You are on page 1of 8

การสืบสวน (พ.ต.ท.

ประดิษฐ์ เลิศจันทร์)
ความหมายตาม ป.วิ อาญา ม.2 (10)
การสืบสวน คือ การแสวงหาข้อเท็จจริงและหลักฐานที่เจ้าพนักงานปกครอง หรือ ตารวจ กระทาไปตาม
อานาจหน้าที่ เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย และเพื่อให้ทราบรายละเอียดแห่งความผิด
การประยุกต์ อริยสัจ 4 เข้ากับการสืบสวน ทุกข์ สมุทัย = เหตุแห่งทุกข์, กิเลส
นิโรธ = การดับทุกข์, การเข้าใจความจริงที่เกิดขึ้น มรรค = ข้อปฏิบัติในการดับทุกข์, สติ สมาธิ ปัญญา
ธรรมของเจ้าหน้าที่สืบสวน = พรหมวิหาร 4 สิ่งที่เจ้าหน้าที่สืบสวนไม่ควรมี = อคติ 4
เมตตา = ชอบให้คนอื่นได้รับสุข ฉันทาคติ = ชอบกัน (ลาเอียงให้พวกพ้อง)
กรุณา = ชอบให้คนอื่นพ้นทุกข์ โทสาคติ = เกลียดกัน
มุทิตา = ยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี ภยาคติ = ความกลัว (เกรงกลัวอิทธิพล)
อุเบกขา = วางเฉย โมหาคติ = ความไม่รู้จริง
บุคคล 4 กลุ่มที่ควรให้ความสาคัญในการสืบสวน
1. คนร้าย
2. ผู้เสียหาย
2.1 เสียชีวิต ไม่สามารถให้ข้อมูลได้
2.2 ยังมีชีวิตอยู่ ให้ข้อมูลได้ แต่อาจจะไม่ทั้งหมด
3. พยาน ให้ข้อมูลได้บางส่วน
4. ตารวจผู้สืบสวน
หลักความจริงที่ต้องยึดถือ
1. ตรรกวิทยา = เหตุและผล
2. จิตวิทยา = พิจารณาพฤติกรรม เช่น คนโกหกจะเหลือกตามองบน
3. ปรัชญา = การแสวงหาความรู้ที่เป็นจริงแน่แท้ คือการซักถาม ทั้งก่อน ขณะ และหลังเกิดเหตุ
ผู้มีอานาจในการสืบสวน
เจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง / ตารวจ, พัสดี, เจ้าพนักงานสรรพสามิต, กรมศุลกากร, กรมเจ้าท่า, ตารวจตรวจคน
เข้าเมือง หรือเจ้าพนักงานอื่นๆที่มีอานาจหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อื่นๆ เช่น เจ้าหน้าที่ป่าไม้
การข่าวและการหาข่าว

ข่าว คือ เรื่องราว ปรากฏการณ์ หรือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากการ ดู อ่าน ฟัง

 ข่าวที่ดีต้องมีความถูกต้อง ตรงต่อความต้องการ เพียงพอ ทันเวลา และปลอดภัย


 ข่าวจะถูกนามาใช้ในการตัดสินใจ กาหนดแนวทางและวิธีการในการดาเนินการ กาหนดมาตรการใน
การแก้ปัญหา และเตรียมการณ์รับมือสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
 ข่าว แบ่งเป็น 3 ประเภท
1. ข่าวเปิด คือ ข้อมูลข่าวที่สามารถหาได้จากสื่อสาธารณะต่างๆ คิดเป็น 95% ของแหล่งข่าวทั้งหมด
2. ข่าวกึ่งปิด-กึ่งเปิด คือ ข่าวที่ไม่สามารถหาซื้อได้ และไม่สามารถหาได้ตามสื่อสาธารณะ แต่สามารถหา
ได้จากเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นข่าวที่ไม่เปิดเผยแก่ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องหากไม่ได้รับอนุญาต
เช่น สานักงานตรวจคนเข้าเมือง เป็นแหล่งข้อมูลบุคคลที่เข้าออกประเทศ, สานักงานตารวจแห่งชาติ
