You are on page 1of 7

วัตถุประสงค์ในการศึกษา

นิติปรัชญา
นิติปรัชญา เป็นการศึกษาถึงภาพรวมของกฏหมาย ยุคที่ 3 : ยุคฟื้นฟูและยุคปฎิรูป
ในเชิงปรัชญา กล่าวคือ มุ่งที่จะค้นหาความหมายของกฏ ในยุคนี้เป็นยุคของการฟื้นตัว กล่าวคือ ปรัชญากฏหมายธรรมชาติได้สลัดตัวออกจากการ
หมาย รวมถึงความสัมพันธ์ของกฏหมายกับศีลธรรมและ ครอบงําของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกได้ และมีแนวโน้วที่จะหันไปเน้นเรื่องที่เป้นรูปธรรม
จริยธรรม ซึ่งเป็นศาสตร์ที่มองกฏหมายในภาพรวมใน มากขึ้นกว่าเดิม โดยมองว่าเหตุผลอันเกิดจากสติปัญญาของมนุษย์เท่านั้นที่เป็นบ่อเกิดของหลักกฏ
ลักษณะที่เป็นนามธรรม เพื่อให้เข้าใจถึงรากฐานที่มา และ หมายธรรมชาติ
คุณค่าที่อยู่เบื้อหลังกฏหมาย - ฮูโก โกรเซียส (Hugo Grotius)
นักกฏหมายชาวเนเธอร์แลนด์ ยังคงยืนยันหลักเดิมของกฏหมายธรรมชาติ ซึ่งเน้น

I.
-1
แนวข้อสอบ เรื่องเหตุผลและสติปัญญาของมนุษย์ ถือว่าสติปัญญาและเหตุผลมีอยู่ในธรรมชาติของ
ข้อ 1 และ 2 : ปรัชญากฏหมายตะวันตก มนุษย์นั้นเอง ดังนั้น ธรรมชาติของมนุษย์จึงเป็นที่มาของกฏหมายธรรมชาติและจะยังคง

_
ข้อ 3 : ปรัชญากฏหมายไทย ปรากฏอยู่เช่นนั้นแม้ไม่มีพระเจ้า

hle นิติปรัชญา ยุคที่ 4 : ยุครัฐชาตินิยม (ตกตํ่าถึงขีดสุด)


mnnmn

กฏหมายธรรมชาติ เป็นกฏหมายที่เกิดขึ้นเองโดยที่มนุษย์ไม่ได้สร้างขึ้น ปรัชญากฏหมายธรรมชาติในยุคนี้ ปรัชญากฏหมายธรรมชาติเริ่มมีความเสื่อมลงตามลําดับ


มนุษย์ควบคุมไม่ได้ เป็นสิ่งที่เป็นสากลเหมือนกันทั้งโลก โดยอาศัยเหตุผลอยู่ 2 ประการ


กฏหมาย + ศีลธรรม 1. ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ กล่าวคือ มนุษย์ในยุคนี้เริ่มเชื่อถือสิ่งที่สามารถ
ช่วงชีวิตของความเป็นกฏหมายธรรมชาติ มี 5 ยุค พิสูจน์ได้ ซึ่งตรงข้ามอย่างชัดเจนกับความเพ้อฝันของปรัชญากฏหมายธรรมชาติ ซึ่งเลื่อนลอย ไม่
1. ยุคกรีก สามารถพิสูจน์ได้ ซึ่งนับวันจะปรากฏความบกพร่องไม่สอดคล้องกับสังคมที่มีความสลับซับซ้อน
2. ยุคมืดและยุคกลาง (ศาสนา) มากขึ้น วิธีคิดแบบวิทยาศาสตรืจึงได้รับความน่าเชื่อถือมากกว่า
3. ยุคฟื้นฟู (renaissance) 2. กระแสของลัทธิชาตินิยม คือ มนุย์เริ่มมีแนวคิดในเรื่องสถาบันชาติ ความเป็นปึกแผ่น
4. ยุคชาติรัฐ (วิทยาศาสตร์) - เกิดขึ้นเพราะมนุษย์ เป็นรูปธรรม ของชาติ ต้องอาศัยความชัดเจน เป็นการคิดแบบชุมชนนิยม ปรัชญากฏหมายธรรมชาติที่เน้นความ
เกิดทฤษฎีปฎิฐานนิยม คิดแบบปัจเจกนิยมจึงเริ่มเสื่อมคลายลง
5. ยุคกฏหมายธรรมชาติในยุคปัจจุบัน - เกิดสงครามโลกมาจากยุค 4

บทวิเคราะห์ ข้อบกพร่อง ยุคที่ 5 : ยุคปัจจุบัน


1. เป็นสํานักคิดแรกของโลก 1. มีลักษณะเป็นนามธรรม คลุมเครือไม่แน่นอน ปรัชญากฏหมายธรรมชาติในยุคนี้ เริ่มมีการฟื้นตัว ภายหลังสงครามดลกครั้งที่ 2 เป็นต้น
2. เกิดขึ้นเมื่อ 500 ปี ก่อนคริสตศักราช 2. วิธีคิดไม่เป็นวิทยาศาสตร์ ไม่สามารถพิสูจน์ได้ มา เริ่มมีแนวคิดกลับไปสู่หลักพื้นฐานเดิมที่มีความเชื่อในหลักอุดมคติที่ว่า ต้องอยู่เหนือกฏ
3. มนุษย์ยังไม่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ 3. การเสนอความคิดมักใช้สามัญสํานึกซึ่งอาจเอนเอียง หมายของรัฐ แต่มีลักษณะที่ผ่อนปรนประนีประนอมมากขึ้น กล่าวคือ ไม่มีการยืนยันว่ากฏ
4. เกิดข้อผิดพลาดในเชิงตรรกะได้ง่าย หมายที่ขัดแย้ง กับหลักอุดมคติหรือหลักความยุติธรรมตามธรรมชาติจะต้องตกเป็นโมฆะหรือ
5. สภาวะแวดล้อมของแต่ละแห่งแตกต่างกัน ทําให้เกิดความหลากหลาย ไม่มีผลใช้บังคับเช่นยุคก่อนๆ
ของสมุติฐาน - ลอน ฟุลเลอร์ (Lon Fuller)
ยังคงยืนยันว่ากฏหมายเป็นสิ่งที่มีอยู่เองในธรรมชาติและต้องสอดคล้องกับศีล
ยุคที่ 1 : ยุคกรีกและโรมัน (ก่อกําเนิด) ธรรม กฏหมายมีความจําเป็นต้องอยู่ภายใต้บังคับของศีลธรรม กฏหมายจึงต้องบรรจุหลัก
- โซโฟคริส (sophocies ) เกณฑ์ของศีลธรรมลงไปด้วย เรียกว่า ศีลธธรรมภายในกฏหมาย ประกอบไปด้วย
เป็นนักปรัชญากฏหมายธรรมชาติที่ยืนยันว่ากฏหมายธรรมชาติเป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ กฏหมายใดขของรัฐหรือแย้งต่อ 1. ต้องมีลักษณะทั่วไปที่ใช้ชี้นําการกระทําต่างๆโดยเฉพาะ
กฏหมายธรรมชาติไม่ได้ และยังยืนหนักแน่นถึงกฏหมายธรรมชาติว่าหากกฏใดขัดแย้งหรือแย้งต่อกฏหมายธรรมชาติ ย่อมเป็นโมฆะ 2. ต้องถูกตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่สามารถใช้บังคับได้อย่างแน่แท้ 3. ไม่มีผลย้อนหลัง
4. ต้องชัดแจ้งและสามารถเข้าใจได้
ยุคที่ 2 : ยุคมืดและยุคกลาง 5. ไม่ขัดแย้งกันเอง
กฏหมายธรรมชาติในยุคนี้ เสื่อมเนื่องจากศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก ได้รับความเฟื่องฟูและเข้ามามีอํานาจ 6. มีความมั่นคงแน่นอนไม่เปลี่ยนแปลงบ่อยเกินไป
เหนืออาณาจักร ปรัชญากฏหมายธรรมชาติจึงเสื่อมถอย แนวคิดต่างๆ เริ่มมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับความนิยมใน 7. ต้องบังคับในสิ่งที่เป็นไปได้
สังคม โดยมีการนําเอาหลักทางศาสนาเข้ามามีบทบาท แนวคิดต่างๆ สะท้อนออกมาภายใต้หลักศาสนา ไม่ได้ยืนยันเด็ด 8. มีความสอดคล้องกลมกลืนกันระหว่างกฏกับการกระทําของเจ้าหน้าที่
ขาดอย่างในยุคแรก จึงนิยมเรียกยุคนี้ว่าเป็น ยุคมืด
1. นครของพระเจ้า คือ นครที่มีแต่คนเคารพกฏศาสนา ย่อมถือว่าเคารพกฏหมาย

