You are on page 1of 5

กฎหมายวิธีสบัญญัติ 2 กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง และกฎหมายล้มละลาย

หน่ วยเน้น หน่ วยที่ 1,2,5,6,7,12,13


เนื้อหาของกฎหมายวิธีสบัญญัติ 2 ทีน ่ ามาออกข้อสอบได้ มี 3 กลุม
่ ดังนี้

กลุม ่ ที่ 1 เรือ ่ งการดาเนินกระบวนการพิจารณาในศาลชัน ้ ต้น (หน่ วยที่ 1 และ


2)
1. คาฟ้ อง มาตรา 172 วรรค 2 คาฟ้ องต้องประกอบด้วยข้อหา คาขอบังคับ
และข้ออ้างทีอ ่ าศัยเป็ นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านัน ้
ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึ่งเรียกว่า ฟ้ องเคลือบคลุม
2. ฟ้ องซ้อน มาตรา 173 วรรค 2(1)
เมือ
่ คดีอยูใ่ นระหว่างกระบวนการพิจารณา
ห้ามโจทก์ยน ื่ ฟ้ องต่อศาลเดียวกันหรือต่อศาลอืน ่
ให้แยกความแตกต่างออกจากฟ้ องซา้ และการดาเนินกระบวนการพิจารณาซา้
ให้ระวังเวลาฟ้ องแย้ง เพราะจาเลยมีฐานะเป็ นโจทก์ในฟ้ องแย้ง
ส่วนโจทก์ก็มีฐานะเป็ นจาเลยในฟ้ องแย้ง
ดังนัน ้ จาเลยในคดีแรกจึงต้องห้ามมิให้ฟ้องซ้อนตามมาตรา 173 วรรค 2(1)
ด้วยเพราะมีฐานะเป็ นโจทก์ในฟ้ องแย้ง
3. ทิง้ ฟ้ อง มาตรา 174 มี 2 กรณี อ้างวรรคให้ถูกต้อง การทิง้ อุทธรณ์
และทิง้ ฎีกามีได้ ต้องอ้างมาตรา 174(2)
4. ถอนฟ้ อง มาตรา 175 มี 2 กรณีคอ ื ก่อนจาเลยยืน ่ คาให้การ
และกรณี ทีจ่ าเลยยืน ่ คาให้การแล้วซึ่งต้องถามจาเลยก่อน
5. มาตรา 176 ผลของการทิง้ ฟ้ องและถอนฟ้ อง
ให้คค ู่ วามกลับสูฐ่ านะเดิมเสมือนหนึ่งว่ามิได้มีการยืน ่ ฟ้ องกันเลย
ให้ดฎ ู ก ี าด้วยว่าถ้าโจทก์แถลงว่าไม่ตด ิ ใจทีจ่ ะยืน ่ ฟ้ องต่อไป
ก็เป็ นการผูกพันโจทก์ โจทก์ไม่สามารถยืน ่ คาฟ้ องใหม่ได้
6. การยืน ่ คาให้การของจาเลย มาตรา 177 วรรค 1 และวรรค 2
คาให้การของจาเลยต้องมีขอ ้ ความแห่งการรับหรือการปฏิเสธ
ถ้าปฏิเสธต้องมีเหตุแห่งการปฏิเสธ
มิฉะนัน ้ จะถือว่าจาเลยรับและไม่มีประเด็นทีจ่ ะนาสืบ
7. ฟ้ องแย้ง มาตรา 177 วรรค 3 และมาตรา 179 วรรคท้าย
ฟ้ องแย้งต้องเกีย่ วกับฟ้ องเดิมพอทีจ่ ะรวมพิจารณาด้วยกันได้
ให้ฟ้องแย้งมาในคาให้การ การทีจ่ ะมีฟ้องแย้งได้ตอ ้ งมีฟ้องเดิมอยูก ่ อ
่ น
แต่ถา้ ภายหลังฟ้ องเดิมตกไปไม่วา่ ด้วยเหตุใดๆก็ตาม ฟ้ องแย้งนัน ้ ก็ยงั มีอยู่
ศาลสามารถพิจารณาพิพากษาตามฟ้ องแย้งทีม ่ ีอยูไ่ ด้
8. การแก้ไขเพิม ่ เติมคาฟ้ องและคาให้การ ตามมาตรา 178 และมาตรา 179
ให้ดก ู รณีวา่ กรณีใดเป็ นการแก้ไขเพิ่มเติมคาฟ้ อง
และกรณีใดเป็ นการแก้ไขเพิม ่ เติมคาให้การ
(ซึง่ สามารถทาได้ยืดหยุน ่ กว่าการแก้ไขเพิม ่ เติมคาฟ้ อง)
9. มาตรา 180 ระยะเวลาในการแก้ไขเพิม ่ เติมคาฟ้ องและคาให้การ
แยกว่าเป็ นคดีทต ี่ อ
้ งมีการชี้สองสถานหรือไม่
ถ้าไม่มีการชี้สองสถานให้นบ ั ระยะเวลาเทียบกับวันสืบพยาน
10. มาตรา 188 เรือ ่ งการดาเนินคดีไม่มีขอ ้ พิพาท มีหลัก 4
ประการตามมาตรา 188(1)-(4) โดยปกติจะใช้สท ิ ธิในการอุทธรณ์ ฎก ี าไม่ได้
แต่มีขอ ้ ยกเว้นตามมาตรา 188(3)
ถ้ามีผรู้ อ้ งคัดค้านเข้ามาในคดีก็ให้ดาเนินคดีแบบมีขอ ้ พิพาท
ดังนัน
้ จึงต้องอ้างตัวบททีเ่ กีย่ วกับการดาเนินคดีแบบมีขอ ้ พิพาทไปด้วย
ในการตอบข้อสอบในกลุม ่ ที่ 1 นี้ อย่าลืมอ้างคานิยามในมาตรา 1 โดยเฉพาะ
คาฟ้ อง คาให้การ การดาเนินกระบวนพิจารณา วันสืบพยาน คูค ่ วาม
จะทาให้ได้คะแนนเพิม ้
่ ขึน
การดาเนินคดีมโนสาเร่ และการพิจารณาโดยขาดนัด
ไม่นามาออกเป็ นข้อสอบอัตนัย