เป็นแหล่งข้อมูลทะเบียนอาชญากร ทะเบียนอาวุธปืน, ที่ว่าการอาเภอ เป็นแหล่งข้อมูลทะเบียน
ราษฎร์ ฯลฯ
3. ข่าวปิด คือ ข่าวลับที่ไม่เปิดเผย ไม่สามารถหาได้จากสื่อสาธารณะหรือสิ่งพิมพ์ต่างๆ และไม่สามารถ
ขออนุญาตให้เปิดเผยข้อมูลได้ ต้องใช้วิธีการสืบสวนสอบสวนในทางลับ เช่น การใช้สายลับ การสะกด
รอยตาม เฝ้าจุดเพื่อสังเกตการณ์ การสอบสวน หรือการซักถาม
 การหาข่าว คือการรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ข่าวกรองที่ถูกต้อง โดยใช้
กระบวนการข่าวกรอง ดังนี้
1. วางแผนและอานวยการ
- กาหนดความต้องการของข่าว
- กาหนดความเร่งด่วนของข่าว
- กาหนดวิธีการตอบรับ หรือรับมือกับปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
- กาหนดคาสั่ง คาขอไปยังหน่วยงาน
- กาหนดบุคคลหรือเจ้าหน้าที่ โดยเลือกผู้ปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับงาน
2. การรวบรวมข้อมูล สามารถทาได้โดยการสืบหาจากแหล่งข่าวทั่วไป และการใช้สายลับ การ
สะกดรอยตาม เฝ้าจุดเพื่อสังเกตการณ์ การสอบสวน หรือการซักถาม และใช้ทักษะในการ
สังเกตและจดบันทึก เพื่อตอบคาถามได้ว่า ใคร-ทาอะไร-ที่ไหน-เมื่อไหร่-อย่างไร-ทาไม
3. กระบวนการประเมิน ตีความ วิเคราะห์ สนธิกรรม และอนุมานข้อมูล
4. การผลิตข่าวกรอง
5. การกระจายข่าวเพื่อใช้งาน
 การอาพรางตัว แบ่งเป็นการอาพรางเรื่องราว คือสร้างเรื่องราวภูมิหลังของบไคคล แลการอาพราง
บุคคล คือ อาพรางเป็นคนอื่นโดนไม่จาเป็นต้องมีเรื่องราว
 การสืบสวนหลังเกิดเหตุ
เมื่อเกิดเหตุการณ์ สิ่งที่ต้องปฏิบัติคือ
1. การสร้างภาพอาชญากรรม โดยพิจารณาสถานที่เกิดเหตุ ร่องรอยจากเหตุการณ์ และ
พยานหลักฐาน ซึ่งพยานหลักฐานสามารถหาได้จากสถานที่เกิดเหตุ ผู้เสียหาย ผู้ต้องสงสัย และ
วัตถุต่างๆในที่เกิดเหตุ
2. ตัง้ สมมุติฐานและประเด็นในการสืบสวน
3. แสวงหาพยานหลักฐาน
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
5. การวางแผนการสืบสวน
หากสืบสวนแล้วพบว่าไม่เป็นไปตามประเด็นสืบสวนที่ตั้งไว้ ให้สร้างภาพอาชญากรรมในประเด็น
อื่น แล้วทาการสืบสวนต่อไปจนกว่าจะพบความจริงของเหตุการณ์และทราบตัวผู้กระทาผิด
การสืบสวน (พ.ต.ท. อาทิตย์ แก้วอุ่นเรือน)
การสืบสวน คือ การตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์ เพื่อตอบคาถามในเรื่องที่อยากรู้ ซึ่ง
เกี่ยวข้องกับการแสวงหาหลักฐาน โดยต้องมีเป้าหมายและการดาเนินการที่ดี
อานาจและหน้าที่ของตารวจไทย
ตารวจไทย คือเจ้าพนักงานของรัฐ หรือเจ้าพนักงานในสังกัดสานักงานตารวจแห่งชาติ มีหน้าที่ในการตรวจตรา
รักษาความสงบ จับกุมและปราบปรามผู้กระทาผิดกฎหมายอาญาเพื่อให้เกิดความสงบสุขแก่ชีวิตและทรัพย์สิน
ของประชาชน
 การกระทาผิดอาญา คือ การที่บุคคลกระทา หรืองดเว้นการกระทาตามความผิดที่กฎหมายบัญญัติ
โทษไว้ (ตาม ป. อาญา หรือตาม พ.ร.บ.)