f
- เซนต์ ออกัสติน (St. Aungustine) ธรรมชาติ ทุกคนยึดมั่นในหลักคําสอนของศาสนา
กฏหมายธรรมชาติ คือ กฏของพระผู้เป็นเจ้า กฏของศาสนาจึงเป็นกฏหมายธรรมชาติ ดังนั้น กฏหมายใดที่ไม่
ถูกต้องตามกฏของศาสนา ย่อมใช้บังคับไม่ได้ นอกจากนั้นยังมีการแบ่งแยก นครเป็น 2 นคร คือ 2. นครมนุษย์ คือ นครที่ทุกคนยังเต็มไปด้วยภาระความวุ่นวาย มีความจําเป็นต้อง
ดําเนินชีวิตไปประจําวันตามธรรมดา ซึ่งจะถูกควบคุมโดยนครของพระเจ้าอีกชั้นนึง
C-
ปรัชญากฏหมายธรรมชาติในยุคโบราณและยุคปัจจุบัน มีจุดร่วมและจุดแตกต่างดังนี้ นักปราชญ์คนสําคัญ
1. ปรัชญากฏหมายธรรมชาติในยุคโบราณและยุคปัจจุบัน ต่างยึดมั่นในแนวคิดทางกฏหมายแบบศีล - เยเรมี่ เบนแธม (ปรัชญาเมธีผู้ให้กําเนิด)
ธรรมนิยม ปรัชญายุคโบราณจะมีลักษณะ อภิปรัชญาสูง เคร่งครัดในหลักกฏหมายธรรมชาติที่กฏหมาย กฎหมายกับศีลธรรม นั้นมิใช่เรื่องที่จะกล่าวอ้างขึ้นมาเลยลอยในลักษณะที่เป็น นามธรรม
ของมนุษย์ไม่อาจขัดแย้งได้ อันต่างจากปรัชญาอื่นๆ แต่เขากลับมองว่ากฎหมายที่ก่อให้เกิดปริมาณความสุขแก่เอกชนมากที่สุดถือเป็นกฎหมายที่ถูก
2. ยุคปัจจุบันที่มีลักษณะผ่อนปรน ประนีประนอมมากขึ้น มีความหลากหลายในคําอธิบายมากขึ้น ตลอด ต้องและเป็นไปตามศีลธรรม กฎหมายเช่นนี้เรียกว่า หลักอรรถประโยชน์ ซึ่งการที่ผู้ปกครอง
จนมีจุดเด่นในการเคารพต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ / สิทธิมนุษยชน บัญญัติกฎหมายโดยมีการบัญญัติกฎเกณฑ์ในการลงโทษและการให้รางวัลล้วนแต่เป็นข้อเท็จจริง
ที่ปรากฏให้เห็นในทางกฎหมาย ดังนั้น จากการให้นิยามความหมายของกฎหมายในสภาพที่เป็น
แนวคิดกฏหมายธรรมชาติสมัยใหม่/ร่วมสมัย มีความคิดแตกต่างโดยฐานความคิดสาระ จริงดังกล่าวจึงหลีกเลี่ยงไม่พ้นว่าการมองว่ากฎหมายเป็นเจตจํานงหรือคําสั่งของรัฏฐาธิปไตยซึ่ง
ความคิด สาระ จากแนวคิดของสํานักกฏหมายประวัติศาสตร์ดังนี้ เป็นผู้ มีอํานาจในรัฐที่บัญญัติขึ้นใช้บังคับแก่ประชาชน
1. โดยฐานคิด สาระ แนวคิดกฏหมายธรรมชาติสมัยใหม่ มีจุดเด่นในฐานความคิดเหตุผลนิยม, สากลนิยม, การ
เคารพต่อสิทธิมนุษยชน, ศีลธรรมเชิงกระบวนการ/กฆมายธรรมชาติเชิงกระบวนการ (l Fuller) - จอห์น ออสติน
2. แตกต่างจากสํานักกฏหมายประวัติศาสตร์ที่มีฐานคิดแบบ โรแมนติก, อนุรักษ์นิยม, ชาตินิยมและแก่นสาระ เขาปฏิเสธอย่างชัดเจนว่ากฎหมายไม่ใช่สิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติแต่มองว่ากฎหมายคือคําสั่ง
ของกฏหมายที่มีลักษณะเฉพาะตัวในแต่ละสังคม/ประวัติศาสตร์สังคม อันยึดโยงกับิตวิญญาณของประชาชนใน ของรัฏฐาธิปไตยซึ่งกําหนดมาตรฐานความประพฤติให้กับผู้อยู่ใต้อํานาจปกครองของตนหากไม่
ชาติ จารีตประเพณี ปฏิบัติตามแล้วจะต้อง ได้รับโทษ เขาเน้นประเด็นเรื่องการเคารพเชื่อฟังคําสั่ง โดยสมํ่าเสมอซึ่ง
เป็นการพิจารณากฎหมายในแง่ของประสิทธิภาพของคําสั่งและบทกําหนดโทษโดยไม่คํานึงถึง
สํานักปฎิฐานนิยม ลักษณะภายในของกฎหมายอันเป็นความชอบธรรมของตัวบทกฏหมายนั้นๆ ไม่ว่าเนื้อหาสาระ