กลุม ่ ที่ 2 เรือ ่ งอุทธรณ์ ฎีกา วิธีการชั่วคราวก่อนมีคาพิพากษา


และการบังคับคดี
1. อุทธรณ์ ฎีกา มีมาตราทีค ่ วรให้ความสนใจดังนี้ (หน่ วยที่ 5)
1.1 มาตรา 223 กรณีทส ี่ ามารถอุทธรณ์ ได้ ถือเป็ นหลักทั่วไป
ถ้าไม่มีกฎหมายห้ามถือว่าอุทธรณ์ ได้ทุกกรณี
ผูท
้ อ ี่ ุทธรณ์ ได้ไม่จาเป็ นต้องเป็ นเฉพาะคูค ่ วามในศาลชัน ้ ต้นเท่านัน

ผูท้ ม ี่ ีสว่ นได้สว่ นเสียในคดีก็สามารถอุทธรณ์ ได้
มีขอ ้ ยกเว้นทีไ่ ม่ให้อุทธรณ์ ตามมาตรา 223 อยู่ 4 กรณี
1.2 มาตรา 224 เรือ ่ งการอุทธรณ์ ในปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย
แยกให้ได้วา่ อะไรเป็ นปัญหาข้อเท็จจริง อะไรเป็ นปัญหาข้อกฎหมาย
ปัญหาข้อกฎหมายอุทธรณ์ ได้เสมอ
ปัญหาข้อเท็จจริงต้องพิจารณาว่าทุนทรัพย์เกิน 50,000 บาทหรือไม่
ดูคดีเกีย่ วกับการเช่าอสังหาริมทรัพย์
คดีทเี่ กีย่ วกับสภาพบุคคลและสิทธิในครอบครัวว่ามีความหมายอย่างไร
ดูวา่ แม้เป็ นคดีทท ี่ ุนทรัพย์ไม่เกิน 50,000
บาทจะทาอย่างไรถึงจะมีสท ิ ธิอุทธรณ์ ได้ซึ่งมีอยู่ 3 วิธี
1.3 มาตรา 225
ประเด็นทีจ่ ะอุทธรณ์ ได้นน ้ ั ต้องมีการว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชัน ้ ต้น ยกเว้น 3
กรณี
1.4 มาตรา 226, 227, 228 การอุทธรณ์ คาสั่งในระหว่างพิจารณา
คาสั่งระหว่างพิจารณา หมายถึง คาสั่งทีไ่ ม่ทาให้คดีเสร็จไปจากสานวน
คูค ่ วามทีป ่ ระสงค์จะอุทธรณ์ ตอ ้ งทาการโต้แย้งคาสั่งนัน ้ ไว้กอ่ น
ซึง่ เป็ นหลักทั่วไปตามมาตรา 226
มีขอ ้ ยกเว้นว่าถึงแม้จะเป็ นคาสั่งระหว่างพิจารณาก็สามารถอุทธรณ์ ได้ทน ั ทีโด
ยไม่ตอ ้ งโต้แย้งคาสั่งนัน ้ ไว้กอ ่ น ตามมาตรา 227, 228 ซึง่ จะต้องเข้าใจมาตรา
18 เรือ ่ งการรับหรือไม่รบ ั คาคูค ่ วามของศาล และมาตรา 24
เรือ ่ งการชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมายด้วย
ให้ดป ู ระเด็นในเรือ ่ งร้องสอดตามมาตรา 57
ด้วยว่าการร้องสอดในกรณีมาตรา 57(3)
นัน ้ เป็ นกรณีของคาสั่งระหว่างพิจารณา
ดังนัน ้ คูค ่ วามทีไ่ ม่เห็นด้วยในการร้องสอดต้องโต้แย้งคาสั่งให้มีการร้องสอดไว้
ก่อน จึงจะมีสท ิ ธิอุทธรณ์ ได้
1.5 มาตรา 229 ระยะเวลาทีใ่ ห้อุทธรณ์ ได้ นับกาหนดระยะเวลา 1 เดือน
ไม่ใช่ 30 วัน โดยต้องยืน ่ อุทธรณ์ ตศ ่ าลชัน
้ ต้น
แม้เป็ นฝ่ ายทีช ่ นะคดีในศาลชัน ้ ต้นก็ตาม ก็อาจใช้สท ิ ธิอุทธรณ์ ได้
1.6 มาตรา 246, 247
เรือ ่ งการดาเนินกระบวนพิจารณาในชัน ้ อุทธรณ์ ถา้ ไม่ได้กาหนดไว้ให้นากระบ
วนพิจารณาในศาลชัน ้ ต้นมาใช้บงั คับ
1.7 มาตรา 248 เรือ ่ งการฎีกาในข้อเท็จจริงและการฎีกาในปัญหาข้อกฎหมาย
