You are on page 1of 31

ข้อมูลเบือ

้ งต้นเกีย่ วกับการเรียนเนติ

สวัสดีน้องๆ นิตท ิ รี่ กั ทุกคนครับ


พีเ่ ขียนเอกสารฉบับนี้ขน ึ้ เพือ
่ ใช้เป็ นข้อมูลเบือ
้ งต้นในลักษณะของการเล่าเรือ
่ งจากรุน
่ พีส
่ รู่ ุ่
นน้องครับ ทัง้ นี้พจี่ ะแบ่งเนื้อหาออกเป็ น 3 ส่วนหลักนะครับ ได้แก่

1.วิธีการเรียนโดยทัว่ ไป

2.การอ่านหนังสือ และการทาข้อสอบ รวมถึงการเตรียมตัวสอบทีใ่ ห้ผลดี

3.การวางแผนชีวต ิ ระหว่างเรียนเนติ ว่าจะเรียนเนติอย่างเดียว ทางานไปด้วย


หรือเรียนโทไปด้วย แต่ละแบบมีขอ ้ ดีขอ
้ เสียประการใด
และตัวน้องๆน่ าจะเหมาะกับแบบไหน

ต้องกล่าวก่อนไว้วา่ เอกสารนี้เขียนขึน ้ ในฐานะรุน่ พีน่ ิติ คนหนึ่งเท่านัน


้ ครับ
ไม่มค ี วามเกีย่ วข้องกับงานทีท ่ าแต่อย่างใด
เอกสารนี้เป็ นแค่ขอ ้ มูลเบือ
้ งต้นและความเห็นเท่านัน ้ อย่าเชือ่ ทัง้ หมด
ในปี ของน้องอาจเปลีย่ นไปก็ได้ครับ มันเป็ นแค่ "สถิต"ิ
ทีพ
่ วกพีไ่ ด้สอบถามจากรุน ่ พีแ
่ ละเป็ นข้อมูลทีส่ บ
ื ทอดกันมา
เพราะฉะนัน ้ ก็ใช้วจิ ารณญาณด้วยนะครับ
และขอยา้ ว่าเอกสารชุดนี้เป็ นแค่ความเห็นส่วนบุคคลเท่านัน ้ ครับ
ไม่มเี จตนาก่อให้เกิดความเสียหายต่อชือ ่ เสียงของบุคคล หรือองค์กรใดๆ ทัง้ สิน ้ ครับ

่ นึ่ง : วิธีการเรียนโดยทัว่ ไป
บททีห

1. บททั่วไป

การเรียนและสอบเนติดาเนินการโดยสานักอบรมกฎหมายแห่งเนติบณ ั ทิตสภา
การเรียนนัน้ ก็ไปเรียนเพือ
่ ทีจ่ ะเข้าสอบวัดความรูร้ ะดับเนติบณั ทิต ซึง่ จะเข้าเรียน
หรือไม่เข้าเรียนแล้วไปสอบเลยก็ได้ครับ ไม่มก ี ารเช็คชือ่ ใดๆ ทัง้ สิน

การเรียนการสอน 1 ปี การศึกษาจะแบ่งเป็ น 2 ภาคครับ (ภาคต้นและภาคปลาย)
โดยมีสาขาวิชาทีต ่ อ
้ งเก็บ 4 สาขา (โดยเรียกกันทั่วไปว่า 4 ขา) ได้แก่
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา ซึง่ จะเรียนและสอบในภาคต้น และ
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง กฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
ซึง่ จะเรียนและสอบในภาคปลายครับ

เมือ่ น้องๆ สมัครเป็ นนักศึกษาแล้ว จะเรียนยังไงก็ได้ครับ


แล้วตอนสมัครสอบก็คอ่ ยมาเลือกว่าจะสมัครสอบขาไหนบ้าง เช่น ในเทอมต้นถ้าผ่าน
ขาแพ่งไปแล้ว แต่ขาอาญายังไม่ผา่ น ปี ต่อไปในเทอมต้นก็มาสอบเฉพาะขาอาญา
ส่วนเทอมปลายยังไม่ผา่ นทัง้ 2 ขา ก็สอบทัง้ คู่
นักศึกษาสามารถเลือกสมัครสอบเฉพาะกลุม ่ วิชาใดวิชาหนึ่งก็ได้ในแต่ละภาค
เมือ่ สอบได้ครบ 4 ขา เมือ่ ไรก็ไปสอบปากเปล่า แล้วก็จบเนติได้
ขาไหนผ่านแล้วก็ผา่ นเลยไม่ตอ ้ งสอบใหม่ (สะสมได้ครับ)
้ ครับ
ด้วยเหตุนี้จงึ เกิดคาถามขึน