e.et.tn
คือสิ่งที่ที่ผู้มีอํานาจสูงสุดในรัฐเป็นคนสร้างขึ้น เพื่อใช้บังคับความประพฤติของพลเมืองในรัฐนั้นๆ เพื่อให้ ซึ่งปรากฏอยู่ในตัวบทกฎหมายจะมีผลกระทบถึงความดีหรือความเลวก็ไม่ใช่สาระสําคัญแต่
อยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข หากผลเมืองคนใดฝ่าฝืนไม่ปฎิบัติ ย่อมมีความผิดและต้องถูกลงโทษ เป็นเรื่องที่ผู้มี ประเด็นสําคัญขึ้นอยู่กับว่ากฎหมายนั้นตราขึ้นโดยรัฏฐาธิปไตยหรือไม่ ถ้ากฎหมายนั้นตราขึ้น
อํานาจสร้างขึ้น แยกขาดออกจากศีลธรรมหรือจริยธรรม โดยรัฏฐาธิปไตยย่อมเป็นกฎหมายที่สามารถใช้บังคับได้และมีผลสมบูรณ์
ข้อวิจารณ์ทฤษฎีของ จอห์น ออสติน
บทวิเคราะห์ สํานักนี้มองว่าการดํารงอยู่หรือสมบูรณ์ของกฏหมาย ไม่ได้ขึ้นอยู่กับเรื่องศีลธรรมหรือจริยธรรม กฏหมายแยกออก 1. มีลักษณะเป็นการมองกฏหมายเพียงด้านเดียวกล่าวคือออสตินเน้นในเรื่องของคํา
เด็ดขาดจากศีละรรม เนื่องจากศีลธรรมหรือจริยธรรมของแต่ละคนแตกต่างกัน จึงทําให้กฏหมายขาดความแน่นอน ดังนั้น สั่งของรัฏฐาธิปไตยเท่านั้นทําให้ขาดการให้ความสําคัญในด้านอื่นๆ
ในทัศนะของสํานักนี้จึงมีลักษณะชัดเจน แน่นอน มีความเป้นวิทยาศาสตร์นิยม พิสูจน์แลัสัมผัสได้ 2. ถูกวิจารณ์ในเนื้อหาที่เน้นในเรื่องอํานาจสูงสุดของรัฐอธิปัตย์ในฐานะผู้บัญญัติ
กฎหมายอยู่ภายใต้ข้อจํากัดใดใดทําให้เกิดช่องโหว่ในเรื่องความต่อเนื่องของกฎหมายจา
ลักษณะแนวความคิด กรัฏฐาธิปไตยหรือผู้มีอํานาจสูงสุด
1. การยืนยันว่าการดํารงอยู่ของกฏหมายไม่ได้ขึ้นอยู่กับการที่กฏหมายต้องตอบสนองหรือสอดคล้องกับหลัก 3. ถูกมองว่าเป็นทฤษฎีทางกฎหมายที่สนับสนุนเผด็จการหรือระบบอํานาจพิเศษ
คุณค่าทางศีลธรรม ไม่จําเป้นต้องเกี่ยวโยงกับศีลธรรมหรือหลักความยุติธรรมใดๆ กฏหมายนั้นสืบเนื่องมาจากมีข้อเท็จจริง เนื่องจากยืนยัน ในเรื่องอํานาจอันไม่จํากัดของรัฏฐาธิปไตยโดยไม่มีการคํานึงถึงประเด็นเรื่อง
เกี่ยวกับอํานาจรัฐเป็นผู้ให้กําเนิดเท่านั้น แม้กฏหมายที่ออกมาจะมีสาระขัดแย้งกับมโนธรรมของคน แต่ถ้ากฏหมายนั้นถูก ความชอบธรรม
สร้างขึ้นโดยผู้มีอํานาจแล้วก็ถือว่าเป็นกฏหมายทั้งสิ้น
2. การยืนยันว่า การดํารงอยบู่ของกฏหมายนีั้นขึ้นอยู่กีับการทีั่ถูกสร้างขึ้นของมนุษย์มิ ได้เกิดจากธรรมชาติหรือ - ฮาร์ท (H.L.A. Hart)
พระผู้เป็นจ้าวแต่อย่างใดเป็นเรื่องที่ผู้มีอํานาจทางกฎหมายหรือผู้มีอํานาจในรัฐเท่านั้นที่เป็นคนสร้างขึ้นมา ยืนยันว่ากฎหมายและศีลธรรม นั้นไม่จําเป็นต้องเกี่ยวโยงกันเสมอไปและการดํารงอยู่หรือ
3. ยืนยันว่ากฎหมายมีสภาพบังคับและมีบทลงโทษในตัวของมันเอง กล่าวคือ เป็นการสะท้อนให้เห็นว่าความ ความสมบูรณ์ของกฎหมายเป็นเรื่องที่ต้องแยกออกจากความชอบทําหรือไม่ชอบทําของกฎหมาย
สมบูรณ์ของกฎหมายเป็นสิ่งที่ต้องปฏิบัติตาม หากไม่ปฏิบัติตามย่อมมีความผิดและอาจถูกลงโทษ ดังนั้น ในสายตาของ คือระบบแห่งกฎเกณฑ์เป็นสิ่งที่ผู้ปกครองหรือผู้มีอํานาจในรัฐเป็นคนบัญญัติขึ้นมา แต่อย่างไร
นักปฎิฐานนิยมกฎหมายธรรมชาติจึงไม่มีฐานะเป็นกฎหมายเพราะไม่มีสภาพบังคับ ก็ตาม อํานาจของผู้ปกครองนีั้นต้องมาจากอํานาจอันชอบธรรมคือการยอมรับของคนในสังคม
อย่างไรก็ตามกฎหมายต้องบรรจุเนื้อหาอย่างน้อยที่สุดของกฎหมายธรรมชาติเอาไว้ด้วย
ภูมหิ ลังและการก่อกําเนิด ซึ่งเห็นได้ว่ากฎหมายหรือระบบกฎหมายตามทฤษฎีของ ฮาร์ท นั้นไม่ใช่เรื่องของกฎเกณฑ์ล้วน
ปฎิฐานนิยม เกิดขึ้นในช่วงคริสตศักราชที่ 1900 ในขณะที่ ปรัชญากฎหมายธรรมชาติกําลังตกตํ่าถึงขีดสุด ถือ แต่ยังมีองค์ประกอบในเรื่องของคุณค่าทางศีลธรรมหรือมิติทางศีลธรรมแฝงอยู่ จึงเป็นสุดชื่อทีม่ ี
เป็นสํานักคิดที่ 2 ของโลกที่เกิดขึ้น โดยมีสาเหตุที่ทําให้ก่อกําเนิดขึ้น ดังนี้ ลักษณะประนีประนอมกันมากขึ้นระหว่างปฏิฐานนิยมและกฎหมายธรรมชาติ
1. ภูมิหลังด้านอิทธิพลแนวคิดแบบวิทยาศาสตร์เนื่องจากมีการเจริญเติบโตทางวิทยาศาสตร์เป็น ข้อวิภาควิจารณ์ของ ฟุลเลอร์ ที่มีต่อ ฮาร์ท
hrnur

อย่างมาก ผู้คนในสังคมล้วนแต่ยอมรับในสิ่งที่สามารถพิสูจน์และปฏิบัติตามได้ แนวคิดแบบวิทยาศาสตร์ ฟุลเลอร์ไม่เห็นด้วยอย่างมากกับการที่ ฮาร์ทสรุปว่ากฎหมายเป็นเรื่องของกฎเกณฑ์และไม่


จึงเริ่มแพร่กระจายเข้าไปในหมู่คนส่วนมากของสังคมทําให้ปฏิฐานนิยมเกิดขึ้นและกฎหมายธรรมชาติเสื่อม จําเป็นต้องเกี่ยวข้องกับหลักศีลธรรม หรือ คุณค่าทางศีลธรรมกล่าวคือในทัศนะของฟุลเลอร์นั้น
ลง เห็นว่ากฎหมายต้องตอบสนองความจําเป็นและวัตถุประสงค์ทางสินละทํากฎหมายและศีลธรรมจึง
2. ภูมิหลังด้านการเมือง เนื่องจากในขนาดนั้นคือในช่วงราวทศวรรษที่ 18 ถึง 19 ได้มีการ เป็นสิ่งที่ไม่อาจแยกออกจากกันได้โดยกฎหมายจะต้องมีสิ่งที่เรียกกันว่าศีลธรรมภายในกฎหมาย
เปลี่ยนแปลงระบบสังคม เกิดการปกครองในลักษณะที่เรียกว่า รัฐชาตินิยม คือ ต้องการให้รัฐมีอํานาจเด็ด บรรจุอยู่เสมอ
ขาดในการตรากฎเกณฑ์ต่างๆขึ้นใช้บังคับกับสังคมที่กําลังเปลี่ยนแปลงเพื่อความเป็นปึกแผ่นของรัฐ m
ข้อวิภาควิจารณ์ของ ดวอร์กิ้น ที่มีต่อ ฮาร์ท
wnnnnn

ดวอร์กิ้น มองว่า การที่ถือว่ากฎหมายเป็นเพียงเรื่องระบบแห่งกฎเกณฑ์ตามความคิด


ของฮาร์ทนั้นเป็นข้อสรุปที่ไม่สมบูรณ์และขับแคบเกินไปเพราะจริงๆแล้วกฎเกณฑ์ไม่ใช่เนื้อหาสาระ
เพียงอย่างเดียวในกฎหมายการมองกฎหมายเป็นเรื่องของกฎเกณฑ์เท่านั้นจึงเป็นสิ่งไม่เพียงพอ
แท้จริงแล้วยังมีเนื้อหาสาระสําคัญอื่นๆประกอบอยู่ภายในกฎหมายที่สําคัญนั้นคือเนื้อหาสาระที่
เป็นเรื่องของหลักการทางศีลธรรมหรือความเป็นธรรม
1. เหตุผลสําคัญของการก่อตัวขึ้นของแนวคิดปฎิฐานนิยมทางกฎหมายของ จอห์นออสติน มีดังนี้ ความยุติธรรม
- แนวคิดปฎิฐานนิยมจากมุมมองของการตอบปัญหาต่อกฎหมาย ทีส่ ามารถพิสูจน์ถึงกฎหมายที่แท้จริงได้ หมายถึง ความเที่ยงธรรมความชอบธรรมหรือความชอบด้วยเหตุผล
โดยยึดโยงต่ออํานาจรัฐมิใช่เหตุผลตามธรรมชาติหรือโองการของพระเจ้า ประกอบกับวิทยาการความ
ก้าวหน้า ที่เริ่มเชื่อถือในสิ่งที่สามารถพิสูจน์ให้เห็นเป็นจริงได้และแนวคิดชาติรัฐนิยม - พระเจ้าจัสตินเนียน ความยุติธรรม คือ เจตจํานงอันแน่วแน่ตลอดการที่จะให้ทุกคนตามส่วนที่เขาได้รับ
- การยอมรับต่ออํานาจการปกครองโดยฝ่ายอาณาจักรอํานาจของผู้ปกครอง ในการออกกฏหมายและ - กรมมาหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ความยุติธรรม คือ ความประพฤติอันชอบด้วยกฎหมาย ความชอบของคน
การใช้กฎหมายบทบัญญัติที่กําหนดขึ้นโดยมนุษย์และบทลงโทษสําหรับผู้กระทําความผิด กฎหมายจึงต้อง แปรปรวนไม่ยุติธรรม
กําหนดขึ้นโดยผู้มีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศบังคับใช้กับพลเรือนทั่วไปและหากผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม - ศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย์ การที่มีคําว่า กฏหมาย และ ความยุติธรรม แสดงให้เห็นว่าไม่ใช่สิ่งเดียวกัน
ย่อมมีความผิดและถูกลงโทษโดยผู้ปกครอง เสมอไป ดังนั้นการที่นักกฏหมายยึดถือแต่กฎหมายไม่คํานึงถึงความยุติธรรมจึงเป็นความเข้าใจอย่างแคบ