ต่างกันทีเ่ รือ ่ งทุนทรัพย์วา่ ถ้าไม่เกิน 200,000 บาท
ห้ามคูค ่ วามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
2. วิธีการชั่วคราวก่อนมีคาพิพากษา (หน่ วยที่ 6)
2.1 การคุม ้ ครองจาเลยชั่วคราว ตามมาตรา 253
ซึง่ เป็ นการคุม ้ ครองจาเลยในศาลชัน ้ ต้น และมาตรา 253 ทวิ
เป็ นการคุม ้ ครองจาเลยชั่วคราวในระหว่างอุทธรณ์ และฎีกา
ให้ดวู า่ ศาลใดมีอานาจสั่งให้มีการคุม ้ ครองจาเลยชั่วคราว
2.2 การคุม ้ ครองโจทก์ช่วั คราว ตามมาตรา 254
ให้ดก ู รณี ทโี่ จทก์มีอานาจร้องขอให้มีการคุม ้ ครองโจทก์ช่วั คราวได้ ซึง่ มี 4
กรณี โจทก์สามารถขอคุม ้ ครองชั่วคราวได้ทุกชัน ้ ศาล ให้ดวู า่ ต้องยืน
่ ทีศ
่ าลใด
และศาลใดมีอานาจในการสั่งคุม ้ ครองโจทก์ช่วั คราว
ซึง่ จะมีความแตกต่างจากมาตรา 253 และมาตรา 253 ทวิ
2.3 การคุม ้ ครองคูค ่ วามชั่วคราวระหว่างการพิจารณา ตามมาตรา 264
ให้ดก ู รณีอืน ่ ๆทีอ ่ าจขอให้มีการคุม ้ ครองชั่วคราวนอกจากทีย่ กตัวอย่างไว้ในมา
ตรา 264 ด้วย
3. การบังคับคดี (หน่ วยที่ 7 และ 8)
3.1 มาตรา 271 ระยะเวลาในการขอบังคับคดี ต้องเข้าใจว่าระยะเวลา 10
ปี ทีน ่ บ ั ตัง้ แต่วน ั มีคาพิพากษานัน ้ ไม่ใช่อายุความ
การขอบังคับคดีนน ้ ั เจ้าหนี้ตามคาพิพากษาจะต้องปฏิบตั ต ิ ามมาตรา 271,
275 และมาตรา 276 ครบถ้วนแล้วจึงจะถือว่ามีการขอบังคับคดีโดยชอบแล้ว
3.2 มาตรา 275 และมาตรา 276 เป็ นเรือ ่ งรายการในคาขอบังคับคดี
และขัน ้ ตอนในการขอบังคับคดี
3.3 มาตรา 285 และมาตรา 286
เป็ นเรือ ่ งของทรัพย์สน ิ และสิทธิเรียกร้องทีไ่ ม่อยูใ่ นข่ายของการบังคับคดี
ดูมาตรา 285(4) เรือ ่ งทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่อยูใ่ นข่ายของการบังคับคดี เช่น
สิทธิการเช่าซึง่ ถือเป็ นสิทธิเฉพาะตัว ไม่โอนไปยังทายาท
ให้ดค ู วามหมายของการยึด และการอายัด ดูวา่ กรณีใดทีใ่ ช้การยึด
กรณีใดทีต ่ อ้ งใช้การอายัด
3.4 มาตรา 287, 288 (หน่ วยที่ 8)เรือ ่ งการขอกันส่วน
และการร้องขอขัดทรัพย์ (การร้องขอให้ปล่อยทรัพย์สน ิ ทีย่ ด
ึ )
แยกความแตกต่างให้ได้
ดูประเด็นของการร้องขอขัดทรัพย์ซงึ่ ต้องมีประเด็นเดีวคือการโต้แย้งว่าทรัพย์
ทีถ
่ ูกยึดนัน ้ เป็ นของผูร้ อ้ ง
3.5 มาตรา 290 เรือ ่ งการร้องขอเฉลีย่ ทรัพย์ (หน่ วยที8 ่ )
โดยปกติเมือ ่ มีการยึดหรืออายัดทรัพย์ใดแล้ว
จะทาการยึดหรืออายัดทรัพย์สน ิ นัน ้ ไม่ได้ ได้แต่รอ้ งขอเฉลีย่ ทรัพย์
ให้ดต ู อ
่ ไปถึงกรณีของเจ้าหน้าทีภ ่ าษี อากรทีม ่ ีอานาจยึดหรืออายัดทรัพย์สน
ิ เพือ