2. การแต่งกาย

สาหรับสุภาพบุรุษใส่ชุดขาว กางเกงดาครับ รองเท้าสุภาพ คล้ายของทีม ่ หาวิทยาลัยเรา


เพียงแต่เข็มขัดใช้เป็ นเข็มขัดธรรมดาสีดาไม่ใช่เข็มขัดนักศึกษาของมหาวิทยาลัย
และไม่ตอ ้ งผูกไทด์ก็ได้ ส่วนผูห ้ ญิงนี่จะต่างหน่ อย คือ ใส่ยงั ไงก็ได้
ให้องค์ประกอบของเสือ ้ เป็ นสีขาว หรือครีมเป็ นหลัก ส่วนกระโปรงเป็ นสีดา
เทาเข้มเป็ นหลัก ซึง่ การสอบก็แต่งกายเช่นเดียวกันครับ
ไม่ตอ
้ งผูกไทด์เหมือนสอบตั๋วทนาย

3. การสมัคร

สาหรับน้องทีพ่ งึ่ เริม


่ เรียน ก็จะมีกาหนดเวลาไปสมัครเป็ นนักศึกษา
และมีกาหนดเวลาในการสมัครสอบอีกอัน
การสมัครเป็ นนักศึกษาและการสมัครสอบจะแยกต่างหากออกจากกัน
(ระยะเวลาในการรับสมัครสอบ ภาคหนึ่ง เดือนกรกฎาคม ถึงเดือนสิงหาคม ภาคสอง
เดือนมกราคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์) ซึง่ ต้องสมัครทัง้ สองอย่าง อย่าลืมนะครับ
ส่วนเรือ
่ งกาหนดเวลา และค่าใช้จา่ ย ให้น้องๆ ต้องติดตามในเวป www.thaibar.thaigov.net

ราคาในการสมัครเป็ นนักศึกษาอยูท
่ ป
ี่ ระมาณสองพันบาท สมัครสอบประมาณกลุม
่ วิชาละ
600 บาท ส่วนราคาสมัครเรียนภาคคา่ หนึ่งพันบาท
4. เวลาในการเรียน

การเรียนเนติบ ัณทิตนัน
้ โดยหลักจะเรียนกันตอนกลางวัน เรียกว่า ภาคปกติ 1 วัน มี 4
คาบ คาบละ 1 ชั่วโมง 40 นาที เริม ่ ตัง้ แต่ 8.00 เลิก 16.00 มีพกั ตอน 11.30-12.30
หน้าตาตารางก็ตามทีเ่ ห็นข้างล่างนี่ครับ
นอกจากนีจะมีการเรียนภาคคา่ ด้วยครับ คือเรียนตอนเย็น เวลา 17.00-20.00 ครับ
ซึง่ ก็ตอ
้ งสมัครเรียนภาคคา่ ต่างหากจากการสมัครเป็ นนักศึกษาและสมัครสอบ กล่าวคือ
ถ้าจะเข้าเรียนภาคกลางวันก็เข้าได้เลย ไม่มก ี ารเช็คบัตรอะไร แต่ถา้ เป็ นภาคคา่ ต้องสมัคร
เมือ่ สมัครแล้วก็จะได้บตั ร แล้วบางครัง้ ประตูทางเข้าก็จะตรวจว่ามีบตั รภาคคา่ ไหม
โดยเฉพาะต้นเทอม กับช่วงใกล้สอบก็จะตรวจบ่อยหน่ อยครับ ถ้าไม่มี คือ
ลืมเอามาก็ตอ ้ งไปทาบัตรชั่วคราว แต่ถา้ ไม่ได้สมัครก็จะเข้าห้องไม่ได้ครับ
โดยส่วนตัวแล้วเห็นว่าสมัครไปให้สน ิ้ เรือ
่ งเถอะครับ
เพราะตอนช่วงใกล้สอบทีจ่ ะมีการใบ้เมฆหมอกในชั่วโมงท้าย ๆ
ถ้าไม่มบ ี ตั รก็แย่หน่ อยครับ