ยmmoกต
ความแตกต่างที่สําคัญของแนวคิดปฏิฐานนิยมและปรัชญากฎหมายธรรมชาติ ได้แก่ ความสัมพันธ์ของความยุติธรรมกับกฏหมาย
1. ทฤษฎีที่ถือความยุติธรรมเป็นสิ่งเดียวกับกฎหมาย
ปรัชญากฎหมายธรรมชาติ
_
_
ปฏิฐานนิยม
_
เป็นความยุติธรรมตามกฏหมาย โดยทฤษฎีนี้ปรากฏมาตั้งแต่สมัยกฎหมายโมเสสของชาวยิวที่
- เป็นแนวคิดอุดมคติในทางกฎหมายทีม่ อง - มองถึงรูปธรรมทางกฎหมายที่เน้น ถือว่ากฎหมายและความที่ทําเป็นสิ่งเดียวกัน เนื่องจากกําเนิดจากพระเจ้าเหมือนกัน และในยุคหลังมี
ถึงกฏธรรมชาติเหตุผลตามธรรมชาติ อํานาจผ่านผู้ปกครองกฏหมายจึงเป็น การตีความผ่านนักคิดคนสําคัญของสํานักปฎิฐานนิยมของกฎหมายที่ยืนยันความเด็ดขาดของกฎหมาย
ธรรมชาติของมนุษย์ สิ่งที่มนุษย์กําหนดขึ้นเพื่อใช้กับ รวมถึงนักกฏหมายไทยที่รับอิทธิพลของแนวคิดนี้ด้วยคือ กรมมาหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ตรัสว่า เมือง
- เน้นศีลธรรมภายในกฎหมาย มนุษย์ด้วยกันเองมิใช่สิ่งที่เกิดจาก ไทยมีคําพิพากษาเก่าเก่าอ้างความยุติธรรม
ธรรมชาติหรือกฎของพระผู้เป็นเจ้า
- มองว่ากฎหมายไม่จําเป็นต้องเกี่ยว 2. ทฤษฎีที่เชื่อว่าความยุติธรรมเป็นอุดมคติในกฎหมาย
โยงกับศีลธรรมเสมอไป ยกย่องว่าคุณธรรมเป็นสิ่งที่อยู่เหนือกฎหมายในแง่ที่ความที่ทําเป็นแก่นของกฎหมายกฎหมาย
เป็นเพียงเครื่องมือของความยุติธรรมและต้องเดินตามหลักความยุติธรรมเสมอ เป็นการมองความ
ยุติธรรมในเชิงอุดมคติทํานองเดียวกับปรัชญากฎหมายธรรมชาติ ที่เรียกว่าความยุติธรรมตาม
หลักนิติธรรม
-
ธรรมชาติ โดยมีผู้ให้แนวคิดสนับสนุนไว้ดังนี้
หมายถึง หลักความเป็นธรรมหรือหลักความยุติธรรมโดยเฉพาะความยุติธรรมในการปกครองหรือใช้อํานาจของรัฐ - พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยกฎหมายเป็นแต่เครื่องมือในการรักษาความ
ผู้ปกครองจะปกครองแผ่นดินต้องปกครองด้วยหลักนิติธรรม คือ จะต้องใช้กฎหมายอย่างยุติธรรมอยู่ภายใต้หลักความ ยุติธรรมดังกล่าว จึงไม่ควรจะถือว่ามีความสําคัญยิ่งกว่าความยุติธรรม หากควรต้องถือว่าความ
เป็นเหตุและผล ถือว่าเป็นกลไกหนึ่งที่คอยควบคุมรัฐหรือผู้ปกครองให้ใช้อํานาจทางการปกครองด้วยความชอบธรรม รวม ยุติธรรมมาก่อนกฎหมายและอยู่เหนือกฎหมาย
ทั้งยังเป็นการรับรองสิทธิ์ของพลเมืองในรัฐนั้นให้มีความเป็นอิสระและความเสมอภาคกันในทางกฏหมาย - ศาสตราจารย์ จิตติ การที่นักกฏหมายจะยึดถือแต่กฎหมายไม่คํานึงถึงความที่ทําตาม
ความหมายทั่วไปนั้นเป็นความเข้าใจที่แคบกว่าที่ควรจะเป็น
นักปรัชญาที่วางหลักแนวคิดเรื่องหลักนิติธรรม
-
เอ.วี.ไดซีย์ (A.V. Dicey )
หลักนิติธรรม ย่อมแสดงออกมาโดย นัยสําคัญ 3 ประการดังต่อไปนี้
woso
การเคารพเชื่อฟังกฏหมายและการดื้อแพ่ง
1. ฝ่ายบริหารไม่มีอํานาจลงโทษบุคคลใดได้ตามอําเภอใจ เว้นแต่จะมีการกระทําอันเป็นการละเมิดต่อ การเคารพเชื่อฟังกฏหมาย
กฎหมายโดยชัดแจ้งและโทษที่จะลงได้นั้นต้องกระทําภายใต้กระบวนการปกติของกฎหมายและศาล เป็นผลสืบเนื่องมาจากแนวความคิดของนักปราชชญาในทางปฏิฐานนิยม ซึ่งมองว่ากฎหมายนั้น
2. ไม่มีบุคคลใดอยู่เหนือกฎหมายไม่ว่าเขาจะอยู่ในตําแหน่งหรือโดยเงื่อนไขใดใดทุกคนล้วนตกอยู่ภาย เป็นความยุติธรรม เป็นสิ่งที่รัฐสร้างขึ้นเพื่อใช้ปกครองพลเมืองของรัฐ กฎหมายย่อมมีความยุติธรรมอยู่ใน
ใต้กฎหมายเดียวกัน ตัว ดังนั้น ประชาชนทุกคนจึงจําเป็นที่จะต้องเคารพเชื่อฟังกฏหมายโดยสมํ่าเสมอ ดังจะเห็นได้จากทัศนะ
3. สิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนต้องเป็นผลมาจากคําวินิจฉัยของศาล ของจอห์นออสตินซึ่งเป็นนักปรัชญาในทางปฏิฐานนิยม ได้เน้นประเด็นในเรื่องการเคารพเชื่อฟังโดย
สมํ่าเสมอเพื่อให้กฎหมายที่รัฐประกาศอย่างมีประสิทธิภาพ
0
คณะกรรมการนิติศาสตร์สากล หรือ ICJ. เหตุผลที่นํามารองรับหลักการที่ว่าทุกคนต้องเคารพเชื่อฟังกฏหมายนั้นมีอยู่ 3 ประการคือ
นอกจากที่ประชาชนจะได้รับการรับรองทางกฏหมายอย่างเท่าเทียมเสมอภาคกัน 1. หลักสัญญาประชาคม เนื่องจากกฎหมายเป็นข้อตกลงร่วมกันของสังคมที่กําหนดขึ้นมาเพื่อให้สังคมอยู่
แล้วต้องมีการคุ้มครองสิทธิของพลเมืองในด้านต่างๆประกอบกันไปด้วยเช่นกันเช่น ร่วมกันได้อย่างปกติสุข ดังนั้น ทุกคนจึงมีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตาม
เศรษฐกิจสังคม การเมือง และวัฒนธรรม เพราะ 4 ประการนั้นล้วนแต่เป็นสิทธิ์ขั้นพื้น 2. หลักความเสมอภาคเที่ยงธรรม คือทุกคนเสมอภาคกันในทางกฏหมาย ดังนั้นสมควรที่ทุกคนจะต้องครบ
ฐานของพลเมืองที่จะต้องมี เชื่อฟังกฎใหม่เหมือนกัน
3. หลักความสงบเรียบร้อย คือ การเคารพเชื่อฟังกฏหมายจะทําให้สังคมนั้นอยู่ร่วมกันโดยสงบเรียบร้อย
เพราะทุกคนล้วนแต่ปฏิบัติตามกฎกติกาของสังคม
การดื้อแพ่งต่อกฏหมาย แนวคิดสํานักกฏหมายประวัติศาสตร์ (Historical School of Law )
การกระทําที่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายโดยสันติวิธี คือการกระทําในเชิงศีลธรรมในลักษณะของการ เหตุผลที่แนวคิดของสํานักกฏหมายประวัติศาสตร์อธิบายเช่นนั้นเพราะ พื้นฐานที่มาของแนวคิดของเยอรมันใน
ประท้วง คัดค้านต่อกฎหมายที่ไม่เป็นธรรมหรือต่อการกระทําของรัฐบาลหรือผู้ปกครองที่เห็นว่าไม่ถูกต้อง เป็นผล ขณะนั้นได้รับอิสรภาพจากการปกครองของฝรั่งเศส ทําให้เกิดการปลุกกระแส ความรักชาติด้วยอารมณ์ หัวใจและจิต
สืบเนื่องมาจากปรัชญากฎหมายธรรมชาติที่มองว่ากฎหมายจะต้องเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงสัมพันธ์กับความยุติธรรม วิญญาณ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในชาติ และความพยายามสร้างกฎหมายที่กําเนิดและเกิดขึ้นมาจาก
หรือศีลธรรม ดังนั้น หากกฎหมายใดที่ไม่ถูกต้องตามความเป็นธรรมหรือไม่สอดคล้องกับศีลธรรมย่อมใช้บังคับไม่ได้ ประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของชาติที่หลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวกันของคนเยอรมัน โดยมีพื้นฐาน ที่เกิดขึ้นมาพร้อมพร้อม
ประชาชนจึงไม่จําเป็นหรือไม่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายนั้น กับจารีตประเพณีที่คนในชาติยอมรับและยึดถือปฏิบัติร่วมกันมา
ดังนั้นกฎหมายจึงมีที่มาจากขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีคนในชาติชอบปฏิบัติกันมาตั้งแต่ต้นกําเนิด และ
นักปรัชญาที่สนับสนุนการดื้อแพ่ง
wuunrrrnrnrnnn
เติบโตอย่างลึกลงไปในจิตวิญญาณของชนในชาติที่พร้อมจะยึดถือและปฏิบัติร่วมกัน กฎหมายของสํานักคิดนี้ จึงถือเป็น
ดวอร์กิ้น ( Ronald Dworkin ) จิตวิญญาณร่วมกันของคนในชาตินั้นและมีที่มาจากจารีตประเพณีที่มีความแตกต่างกับชาติอื่นๆ และถือว่ากฎหมายของ
การดื้อแพ่งต่อกฎหมายและเป็นสิ่งที่ควรยอมรับแต่ต้องปฏิบัติภายใต้ข้อแม้ว่าการกระทํานั้นนั้น ต้อง ชาติหนึ่งจะนํากฎหมายของอีกชาติหนึ่งมาใช้ไม่ได้
ไม่เป็นการกระตุ้นหรือยั่วยุต่อความรุนแรงให้เกิดขึ้น และต้องไม่เป็นการรุกลํ้าต่อสิทธิของบุคคลอื่น
แต่ ดวอร์กิ้น เองก็ยอมรับว่าการดื้อแพ่งต่อกฎหมายนั้นเป็นการกระทําที่ผิดแม้จะเป็นการดื้อแพ่งต่อ แนวความคิดของกฏหมายธรรมชาติและปฎิฐานนิยมทางกฏหมาย ความแตกต่าง กับมีแนวคิดกับสํานักกฏหมาย
กฎหมายที่ไม่เป็นธรรมก็ตาม แต่โทษที่จะลงต่อผู้ดื้อแพ่งต่อกฎหมายที่ไม่เป็นธรรมนั้นควรชะลอการลงโทษ ประวัติศาสตร์ ดังนี้
เอาไว้ก่อน - จากแนวคิดดังกล่าวทําให้สํานักคิดนี้มีความแตกต่างจากปรัชญากฎหมายธรรมชาติคือกฎหมายไม่ใช่สิ่ง
ที่เป็นสากลจะนํามาใช้ได้เหมือนกันในทุกชาติ
สํานักกฏหมายประวัตศิ าสตร์ - แตกต่างจากปรัชญาปฏิฐานนิยมคือกฎหมายไม่ได้เกิดขึ้นตามอําเภอใจของใครแต่เป็นประวัติศาสตร์
เป็นผลผลิตของพลังภายในสังคมที่ทํางานอย่างเงียบเงียบและมีรากเหง้าที่หยั่งลึกลงใน ความเป็นมาจารีตประเพณีที่มีการยึดถือปฏิบัติร่วมกันกําเนิดและเติบโตมาพร้อมพร้อมกันกับคนในชาตินั้นนั้น
ประวัติศาสตร์ของประชาชาติ โดยมีกําเนิดและเติบโตด้วยมาจากประสบการณ์และหลักความประพฤติ
ทั่วไปของประชาชนซึ่งปรากฏอยู่ในรูปประเพณี
สํานักนิตศิ าสตร์เชิงสังคมวิทยา
บทวิเคราะห์ หลักการสําคัญของสํานักกฏหมายประวัติติศาสตร์
☐ กฎหมาย เป็นเพียงเครื่องมือในการเปลี่ยนแปลงสังคม เป็นเครื่องมือในการจัดระเบียบหรือผลประโยชน์ของ
_ _