 อาชญากรรม คือ ปรากฏการณ์ทางสังคมอย่างหนึ่งที่ทา หรืองดเว้นการกระทาใดๆ ที่กฎหมาย
บัญญัติไว้เป็นความผิด และกาหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
 พยานหลักฐาน คือ สิ่งที่บ่งบอกและเกี่ยวโยงกับเหตุการณ์นั้นๆ ที่พิสูจน์ความผิด หรือความบริสุทธิ์
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. พยานวัตถุ คือ สิ่งของเครื่องใช้ที่มีส่วนร่วมในการกระทาความผิด
2. พยานเอกสาร คือ กระดาษที่มีข้อความและรวมถึง วัตถุอื่นใดก็ได้ ที่ทาให้ปรากฏตัวเลข ข้อความ
หรือแผนผัง จากการเขียน สลัก โดยต้องปรากฏความหมาย
พยานชั้น 1 = เอกสารตัวจริง
พยานชั้น 2 = สาเนา
3. พยานบุคคล (พยานผู้เชี่ยวชาญจัดอยู่ในกลุ่มนี้) ประกอบด้วย
- ประจักษ์พยาน คือ พยานซึ่งรับรู้เหตุการณ์มาด้วยสัมผัสทั้ง 5 ของตนเอง
- พยานบอกเล่า คือ พยานบุคคลที่รับรู้เหตุการณ์จากการบอกเล่าของประจักษ์พยาน จึงทาให้
ประจักษ์พยานจะมีน้าหนักมากกว่าพยานบอกเล่า ซึ่งโดยปกติแล้ว ศาลจะไม่รับฟังพยานบอก
เล่า แต่ ก็ไม่มีกฎหมายใดห้ามรับฟัง
 การค้นหาพยานหลักฐาน ให้ใช้หลัก 4 ข้อ คือ
1. สิ่งนั้น ไม่เคยเห็น
2. สิ่งนั้น ไม่เป็นของใคร
3. สิ่งนั้น ไม่ใช่ที่อยู่
4. สิ่งนั้น ดูไม่งามตา
กระบวนการสืบสวน ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน คือ
1. ตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ
2. ซักถามพยานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
3. รวบรวมพยานหลักฐานและข้อมูลต่างๆให้มากที่สุด
4. วิเคราะห์คดีจากข้อมูลที่รวบรวมได้ เพื่อตั้งประเด็นการสืบสวน
5. วางแผนสืบสวน
6. จัดลาดับความสาคัญและเร่งด่วน
7. ใช้เทคนิคการสืบต่างๆ
ข้อมูลที่ใช้ในการสืบ
1. ข้อมูลข้อเท็จจริง
2. ข้อมูลอนุมาน
ที่มาของข้อมูล
1. จากการสืบสวนก่อนเกิดเหตุ
2. จากแฟ้มประวัติผู้เคยกระทาผิด
3. จากบุคคล (ใช้หลักมวลชนสัมพันธ์)
4. จาก crime scene พยาน และ ผู้เกี่ยวข้อง
5. จากการวิเคราะห์และจาลองเหตุการณ์
6. จากกลยุทธ์ และ เทคนิคที่ใช้ในการสืบสวน
7. จากการซักถามผู้ต้องหา
8. จากสายข่าว
การตรวจสถานที่เกิดเหตุ ต้องดาเนินการอย่างรวดเร็ว รักษาสถานที่เกิดเหตุให้คงเดิมที่สุด ไม่เพิ่มวัตถุพยาน
ในสถานที่เกิดเหตุ และแบ่งพื้นที่ในการทางานอย่างเป็นระบบและเหมาะสม
การวางแผนการสืบสวน ทีมสืบสวนแบ่งงานให้เหมาะสมกับบุคคล ปฏิบัติตามกระบวนการ วิเคราะห์ข้อมูล
และเลือกสิ่งที่ควรเริ่มต้นลงมือทา
หลักการดาเนินงาน
1. ตรวจสอบทะเบียนประวัติ
2. เฝ้าตรวจและสะกดรอย
3. ใช้สายข่าว
4. ตรวจค้นจับกุม
เทคนิคการสืบสวน คือ เครื่องมือที่ช่วยให้ทางานลุล่วงตามเป้าหมาย ประกอบไปด้วย เทคนิควงรอบข่าวกรอง
สังเกตจดจา, อาพราง, สารวจ, ใช้แหล่งข่าว, เฝ้าจุด สังเกตการณ์, สะกดรอย ติดตาม
เทคนิคการอาพราง ตารวจใช้ค่อนข้างบ่อย
เทคนิคการอาพราง คือ การสร้างเรื่องราว บุคคล องค์กร สถานที่ หรือสิ่งของ เพื่อปกปิดตัวเอง
แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. อาพรางบุคคล
1.1 อาพรางสภาพ ทาเพื่อไม่ให้เป้าหมายตรวจสอบได้ 1.2 อาพรางให้เหมือนธรรมชาติ เช่น ปลอม