ภาคกลางวันจะเรียนทีส่ านักอบรมแห่งเนติครับ ซึง่ จะอยูแ ่ ถวๆ


้ ไปจนเกือบถึงเดอะมอลล์บางแคเลยครับ
ตลิง่ ชันเลยเซ็นทรัลปิ่ นเกล้าขึน
ถ้าบางคนเรียนเนติอย่างเดียวเต็มทีก ่ ็มกั จะไปเช่าหออยูแ ่ ถวปิ่ นเกล้าครับ
แต่ถา้ ภาคคา่ นอกจากทีส่ านักอบรมแล้ว ยังมีการถ่ายทอดสดไปยังศาลต่างๆทัง้ กรุงเทพ
และต่างจังหวัด ซึง่ ตอนสมัครก็ลองเลือกดู
ถ้าทางานไปด้วยไม่ไปเรียนตอนกลางวันอยูแ ่ ล้ว ก็สมัครทีศ
่ าลทีส่ ะดวกก็ได้ครับ
แต่ถา้ เรียนเนติอย่างเดียวแล้วจะไปเรียนตอนกลางวันทีเ่ นติ
สมัครภาคคา่ ทีเ่ นติไปเลยก็น่าจะสะดวกกว่า
ภาพข้างล่างเป็ นตัวอย่างตารางสอนภาคคา่ ครับ
นอกจากนี้ยงั มีเรียนภาคทบทวนในวันอาทิตย์อก ี ด้วย ซึง่ จะเป็ นคล้ายๆ
การติวสรุปเร็วมากๆ วิชาหนึ่งทัง้ เทอม วิชาละประมาณแค่ 2-3 ครัง้ ครัง้ ละ 1.40
ชั่วโมงเท่านัน
้ สาหรับคนทีไ่ ม่มเี วลาจริง ๆ
ซึง่ สถิตข
ิ องอาจารย์ทอ
ี่ อกข้อสอบแล้วได้รบั เลือกจะอยูท ่ ภ ี่ าคปกติ และภาคคา่ มากกว่าครับ
การเรียนภาควันอาทิตย์จงึ ไม่คอ่ ยเป็ นทีน่ ิยมของนักศึกษาทัว่ ไปครับ
ทางเนติเปิ ดให้สาหรับท่านทีอ่ าจจะต้องทางานและไม่มเี วลามาเรียนจริงๆ แต่ขอ ้ มูลล่าสุด
ภาคปลาย ปี การศึกษา 2554 นี้ ไม่ปรากฎภาคทบทวนในวันอาทิตย์

จากทีก ่ ล่าวมาแล้วจะเห็นได้วา่ มีการเรียนกันเยอะ วิชาหนึ่งอาจารย์มห ี ลายท่าน


นอกจากภาคปกติ ภาคคา่ แล้ว
ในภาคปกติดว้ ยกันบางวิชาก็มอ ี าจารย์สอนมากกว่าหนึ่งท่าน
เพราะฉะนัน ้ การจะเรียนทัง้ หมดทุกคาบ ทุกอาจารย์แบบทีท ่ ากันในมหาวิทยาลัยนัน

แทบจะมีความเป็ นไปได้น้อยมาก แล้วอาจจะเกิดผลเสียมากกว่าผลดี
ดังนัน้ จึงต้องเลือกเรียนในคาบทีอ่ าจารย์มวี ธิ ก
ี ารสอนทีด ่ ี หรือ ทาให้เราเข้าใจได้ดี และ
มีแนวโน้มทีจ่ ะเป็ นผูอ้ อกข้อสอบ โดยอาจดูจากสถิตป ิ ี ทีผ
่ า่ นมา
ซึง่ จะได้กล่าวต่อไปในบทที่ 2
การสมัครเป็ นนักศึกษา การสมัครสอบ และการสมัครเรียนภาคคา่
และการสมัครเรียนภาควันอาทิตย์ รวมถึงการจองคาบรรยายจะแยกกันทัง้ หมดครับ
ไม่ใช่วา่ สมัครอันหนึ่งแล้วเป็ นการสมัครอีกอันไปด้วยเลย สรุปก็คอื
ช่วงแรกก็ไปสมัครเป็ นนักศึกษา และสมัครภาคคา่ ไปเลย และก็สมัครจองคาบรรยายครับ
ส่วนสมัครสอบมันจะยังไม่เปิ ด พอเปิ ดเมือ่ ไร ก็ไปสมัคร
คิดว่าน่ าจะสมัครได้ประมาณมิถุนาถึงสิงหาครับ (เทอมต้น) ยังไงก็เช็คให้ดี
เพราะถ้าไม่สมัครก็อดสอบ ซึง่ เคยมีคนลืมสมัคร หรือ สมัครไม่ทน ั มาแล้ว