1. กฎหมายเป็นสิ่งที่ถูกค้นพบไม่ใช่สิ่งที่ถูกสร้างขึ้น สังคมเว้นวรรคให้เกิดความสมมาดูลและเป็นธรรม เน้นบทบาทความสัมพันธ์ของกฎหมายที่มีต่อสังคม อันเป็นการ


2. นักกฏหมายมีหน้าที่ต้องไปสืบค้นประวัติศาสตร์ เพื่อนํามาบัญญัติกฎหมาย พิจารณาถึงเรื่องบทบาทหน้าที่หรือการทํางานของกฎหมายมากกว่า การสนใจกฎหมายในแง่ที่เป็นเนื้อหาสาระกฎหมาย
3. กฎหมายไม่ใช่สิ่งที่เป็นสากลแต่มีความแตกต่างกันไปตามชนชาติมีลักษณะเฉพาะตัวของสังคมนั้น ๆ การตรากฎหมายเป็นไป เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆโดยเฉพาะการสร้างกฎหมายเพื่อป้องกันผลประโยชน์ของส่วนรวม ทฤษฎี
นิติศาสตร์เชิงสังคม จึงเป็นการนําเอาวิชาความรู้ต่างๆในทางสังคมวิทยาเข้ามาใช้กับหลักการทางวิทยาศาสตร์
นักปรัชญาคนสําคัญ
hnnrvnnnun

- ซาวิญญี่ (Savingny ) - ผู้ให้กําเนิด นักปรัชญาคนสําคัญ


กฎหมายเกิดขึ้น และพัฒนาไปตามปกติศาสตร์ของแต่ละชนชาติ กฎหมายเป็นผลผลิต - รูดอล์ฟ ฟอน เยียริ่ง (Rudolf Von Jhering )

จากเจตจํานงหรือจิตสํานึกของประชาชนในรัฐนั้นนั้นที่หยั่งลึกลงในประวัติศาสตร์ของประชาชาติ เขาเชื่อมั่นว่าต้นกําเนิดของกฎหมายวางอยู่ที่เงื่อนไขทางสังคมวิทยา รากฐานอันแท้จริงของเรื่อง “สิทธิ” อยู่ที่ผล”ประโยชน์”

โดยปรากฏอยู่ในรูปของประเพณี หน้าที่ของนักกฏหมายคือค้นหาจิตสํานึกของประชาชาตินั้น ค.ศ. 1887 ผลงานเขียนอันยิ่งใหญ่ที่สุดคือ “วัตถุประสงค์ในกฎหมาย” ในชื่อใหม่ว่า “กฎหมายในฐานะเครื่องมือเพื่อบรรลุ” และ

และนํามาบัญญัติเป็นกฎหมายเพื่อทําให้กฏหมายนั้นสอดคล้องกับเจตจํานงของประชาชน วัตถุประสงค์เป็นประการหนึ่งกฎสากลที่มีอยู่ เบื้องหลังทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไร้ชีวิต รวมทั้งเป็นสิ่งที่ครอบงําความเป็นไปของสสารและ