ค่าภาษี อาการค้าง ว่ากรณีใดทีส ่ ามารถยึดหรืออายัดได้เลย
กรณีใดทีต ่ อ้ งยืน
่ คาร้องขอเฉลีย่ ทรัพย์
ดูระยะเวลาในการยืน ่ คาร้องขอเฉลีย่ ทรัพย์ตามวรรค 4-6

กลุม
่ ที่ 3 กฎหมายล้มละลาย เข้าใจว่าหน่ วยเน้นยังคงเป็ นหน่ วยที่ 12, 13
เหมือนเดิม มีมาตราทีค ่ วรให้ความสนใจดังนี้ คือ มาตรา 91, 92,
94*****(หนี้ทนี่ ามาขอรับชาระหนี้ได้ในคดีลม ้ ละลาย), 95
(การขอรับชาระหนี้ของเจ้าหนี้มีประกัน), 96, 100,
101**(การไล่เบี้ยลูกหนี้ในคดีลม ้ ละลาย),
102(การขอหักกลบลบหนี้ในคดีลม ้ ละลาย),
109**(ทรัพย์สน ิ ทีน
่ ามาขอรับชาระหนี้ได้ในคดีลม ้ ละลาย), 110,
111(การยึดทรัพย์ในกรณีทม ี่ ีการยึดทรัพย์ทง้ ั ในคดีแพ่งและคดีลม้ ละลาย),
113, 115, 134, 135, 136 (การขอยกเลิกจากการล้มละลาย)