5. คาบรรยาย

ในการเรียนนัน ้ อย่างทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วจะไม่เข้าเรียนก็ได้ แต่การเข้าเรียนก็มข


ี อ
้ ดีอยู่
ซึง่ จะได้กล่าวในรายละเอียดต่อไปในบทที่ 2 อย่างไรก็ดถ ี า้ ไม่เข้าเรียน
ก็จะมีระบบการถอดเทปเฉพาะการเรียนภาคกลางวัน
หรือบางครัง้ อาจารย์บางท่านทีม ่ ห
ี นังสือของท่าน
ท่านก็มกั จะเอาทีท ่ า่ นถอดเทปมารวมๆกับหนังสือของท่าน ส่งให้บรรณาธิการพิมพ์
แล้วรวบรวมในแต่ละสัปดาห์เป็ นเล่ม เรียกว่า รวมคาบรรยาย
ซึง่ จะออกหลังจากทีม ่ ก
ี ารเรียนการสอนวิชานัน ้ ๆ คาบนัน
้ ๆ ไปแล้วจริงๆ ประมาณ 1-3
สัปดาห์ แล้วแต่วา่ ท่านอาจารย์สง่ ให้พม ิ พ์เร็วแค่ไหน
ซึง่ ก็เป็ นอีกทางเลือกสาหรับคนทีไ่ ม่คอ่ ยชอบเข้าเรียนแต่ชอบอ่านหนังสือเองมากกว่า

นอกจากนี้ในรวมคาบรรยาย จะมีบทบรรณาธิการ
ซึง่ ได้รวบรวมเอาฏีกาทีน ่ ่ าสนใจมาทาเป็ นรูปแบบคาถามคาตอบ
ซึง่ บางครัง้ ก็จะมีการนาเอาฏีกาเหล่านี้ไปออกข้อสอบด้วย
ขอแนะนาให้ตอ ้ งอ่านบทบรรณาธิการด้วยให้ได้

คาบรรยายจะมีทง้ ั หมดรวม 16 เล่ม เล่มละประมาณ 150-300 หน้า


ซึง่ ถ้าอ่านทัง้ หมดคงไม่ไหว ก็จะมีวธิ ีเลือกอ่าน ซึง่ จะได้แนะนาต่อไป

การรับคาบรรยายก็จะมีการรับ 3 รูปแบบ คือ


ไปรับเองทีเ่ นติ(ซึง่ ปกติคาบรรยายจะออกทุกวันจันทร์),
ส่งทางไปรษณีย์ธรรมดาและส่งทางไปรษณีย์EMS ซึง่ ก็จะมีอตั ราราคาต่างกันออกไป
วันเวลาทีร่ บั จองสามารถดูทางทีห ่ น้าเวปครับ
ขอแนะนาให้สง่ มาทีบ ่ า้ นจะสะดวกกว่าไปรับเองครับ
เพราะบางครัง้ อาจคิดว่าเดี้ยววันจันทร์ไปเรียนอยูแ่ ล้วก็รบั เองไปเลย
แต่ถงึ เวลาจริงบ่งครัง้ ก็ไม่ได้ไปเรียนครับ ให้เค้ามาส่งแหละสะดวกกว่า
ซึง่ ถ้าอยูใ่ นกรุงเทพตอนวันอังคารก็จะได้แล้วครับ ต่างจังหวัดก็วน
ั พุธ พฤหัสครับ

ส่วนภาคคา่ จะไม่ได้ลงในคาบรรยาย ซึง่ ก็ตอ ้ งใช้ Lecture เพือ


่ น หรือเข้าเรียนเอง
แต่ก็มเี วปบางเวปทีถ ่ อดเทปให้ น้องๆก็ลองหาดูละกันนะครับ ตอนแรกเทอมหนึ่งพีใ่ ช้ของ
www.nitisart.com แต่เทอมสองมันเปลีย ่ นรูปแบบครับ ไม่ใช่ถอดเทปของอาจารย์แต่ละคน
แต่ละคาบแล้ว แต่เค้าจะสรุปมาให้เลยในแต่ละวิชา
ซึง่ โดยส่วนตัวไม่คอ่ ยชอบครับก็เลยไม่ได้ใช้บริการอีก แต่เข้าใจว่ามันมีเวปอืน ่ หลายเวป
ยังไงลองหาดูครับ (เวปพวกนี้จะมีคา่ บริการด้วย และแพงพอควรเลย
ถ้าจะใช้บริการก็อาจจะแชร์กบั เพือ ่ นครับ)