เจตจํานง วัตถุประสงค์จึงเป็นเสมือนแหล่งกําเนิดของกฎหมายวัตถุประสงค์จึงเป็นผู้สร้างกฎหมายทั้งหมด ไม่มีกฎเกณฑ์ทางกฏ
ข้อวิจารณ์แนวคิดสํานักประวัติศาสตร์กฏหมาย หมายใดใดที่ไม่มีวัตถุประสงค์หรือมูลเหตุ จงใจในทางปฏิบัติเป็นกําเนิดที่มา
1. เป็นการมองกฎหมาย ในลักษณะที่มองย้อนสู่อดีต ซึ่งอาจทําให้มีการหลงติดหรือยึดติดอยู่กับอดีตมากเกินไป
และอาจเป็นผลทําให้ละเลยต่อลักษณะที่แท้จริงของสังคมที่มีความเคลื่อนไหวเจริญเติบโตอยู่ตลอดเวลา - ลีออง ดิวกี้ (Leon Duguit ) - ทฤษฏีสมานฉัน
2. เป็นการบั่นทอนพลังสร้างสรรค์ในการปฏิรูปกฎหมายและเป็นอุปสรรคต่อการริเริ่มการเปลี่ยนแปลงสังคมใหม่ๆ ทฤษฎีว่าด้วยความสมานฉันท์ของสังคมของดิวกี้ ก็เริ่มจากเรื่องความสมานฉันท์ของสังคมโดยผ่านรูปแบบแยก
3. ต้องใช้ระยะเวลานานกว่าที่จะมีการบัญญัติกฎหมายใดใดขึ้นมาได้เพราะเป็นแนวคิดลักษณะค่อยเป็นค่อยไปอีก แรงงานและอิงอยู่กับวิธีคิดแบบปรัชญาปฏิฐานนิยมที่มุ่งการเข้าสู่ปัญหาสังคมจากความเปลี่ยนแปลงรูปแบบเดิมที่มีลักษณะ
ทั้งการจะพิจารณาว่าสิ่งใดคือเจตจํานงของประชาชนก็เป็นไปได้ยากในทางปฏิบัติ เป็นไปตามกลไกธรรมชาติบนพื้นฐานของความต้องการและการทํางานใช้ชีวิตที่สอดคล้องกลมกลืนกันเฉกเช่นวิถีชีวิตใน
สังคมเกษตรกรรมได้นํามาสู่ลักษณะความสมานฉันท์อันมีรูปแบบใหม่มีลักษณะคล้ายเป็นการรวมตัวของไว้ต่างๆดังนั้นในแง่
คุณูปการของสํานักกฏหมายประวัติศาสตร์ ของกฎหมายหลักนี้จึงกลายเป็นเครื่องมือชั้นหนึ่งในสังคมที่คอยรักษาและควบคุมการทํางานของระบบการแบ่งงานให้สังคม
-

เพราะการศึกษากฎหมายในอดีตทําให้เราทราบถึงจุดบกพร่อง ดีของกฎหมายนั้นนั้นเพื่อให้เรานํามา ที่ซับซ้อนซึ่งหากมีการเชื่อมโยงกันใกล้ชิดได้ก็สามารถดําเนินชีวิตในสังคมภายใต้กฎหมายอันนี้ได้อย่างราบรื่น


ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่บกพร่องนั้น ส่วนที่ดีอยู่แล้วก็จะได้ทําให้ดียิ่งขึ้นอีก ทําให้กฏหมายในปัจจุบันมี
ประสิทธิภาพ และได้รับการยอมรับเชื่อถือจากประชาชนมากขึ้นไปอีกขั้นหนึ่งหรือระดับหนึ่ง เพราะเราเองต้อง - รอสโค พาวนด์ (Roscoe Pound)
ยอมรับระดับหนึ่งว่า อดีตนั้นจะเป็นตัวบ่งถึงอนาคตและปัจจุบันเมื่อเราศึกษาเรื่องอดีตก็จะทําให้ทราบได้ว่า เป็นผู้คิดค้น “ทฤษฎีวิศวกรรมสังคม” เค้ามองว่ากฎหมายเป็นเครื่องมือสําหรับคานผลประโยชน์
ทําไมถึงมีปัจจุบัน ต่างๆในสังคมเพื่อให้เกิดความสมมาดูลโดยจะต้องพิจารณาถึงสภาพปัญหาความขัดแย้งของผลประโยชน์
ต่างๆในสังคมพร้อมกับหาวิธีการที่จะถ่วงดุลผลประโยชน์อันขัดแย้งกันทั้งหลายให้เกิดความสมดุล
ทฤษฏีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา ( Sociological Jurisprudence ) 1m
สัจนิยมอเมริกัน
ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมทยามีที่มาจาก การปฏิวัติอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 19 ความก้าวหน้า หลักการพื้นฐานมาจากระบบกฎหมาย Common Law ซึ่งถือว่าคําพิพากษาของศาลเป็นบอกเกิดของ
ของสังคม เศรษฐกิจ ในช่วงนั้นก่อให้เกิดปัญหาสังคมโดยเฉพาะจากกลุ่มนายทุนเล็กผู้ใช้แรงงาน มีการเอา
รัดเอาเปรียบการกดขี่คมเหง ทําให้เกิดแนวคิดนิติศาสตร์เชิงสังคมที่อยากขึ้นมาโดยหลักการคือ การนํา
:
กฎหมาย
ลักษณะที่โดดเด่นของแนวคิดนี้คือ การวิจารณ์การใช้อํานาจของตุลาการเพื่อนําไปสู่การตรวจสอบความ
กฎหมายมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาสังคม เที่ยงธรรมวิจารณ์ นักกฏหมายทําหน้าที่ตุลาการว่ามักจะตัดสินตามตัวอักษร มากกว่า ที่จะคํานึงถึงความ
เมตตาธรรมและเห็นว่าตัวกฏหมายนั้นมีความไม่แน่นอนจึงทําให้การบังคับใช้กฏหมาย เกิดความไม่แน่นอน
แนวคิดของ รูดอล์ฟ ฟอน เยียริ่ง
ทฤษฎีของเยียริ่ง ให้ความสําคัญกับวัตถุประสงค์ของกฎหมายเพื่อแก้ไขปัญหาถือว่าวัตถุประสงค์เป็นที่มาอย่าง นักคิด
หนึ่งของกฎหมาย และมองว่ากฎหมายคือเครื่องมือหรือกลไกอย่างหนึ่งที่สําคัญที่จะถูกนํามาใช้ในการแก้ไขปัญหา - คาร์ ลูเวลลิน
เยียริ่ง จึงสร้างทฤษฎีผลประโยชน์และหลักการคัดง้างการเคลื่อนตัวของสังคมโดยผลประโยชน์ได้แก่การศึกษาให้ทราบ ชี้เห็นข้อบกพร่องในการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่สนใจศาสตร์ทางสังคม อย่าวางใจกฎเกณฑ์
ถึงผลประโยชน์ของปัจเจกชน ผลประโยชน์ของรัฐและผลประโยชน์ของสังคมนํามาใช้ประกอบกับหลักการคัดง้าง การ ในกระดาษ แนวความคิดนี้มีข้อสังเกตคือ
เคลื่อนตัวของสังคม เพื่อให้สังคมเกิดการขับเคลื่อนคลายตัวออก จากปมปัญหาที่มีอยู่แล้วนําผลประโยชน์ไปคานเพื่อ 1. กฎหมายลายลักษณ์อักษรมีความไม่แน่นอนจนกว่าจะถูกใช้และตีความโดยศาลเพื่อใช้
ตอบสนอง แต่ละฝ่ายให้ได้รับผลประโยชน์อย่างลงตัว เป็นบรรทัดฐาน
2. Law in book กับ Law in action

ทฤษฎีกฏหมายของมาร์กซิสต์ - จอห์น ชิปแมน เกรย์

จากข้อเขียนต่างๆ ดังกล่าวมามีข้อสรุปที่สําคัญดังนี้ กฏหมายที่แท้จริง คือ กฏเกณฑ์ต่างๆ ซึ่งศาลเป็นผู้กําหนด

1. กฎหมายเป็นผลผลิตหรือผลสะท้อนของโครงสร้างทางเศรษฐกิจในเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ • พระราชบัญญัติ

ดูจะเป็นข้อสรุปที่ง่ายเกินไปที่จะมองว่าปัจจัยทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียวที่เป็นตัวกําหนด • รัฐบัญญัติ

กฎหมายเพราะเงื่อนไขทางสังคมประกันอื่นก็มีส่วนกําหนดกฎหมายเช่นกันไม่ว่าจะเป็นการเมือง อุดมการ เป็นเพียงที่มาของกฏหมายยังไม่ใช่กฏหมายจนกว่าจะมีการตีความโดยศาล

วัฒนธรรม ศีลธรรม หรือหลักความยุติธรรมต่างๆ ตัวอย่างง่ายๆ คือคนเราจะฆ่ากันไม่ได้มีสาเหตุจากความโลภ