เป็นนักข่าว (มีการสร้างหลักฐาน พวกบัตรพนักงาน)
2. อาพรางสร้างเรื่อง ไม่ต้องใช้ภูมิหลัง ก็ไม่สามารถตรวจสอบอะไรได้ เช่น การปลอมเป็นนักท่องเที่ยว
ระยะเวลาการอาพราง มีระยะสั้น กับระยะยาว หรือการเข้าเกลียว ระยะยาว ส่วนใหญ่ก็พวกจับยาเสพติด
ข้อแนะนาในการอาพราง
 ต้องมีความชานาญส่วนตัว
 รอบรู้ในเรื่องราวของแผนที่วางไว้
 ทางานเข้ากับในทีมได้ดี
 เหมาะกับสถานที่และสิ่งแวดล้อมขณะนั้น
 เหมาะกับเวลา
 ทางานได้ตามวัตถุประสงค์ คือต้องให้อิสระแก่ผู้ปฏิบัติงาน รวมถึง งบประมาณที่จะใช้ด้วย
เทคนิคการสารวจ สารวจตรวจสอบรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ที่จะปฏิบัติงาน ต้องอาศัยการสังเกต
จดจา ที่ดี สารวจเพื่อให้ทราบ
 ทางหนีทีไล่
 ทราบวิธีอาพรางเพื่อปฏิบัติงาน
 รู้อุปสรรคในการดาเนินงาน
วิธีการสารวจ
- สารวจด้วยตา
- สารวจในทางลับ (ใช้เครื่องมือ)
ประเภทการสารวจ แบ่งเป็น
1. สารวจบุคคล ต้องประกอบด้วย รายละเอียดทั่วไป และรายละเอียดพฤติกรรม
2. สารวจสถานที่
การสารวจสถานทีท่ ี่ดี
 สารวจให้ถี่ถ้วน
 ถูกต้องตามความเป็นจริง
 ผลการสารวจต้องชัดเจน คนอื่นสามารถเอาไปใช้งานได้
 มีรายละเอียดตามที่กาหนด
 นาไปวางแผนเฝ้าจุดสะกดรอยได้
 มีจุดเด่นจุดด้อยของสถานที่นั้นๆ
การสารวจ มี 3 ระยะ
1. ระยะเตรียมการ = กาหนดข่าวสารที่ต้องการ
2. ลงมือสารวจ = รวบรวมข้อมูลข่าวสารต่างๆ
3. การรายงานการสารวจ (ถ้าเป็นตัวเลขให้รายงานเป็นช่วง 5 เช่น อายุ 20-25 ปี) รายงานการ
สารวจประกอบด้วย
 ชื่อผู้สารวจ  การติดต่อสื่อสาร
 ข้อมูลสถานที่  ความเห็นของผู้สารวจ
 เส้นทางคมนาคม  แผนที่ประกอบ
 บุคคลในสถานที่  อุปสรรคต่างๆ
แนวข้อสอบ
1. ความหมายของการสืบสวน (ตาม ป. วิ อาญา ม.2 (10) คือ การแสวงหาข้อเท็จจริง แหละหลักฐาน ที่เจ้า
พนักงานฝ่ายปกครองกระทาไปตามอานาจหน้าที่เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย และเพื่อให้ทราบรายละเอียด
แห่งความผิด)
2. ประเภทการสืบสวน
3. เขตอานาจการสืบสวน (ตารวจ มีอานาจในการสืบทั่วราชอาณาจักร แต่ เจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง มีอานาจ
ในการสืบ เฉพาะ ท้องที่ที่จนรับผิดชอบ)
4. แยกข้อเท็จจริง (ข้อเท็จจริง กับ ข้ออนุมาน)
5. ผู้มีอานาจในการสืบสวน (ตารวจ และ เจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง)
6. สิ่งที่ต้องทราบในการสืบสวนหลังการเกิดเหตุ
7. ธรรมะกับการสืบสวน (เจ้าหน้าที่ควรมี พรหมวิหาร 4 , ไม่ควรมี อคติ 4, หลักทั่วไปของการสืบ อริยสัจ 4)
8. หัวใจของการสืบสวน
รายชื่อสมาชิก
นอป. พรเทพ ผู้พัฒน์ เลขที่ 4
นอป. ภานุพันธ์ รักปัญญา เลขที่ 16
นอป. รัฐวรรธน์ เลิศวิมลเกษม เลขที่ 28
นอป. วิริทธิ์พล ศิริศักดิ์ เลขที่ 40
นอป. ศิริพงศ์ ทองพนัง เลขที่ 52
นอป. อติชาต บุณยเกียรติ เลขที่ 64
นอป. หญิง ปิยะนุช บัวทอง เลขที่ 76
นอป. หญิง พิริยา ยะทา เลขที่ 88
นอป. หญิง รักษ์พนา เจริญวัฒนา เลขที่ 100
นอป. หญิง ศิตา พฤกษางกูร เลขที่ 112
นอป. หญิง สุชานาถ ไชยราชา เลขที่ 124
นอป. หญิง หยาดพิรุณ แตงคูหา เลขที่ 136
นอป. หญิง อิศราวดี วงศ์อุทุมพร เลขที่ 148

You might also like