อย่าลืมดูคานิยามต่างๆ ตามมาตรา 6 ด้วย เช่น เจ้าหนี้มีประกัน


พิทกั ษ์ ทรัพย์(หมายถึงการพิทกั ษ์ ทรัพย์ช่วั คราวและการพิทกั ษ์ ทรัพย์ เด็ดขาด
มติ มติพเิ ศษ)

ข้อสอบของกฎหมายวิธีสบัญญัติ 2 ค่อนข้างยากทัง้ อัตนัย และปรนัย


คาถามหลอกล่อมากๆ ต้องเข้าใจเนื้อหาอย่างดี
อย่าลืมดูคาพิพากษาฎีกาในเอกสารการสอนด้วยเพราะนามาออกเป็ นข้อสอบไ
ด้เสมอๆ โชคดีครับ

วิ 2 เป็ นวิชาทีค
่ อ
่ นข้างยาก มีขอ
้ แนะนาในการอ่านเอกสารการสอนดังนี้
1. หน่ วยที่ 1 อ่านในเอกสารได้
2. หน่ วยที่ 2 มาตราทีแ ่ ก้ไข ลองอ่านของอาจารย์ไพโรจน์ วายุภาพ
ในหนังสือวิธีพจิ ารณาความสามัญในศาลชัน ้ ต้น
3. หน่ วยที่ 3และ 4 เรือ ่ งคดีมโนสาเร่ และวิธีพจิ ารณาความโดยขาดนัด
อ่านในหนังสือวิธีพจิ ารณาความมโนสาเร่ และการพิจารณาความโดยขาดนัด
ของอาจารย์ไพโรจน์ วายุภาพ ส่วนเรือ ่ งอนุญาโตตุลาการ
อ่านในเอกสารการสอนได้
4. หน่ วยที่ 5 อุทธรณ์ ฎีกา อ่านในเอกสารการสอนพร้อมใบแทรกได้
5. หน่ วยที่ 6 วิธีการคุม้ ครองชั่วคราวก่อนคาพิพากษา
อ่านในหนังสือวิธีการคุม ้ ครองชั่วคราวก่อนคาพิพากษา และการบังคับคดี
ของอาจารย์ประจักษ์ พุทธิสมบัติ หรือของอาจารย์พพ ิ ฒ
ั น์ จักรางกูร ก็ได้
6. หน่ วยที่ 7 หลักทั่วไปในการบังคับตามคาพิพากษา และคาสั่ง
บทมาตราทีแ ่ ก้ไข
ให้อา่ นในหนังสืออ่านในหนังสือวิธีการคุม ้ ครองชั่วคราวก่อนคาพิพากษา
และการบังคับคดี ของอาจารย์ประจักษ์ พุทธิสมบัติ หรือของอาจารย์พพ ิ ฒั น์
จักรางกูร ก็ได้
7. หน่ วยที่ 8-9 อ่านในเอกสารการสอนได้
8. หน่ วยที่ 10 -14 กฎหมายล้มละลาย อ่านในเอกสารการสอนได้
ยกเว้นบทมาตราทีแ ่ ก้ไข ให้อา่ นของอาจารย์เอื้อน ขุนแก้ว
กฎหมายล้มละลายของเนติบณ ั ฑิตยสภา หรือของอาจารย์วช ิ า มหาคุณ ก็ได้
9. หน่ วยที่ 15 หลักในการดาเนินคดีแพ่ง ส่วนทีเ่ ป็ นมาตราทีส ่ ม
ั พันธ์กบั วิ. 1
และวิ 2 จะเป็ นตัวบทเก่า ให้ทบทวนเอกสารการสอนทีเ่ กีย่ วข้องกับตัวบทนัน ้ ๆ

ตัวบททีม
่ ีการแก้ไข จะไม่นามาออกเป็ นข้อสอบ
แต่เราควรศึกษาตามตัวบททีแ ่ ก้ไขใหม่ เพือ
่ การนาไปใช้
และการศึกษาต่อครับ

ถ้าเป็ นฉบับย่อ ลองอ่านหนังสือหลักกฎหมายวิธีสบัญญัติ 2 ของอาจารย์สถิตย์


เล็งไธสง เป็ น pocket book อ่านเข้าใจได้ไม่ยาก แต่รายละเอียดไม่มากครับ

ขอให้ทุกคนโชคดีในการศึกษาวิชานี้ครับ

You might also like