เพียงอย่างเดียวหรือไม่ใช่เพราะขัดแย้งกันธุรกิจเท่านั้นอาจมาจากสาเหตุอื่น เช่นเพราะแย่งคนรักไปหรือฆ่าเพราะ
เค้าด่าพ่อล่อแม่ อย่างนี้กฎหมายที่ออกมาควบคุมไปลงโทษการกระทําความผิดเหล่านี้ก็จะเห็นว่าไม่เกี่ยวกับปัจจัย
หรือโครงสร้างทางเศรษฐกิจเลย
2. กฎหมายเป็นเสมือนหนึ่งเครื่องมือหรืออาวุธที่ชนชั้นปกครองสร้างขึ้นเพื่อต้องการอํานาจของตน
เป็นการด่วนสรุปจากถ้อยคําของมาร์กซิส ในเชิงข้อสังเกตหรือวิจารณ์กฎหมายจํานวนมากที่มี
เนื้อหาต้องการผลประโยชน์ส่วนใหญ่ กฏหมายประกันสังคม กฎหมายคุ้มครองแรงงาน ซึ่งล้วนเป็นกฎหมายที่
ตราขึ้นเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ข้อสรุปนี้เป็นข้อสรุปที่หยาบกระด้างมองกฎหมายในแง่ลบมากเกินไป
3. ในสังคมคอมมิวนิสต์ที่สมบูรณ์กฎหมายในฐานะที่เป็นเครื่องมือของการควบคุมสังคมจะเหือดหายและ
สูญสิ้นไปในที่สุด
เป็นข้อสรุปที่เป็นอภิปรัชญาทางศาสนาอยู่มากๆคล้ายกับเป็นเรื่องเพ้อฝันเพราะว่าตับใดที่เรา
มนุษย์ทุกคนยังไม่ได้บรรลุอรหันต์กฎเกณฑ์ต่างๆปัจเจกบุคคลยังต้องดํารงอยู่อย่างหลีกเลี่ยงได้จากข้อสมมุติฐาน

บทเปรียบเทียบและข้อวิจารณ์ของทฤษฎีกฏหมายของมาร์กซิสต์
มาร์คไม่เห็นด้วยกับทฤษฎีปฏิฐานนิยมโดยมองว่าเป็นความคิดที่มุ่งเน้นแต่เรื่องประสิทธิภาพของการทํางานของ
กฎหมายเท่านั้น ไม่เห็นด้วยกับสํานักกฏหมายประวัติติศาสตร์ที่มัวยึดอยู่ แต่กับอดีตเท่านั้นเป็นทฤษฎีที่วางอยู่บนพื้น
ฐานของแนวคิดแบบนิยัตินิยม ทางเศรษฐกิจซึ่งแนวความคิดที่ถือว่าเศรษฐกิจเป็นตัวกระทําฝ่ายเดียวหรือเป็นเหตุ
ปัจจัยเดียวที่กําหนดความเป็นไปต่างๆในสังคม

ทฤษฎีกฏหมายของฝ่ายมากร์กซิสต์ ไม่ให้การยอมรับต่อหลัก นิติธรรม


เนื่องจากทฤษฎีกฎหมายของฝ่ายมาร์กซิสต์ อธิบายธรรมชาติ บทความของกฎหมายในแง่ผลผลิตของ
โครงสร้าง เศรษฐกิจ อาวุธเครื่องมือของชนชั้นปกครองและการเหือดหายของกฎหมายในสังคมคอมมิวนิสต์สมบูรณ์
โดยพื้นฐานมาร์กซิสต์ไม่ให้การยอมรับต่อหลักนิติธรรมหรือหลักความเป็นใหญ่ของกฎหมายที่เป็นธรรมในการ
ปกครองเนื่องจากการมองธรรมชาติของกฎหมายและด้านลบและการวิพากษ์วิจารณ์ในแง่เป็นมายาคติของอุดมการ
กฎหมายแบบเสรีนิยม
ปรัชญากฏหมายไทย
พื้นฐานแนวคิดของปรัชาญากฏหมายไทย คัมภีร์พระธรรมศาสตร์
ปรัชญากฎหมายไทยนั้นมีลักษณะตั้งอยู่บนกระแสความคิดที่มีพื้นฐานมาจากหลักทาง พุทธศาสนาได้เข้ามามีบทบาทเป็นรากฐานทางปรัชญาตั้งแต่สมัยสุโขทัยและมาจากการที่ศึกษาจากศิลาจารึกและ
พระพุทธศาสนา สืบเนื่องจากประเทศไทยนับถือพระพุทธศาสนามา แต่เดิมและเป็นศาสนาเดียวที่ วรรณกรรมไตรภูมิพระร่วง พบว่าไตรภูมิพระร่วงมีการกล่าวเนื้อหาในพระสูตรต่างๆได้แก่ อัคคัญสูตร จักกวัตติสูตร ธัมมิ
หยั่งรากลึกมายาวนานนับแต่อดีตเป็นศาสนาที่เจริญเติบโตควบคู่มากับสังคมไทยตั้งแต่ในสมัย กสูตร อันเป็นพระสูตรที่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ รวมถึงชาดกต่างๆซึ่งหลักทศพิธราชธรรมก็มีที่มาจาก
สุโขทัย การมองกฎหมายจึงมองในลักษณะที่ต้องเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกับหลักธรรมคําสอนในทาง พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา ดังนั้น ปรัชญากฎหมายไทยจึงมีลักษณะเป็น “ธรรมนิยม” กล่าวคือกฎหมายจะ
ต้องสอดคล้องกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา 1. อัคคัญสูตร
นอกจากนี้ลักษณะของสังคมไทยยังได้รับอิทธิพลในเรื่องความเชื่อมาจากศาสนา เป็นพระสูตรว่าด้วยการกําเนิดโลก สังคมมนุษย์ รัฐ กฏหมาย โดยชี้ให้เห็นถึงความเป็นเอกภาพของมนุษย์และธรรมชาติ ความ
พราหมณ์-อินดู เน้นแนวความคิดแบบ เทวราชา ที่มองว่าผู้ปกครองคือเทพเจ้า เกิดเป็นการ เสื่อมของมนุษย์ และบทบาทของรัฐหรือผู้ปกครองในการรักษาสังคมไม่ให้ตกเสื่อมมากขึ้นโดยอาศัยธรรมะ พระพุทธเจ้าเริ่มต้นในพระ
ปกครองในระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ที่ผู้ปกครองหรือถ้ามากษัตริย์มีอํานาจเด็ดขาดในทางการ สูตรว่า ภายใต้อนิจจังซึ่งจักรวาลแต่กลับแล้วกําเนิดใหม่ไม่รู้จบนั้น มีสัตว์ประเภทหนึ่งเกิดขึ้นในชั้นพรหมาโลก ที่ชื่อ ชั้นอาภัสสรพรหม
เมืองการปกครอง ดังนั้นเว้นวรรคการปกครองหรือแนวคิดพื้นฐานของปรัชญากฎหมายไทย จึง ซึ่งไม่มีเพศชายหรือหญิง สัญจรไปมาในอวกาศและมีวิมานอันงามโดยไม่ต้องบริโภคอาหารเพราะอิ่มทิพย์ ต่อมาได้เกิดการเปลี่ยนแปลง
เป็นการผสมผสานในแบบ ธรรมนิยม ควบคู่กับ เทวราชา ที่กษัตริย์หรือผู้ปกครองมีอํานาจเด็ด ครั้งใหญ่คือ ง้วนดิน ซึ่งมีรสชาติคล้ายนมสดอร่อยหลุดรวงผึ้งทําให้เป็นที่หลงใหลของเหล่าสัตว์นั้นจนกลายเป็นความอยากขึ้นครั้งแรก
ขาดแต่การ ใช้พระราชสํานักถูกควบคุมโดยหลักการทางศาสนาหรือความถูกต้องดีงามนั่นเอง และมีผลร้ายตามมาคือ ทําให้กายทิพย์ของสัตว์นั้นสิ้นสุดลง มีสภาพคล้ายมนุษย์ในปัจจุบัน ซึ่งถือว่าเป็นต้นกําเนิดของมนุษย์ พระ
สูตรนี้ พระพุทธเจ้าต้องการชี้เห็นว่า มนุษย์ถือกําเนิดขึ้นเพราะความโลภ และมนุษย์เป็นผลของความเสื่อม คือ ความโลภทําให้พรม
ต้องเสื่อมลงกลายมาเป็น มนุษย์

