มณี


เอกสารประกอบการบรรยายชุดที่1.
1.

1
เค้าโครงการบรรยาย/วิธกี ารเรียน
หลักพื้นฐานทางกฎหมายปกครอง
การจัดองค์กรรัฐ
นิตบิ คุ คลในกฎหมายมหาชน
กฎหมายว่าด้วยวิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง
สัญญาทางปกครอง

2
www.admincourt.go.th

3
การสอบ
สอบ100 คะแนนข้อสอบ5ข้อ อ.ศรุต 3 ข้อ อธิบดีศาลปกครอง
2 ข้อ
การศึกษาดูงานศาลปกครองและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและการ
ช่วยเหลือกฎหมายประชาชน

4
กฎหมายปกครองคืออะไร
กฎหมายปกครองมีประโยชน์อย่างไร
กฎหมายปกครองเรียนอย่างไร

5
6
7
8
9
เค้าโครงการบรรยายวันนี้
ระบบกฎหมาย
การแบ่งประเภทกฎหมาย
กฎหมายมหาชน
สาขาย่อยในกฎหมายมหาชน
กฎหมายปกครอง
ความแตกต่างของกฎหมายปกครองและกฎหมายอืน่ ๆ
หลักการพื้นฐานทางกฎหมายปกครอง

10
1.ระบบกฎหมาย

Cilvil
Common law
law

ความ
แตกต่าง

11
2.การแบ่งประเภทของกฎหมาย

1.กฎหมาย 2.กฎหมาย
มหาชน เอกชน

12
เกณฑ์การแบ่งกฎหมาย
1.ทฤษฎีผลประโยชน์
2.ทฤษฎีอำนาจเหนือ
3.ทฤษฎีกฎหมายพิเศษ

13
3. ข้อยกเว้นของการแบ่งแยกกฎหมายมหาชนกับกฎหมาย
เอกชน
1.รัฐหรือหน่ วยงานของรัฐเลือกใช้กฎหมายเอกชน
2.กิจกรรมของรัฐมีลกั ษณะเหมือนกิจกรรมของเอกชน
3.กิจกรรมที่เอกชนเป็ นผูจ้ ดั ทำมีลกั ษณะเพือ่ ประโยชน์
ส่วนรวม
4.นิ ตสิ มั พันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนที่รฐั เข้ามา
แทรกแซง

14
4.ประโยชน์ของการการแบ่งแยกประเภทกฎหมายเป็ น
กฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
1.ประโยชน์ในการดำเนินคดีข้นึ สู่ศาล
2.ประโยชน์ในแง่กฎหมายวิธสี ารบัญญัตโิ ดยหลักกฎหมายสารบัญญัติ
ทีใ่ ช้ในการพิจารณาพิพากษาคดีในกฎหมายมหาชนจะแตกต่างจากวิธี
พิจารณาคดีในกฎหมายเอกชน
3.ประโยชน์ในแง่กฎหมายวิธสี บัญญัตเิ มือ่ เกิดข้อพิพาทเป็ นคดีข้นึ สู่
ศาลวิธพี จิ ารณาคดีในศาลในกฎหมายมหาชนก็จะแตกต่างกับวิธี
พิจารณาคดีในกฎหมายเอกชน
4. ประโยชน์ในแง่วชิ าการ

15
5.สาขาย่อยในกฎหมายมหาชน
ศาสตราจารย์ ดร.หยุด แสงอุทยั ได้แยกสาขาย่อยกฎหมายมหาชนไว้
ดังนี้
กฎหมายรัฐธรรมนู ญ
กฎหมายปกครอง
กฎหมายอาญา
กฎหมายว่าด้วยรัฐธรรมนู ญศาลยุตธิ รรม
กฎหมายว่าด้วยวิธพ
ี จิ ารณาความอาญา
กฎหมายว่าด้วยวิธพี จิ ารณาความแพ่งเป็ นต้น

16
6.ความหมายของกฎหมายปกครอง
ดร.จิรนิติ หะวานนท์ ได้ให้ความหมายของกฎหมายปกครองไว้วา่
“กฎหมายปกครองเป็ นกฎหมายมหาชน ซึง่ กฎหมายมหาชนเป็ น
กฎหมายเกี่ยวกับนิตสิ มั พันธ์ระหว่างบุคคลกับหน่วยงานของรัฐ หรือ
ระหว่างหน่วยงานของรัฐกับหน่วยงานของรัฐด้วยกันเอง ทีห่ น่วยงานของ
รัฐมีอำนาจเหนือบุคคล”
ศาสตราจารย์ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ได้ให้ความหมายของกฎหมาย
ปกครองไว้วา่ “เป็ นกฎหมายที่กำหนดสถานะความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ าย
ปกครองของรัฐต่อกันและต่อประชาชน

17
ศาสตราจารย์ ดร.อมร จันทรสมบูรณ์ได้ให้ความหมายของกฎหมาย
ปกครองไว้วา่ “เป็ นกฎหมายมหาชนที่กำหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการ
บริหารราชการ (บริการสาธารณะ) และกำหนดอำนาจให้แก่เจ้าหน้าที่
ของรัฐในการปฏิบตั หิ น้าทีร่ าชการ (บริการสาธารณะ)”

18
1.กฎหมายปกครองเป็ นกฎหมายทีเ่ กี่ยวกับการจัดองค์กรของรัฐทาง
บริหารซึง่ รวมถึงการจัดโครงสร้างทางปกครองไม่วา่ เป็ นแบบการรวม
อำนาจหรือกระจายอำนาจเพราะรวมถึงบุคลากรฝ่ ายปกครองทัง้ หลาย
และรวมถึงทรัพย์สนิ ของฝ่ ายปกครอง
2.กฎหมายปกครองเป็ นกฎหมายเกี่ยวกับกิจกรรมหรือการกระทำทาง
ปกครอง
3.กฎหมายปกครองเป็ นกฎหมายทีเ่ กี่ยวกับการควบคุมการใช้อำนาจ
ทางปกครองซึง่ จะครอบคลุมถึงรูปแบบและวิธกี ารในการควบคุม ตลอด
จนหลักเกณฑ์และผลของการควบคุม
19
7.บ่อเกิดของกฎหมายปกครอง
1.บทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายหรือกฎหมายลายลักษณ์อกั ษร

บทกฎหมายที่ออก
โดยฝ่ ายนิ ตบิ ญั ญัติ
บทกฎหมายที่ออกโดยฝ่ ายบริหาร

20
2.จารีตประเพณี

21
3.แนวคำพิพากษาของศาลและองค์กรชี้ขาดอำนาจหน้าที่
ระหว่างศาล

22
4.หลักกฎหมายทัว่ ไปและทฤษฎีกฎหมายเช่นหลักความ
เสมอภาค

23
รัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ได้บญั ญัตริ บั รอง
หลักความเสมอภาคไวใ้ นมาตรา 5 ว่า “ประชาชนชาวไทยไม่วา่ เหล่า
กำเนิด เพศ หรือศาสนาใด ย่อมอยู่ในความคุม้ ครองแห่งรัฐธรรมนู ญนี้
เสมอกัน” และ มาตรา 30 ว่า “บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย และ
ได้รบั ความคุม้ ครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและหญิงมีสทิ ธิเท่า
เทียมกัน”

24
8.ความแตกต่างระหว่างกฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา
กฎหมายเอกชน

รัฐธรรมนู ญ

กฎหมายปกครอง กฎหมายเอกชน

25

You might also like