v0
ระบบกฏหมายไทย แบ่งออกเป็น 3 ยุค
2. ธัมมิกสูตร
1.ยุคสุขโขทัย เป็นพระสูตรว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติกับการใช้อํานาจปกครองของผู้ปกครอง คือ เมื่อใดผู้ปกครองใช้
ตั้งอยู่บนกระแสความคิดพื้นฐาน ในลักษณะธรรมนิยมหลักการคือ กฏ อํานาจโดยธรรม ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินก็จะอยู่เย็นเป็นสุข ฝนฟ้าตกตามฤดูกาล แต่หากผู้ปกครองใช้อํานาจไม่เป็นธรรม ความวิปริต
หมายต้องสอดคล้องสัมพันธ์กับธรรมะหรือศีลธรรม ซึ่งตั้งอยู่บนหลักพุทธธรรม ของธรรมชาติก็จะตามมา ที่เราเรียกกันว่า อาเพศแห่งบ้านเมือง
พระธรรมศาสตร์ ทศพิธราชธรรม รวมทั้งจตุรธรรมทางกฏหมายอันเป็นแบบ
พุทธนิยม มีเพียงศาสนาพุทธอย่างเดียว เรียบง่าย ยังไม่มีการใช้ราชาศัพท์ 3. จักกวัตติสูตร
เป็นพระสูตรว่าด้วยความประพฤติและหน้าที่ของผู้ใช้อํานาจปกครอง เพื่อให้เกิดความสงบร่มเย็นของสังคมจัดได้
2. สมัยอยุธยา ว่าเป็นรากฐานของปรัชญาด้านการเมืองการปกครองของพุทธรัตน์ทั้งหลายความในพระสูตรสามารถแยกย่อยเป็นข้อๆได้
ระบบการปกครองแบบเทวราชาที่จะมีการผสมผสานวัฒนธรรมทางศาสนาทั้งพุทธ 12 ข้อในนามของหลักจักรวรรดิวัตร
และอินดูไว้ด้วยกันแต่ฮินดูจะมีได้อิทธิพลมากกว่า มีการใช้ราชาศัพท์เกิดขึ้น เพราะเชื่อว่า
กษัตริย์คือเทวดา หลักจตุรธรรม
จตุรธรรม หมายถึง หลักธรรมในการปกครอง 4 ประการ อันได้แก่
3. สมัยรัตนโกสินทร์ 1. กฏหมายมิได้เป็นกฏเกณฑ์ หรือ คําสั่งของผู้ปกครองแผ่นดินที่จะกําหนดขึ้นตามอําเภอใจ
3.1 สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (ร.1-ร.4) = มีลักษณะคล้ายกับสมัยอยุธยา 2. กฏหมายต้องมีความสอดคล้องสัมพันธ์กับศีลธรรมหรือธรรมมะ
3.2 สมัยรัตโกสินทร์ตอนปลาย (ร.5) = ได้รับอิทธิพลแนวคิด จากการปฏิรูปบ้าน 3. จุดมุ่งหมายแห่งกฏหมายต้องเป็นไปเพื่อนความสุขสถาพรหรือเพื่อประโยชน์ของราษฎร
เมืองใหม่แบบตะวันตก 4. การใช้อํานาจทางกฏหมายของพระมหากษัตริยต์ ้องกระทําบนพื้นฐานของหลักทศพิธราชธรรม

การยับยั้งหรือทัดทานพระราชอํานาจ หลักทศพิธราชธรรม
สืบเนื่องจากแนวความคิดอันเป็นพื้นฐานของปรัชญากฎหมายไทยนั้นตั้งอยู่ภายใต้หลักธรรมนิยม 1. ทาน คือ การสละวัสดุสิ่งของและวิชาความรู้เพื่อเกื้อกูลแก่บุคคลอื่น
ภายใต้คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ ดังนั้น ลักษณะปรัชญากฎหมายไทยจึงสะท้อนให้เห็นถึงความคิดและราก 2. ศีล คือ การควบคุมพฤติกรรมทางกาย วาจา และใจ ให้เป็นปกติเรียบร้อย
เหง้าแห่งปรัชญาที่ยึดถือเอาธรรมะเป็นใหญ่ในการปกครองและสนับสนุนให้มีการยับยั้งหรือพักผ่อนพระ 3. ปริจจาคะ คือ การเสียสละประโยชน์สุขส่วนตัวเพื่อประโยชน์สุขส่วนรวม
ราชสํานักที่ไม่สอดคล้องกับความยุติธรรม ซึ่งสะท้อนออกมาในหลักอันเป็นหัวใจสําคัญของพระ 4. อาชชวะ คือ ความซื่อสัตย์
ธรรมศาสตร์คือหลัก จตุรธรรม = หลักนิติธรรมในกฏหมายไทย 5. มัททวะ คือ ความสุภาพอ่อนโยน
6. ตบะ คือ ความเพียรพยายามในหน้าที่การงานจนกว่าจะสําเร็จโดยไม่ลดละ
7. อักโกธะ คือ ความไม่แสดงความเกรี้ยวกราดโกรธแค้นต่อใคร ๆ
8. อวิหิงสา คือ ความไม่เบียดเบียนผู้อื่นให้ได้ทุกข์ร้อน
9. ขันติ คือ ความอดทนต่อความยากลําบากทั้งนี้เนื่องจากวัตถุธรรมและนามธรรม
10. อวิโรธนะ คือ ความไม่ประพฤติปฏิบัติผิดไปจากทํานองคลองธรรม
กฏมณเฑียรบาล
กฎมณเฑียรบาลบทที่ 113
กฎมณเฑียรบาล บทที่ 106 กล่าวว่า “อนึ่ง ทรงพระโกรธแก่ผู้ใด แลตรัสเรียกพระแสงอย่าให้พนักงานยืน ถ้ายืนให้
“อนึ่งพระเจ่าอยู่หัวดํารัสด้วยกิจราชการคดีถ้อยความประการใดๆ ต้องกฎหมายประเพณีเป็น โทษถึงตาย”


ยุติธรรมแล้วให้ทําตาม ถ้ามิชอบจงเพ็ดทูลทัดทาน 1,2,3 ครั้งถ้ามิฟังให้งดอย่าเพ่อสั่งไปให้ทูลในที่
รโหฐาน ถ้ามิฟังจึงให้กระทําตาม ถ้าผู้ใดมิได้กระทําตามพระอัยการดังนี้ ท่านว่าผู้นั้นละเมิดพระราช อันนี้ก็สอดรับกับหลักทศพิธราชธรรมข้อที่ 10 อวิโรธนะ กับข้อที่ 7 คือ อาโกธะ อัน
อาญา” หมายถึง การไม่แสดงความเปรี้ยวโกรธแค้นต่อผู้ใด

กฎมณเฑียรบาล บทที่ 106 นี่ก็เป็นเพียงการยืนยันหลักการทางทฤษฎีที่ถือเอาทํานะหรือ


กฎหมายเป็นใหญ่ในการปกครองบ้านเมืองอันเป็นการสอดคล้องกับหลักทศพิธราชธรรมข้อที่ 10
อวิโรธนะ อันหมายถึงการไม่ประพฤติไปจากทํานองคลองธรรม

ประเด็นที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายและความยุติธรรม ประเด็นที่ 2 ประเด็นกฎหมายและเสรีภาพ


ความว่าโดยทีก่ ฎหมายเป็นแต่เครื่องมือในการรักษความยุติธรรมดังกล่าว จึงไม่ควรจะ เราจะต้องพิจารณาในหลักว่ากฎหมายมีไว้สําหรับให้มีความสงบสุขในบ้านเมือง
ถือว่ามีความสําคัญไปยิ่งกว่ายุติธรรม หากควรต้องถือว่าความที่ทํามาก่อนกฎหมายมีการ มิใช่ว่ากฎหมายมีไว้สําหรับบังคับประชาชน ถ้ามุ่งหมายที่จะบังคับประชาชนก็กลายเป็น
พิจารณาพิพากษาอรรถคดีใดใด โดยคํานึงถึงแต่ความถูกผิดตามกฏหมายนั้นดูจะไม่เป็นการ ผลิตการกลายเป็นสิ่งที่บุคคลหมูน้อยจะต้องบังคับบุคคลหนูมากในทางตรงกันข้าม
เพียงพอ จําต้องคํานึงถึงความที่จะทําซึ่งเป็นจุดประสงค์ด้วยเสมอ การใช้กฎหมายจึงมีความ กฎหมายมีไว้สําหรับให้บุคคลส่วนมากมีเสรีภาพและอยู่ได้ด้วยความสงบสุข
หมายและผลที่ควรจะได้


แนวพระราชดําริทางปรัชญากฎหมายของรัชกาลที่ 9

ประเด็นที่ 3 กฏหมายกับความเป็นอยู่ที่เป็นจริงหรือกฎเกณฑ์ตามธรรมชาติ
กฎหมายกับความเป็นอยู่จริงอาบพักตร์การ กฎหมายมีช่องโหว่มาก
เพราะไปปรับปรุงกฎหมายและการปกครองโดยลอกแบบต่างชาติมาโดยไม่รู้ว่า
เหมาะสมกับความเป็นอยู่ของประชาชนหรือไม่ บางทีการปกครองก็ไปไม่ถึงชุมชน
ห่างไกล กฎหมายที่รัฐตราขึ้นเป็นอย่างไรก็ไม่รู้ ทําให้เขาตั้งกฎหมายใช้กันเอง
ซึ่งบาง. ก็ขัดกับกฎหมายที่รัฐตราพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติผ่านมาปัญหา
มันเกิดจากเจ้าหน้าที่รัฐนั่งเก้าอี้-บนแผนที่ว่าตรงไหนเป็นป่า
ลฺ

You might also like