6. การสอบและข้อสอบ

การสอบจะสอบ 1 ขา 10 วิชา 4 ชั่วโมง 14.00-18.00


ภาคต้นในวันอาทิตย์สด ุ ท้ายของเดือนมีนาคม และ อาทิตย์แรกของเดือนเมษายน
มีวช
ิ าในแต่ละขา ดังต่อไปนี้
7. ระเบียบการออกข้อสอบ

หากเปิ ดดูตารางบรรยายของเนติบ ัณฑิต


จะพบว่าแต่ละวิชานัน ้ มีอาจารย์สอนมากกว่า1ท่าน ดังนัน ้ ทางเนติ
จึงได้กาหนดหลักเกณฑ์ในการออกข้อสอบไว้วา่ ในช่วงเช้าของวันสอบนัน ้
อาจารย์แต่ละท่านทัง้ ทีเ่ ป็ นผูส ้ อนภาคปกติ ภาคคา่ และทีไ่ ม่ได้เป็ นผูส
้ อน
แต่เป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญทีท ่ างเนติค ัดสรรมาจะต้องออกข้อสอบมาท่านละ1ข้อ
แล้วก็จะมีการเรียกประชุมกันในกลุม ่ ย่อยวิชานัน
้ ๆ
เพือ ่ มาลงคะแนนกันรอบแรกว่าจะเลือกข้อสอบของอาจารย์ทา่ นใดมาออกเป็ นข้อสอบเข้า
รอบสุดท้าย 2 ข้อ แล้วจึงนา 2 ข้อของทุกวิชามาเข้าทีป ่ ระชุมใหญ่
ซึง่ อาจารย์ทก ุ คนทุกวิชาทีม่ าเป็ นกรรมการออกข้อสอบจะมาลงคะแนนเลือกกันให้เหลือวิ
ชาละ 1 ข้อ
ฉะนัน ้ จึงต้องมีการทาสถิตวิ า่ ข้อสอบของอาจารย์ทา่ นใดได้รบั เลือกบ่อยครัง้ ทีส่ ด

เพือ ่ การเตรียมตัวในการอ่านหนังสือสอบ ซึง่ จะได้กล่าวต่อไป
8. วิธีการเขียนข้อสอบ

คล้ายทีเ่ ขียนในมหาลัยเราครับ โดยข้อสอบ 95 % จะเป็ นอุทาหรณ์ จะมีบางปี


และบางภาคจริง ๆ เช่น วิฯอาญาทีเ่ คยออกเป็ นบรรยาย และเป็ นบรรยายครึง่ ข้อ
นอกนัน ้ ก็เป็ นอุทาหรณ์ หมดครับ การตอบอุทาหรณ์ ของเนติคล้ายทีม
่ หาวิทยาลัยครับ
แต่มจี ด
ุ ต่างอยู่ 2 จุดใหญ่ ๆ คือ

8.1.ไม่ตอ้ งวางประเด็นแบบในมหาวิทยาลัย ถ้าจะวางก็แค่เกริน ่ สัน


้ ๆ
แล้วเขียนหลักกฎหมายไปเลย เช่น “เมือ่ พิเคราะห์แล้วเห็นว่า
มีขอ ้ กฎหมายทีจ่ ะต้องพิจารณา ดังต่อไปนี้...” หรือ “มีขอ
้ กฎหมายในเรือ่ ง การร้องสอด
ซึง่ มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้...” เป็ นต้น

8.2.การเขียนจะสัน้ กว่าทีม ่ หาวิทยาลัย


ถ้าตอบทีม ่ หาวิทยาลัยมีเวลาเฉลีย่ ต่อข้อประมาณ 30-35 นาที
แต่การสอบเนติจะมีขอ ้ สอบ 10 ข้อ 4 ชั่วโมง ก็จะมีเวลาการเขียนข้อละ 18-23
นาทีโดยประมาณเท่านัน ้ ซึง่ ก็ตอบประมาณ 1 หน้า หรือหน้าครึง่ ไม่เกิน 2 หน้าเท่านัน

ทาให้วธิ ีการตอบต้องกระชับ มีหลักกฎหมาย เหตุผล และสรุปคาตอบ
แต่ไม่ตอ ้ งอธิบายละเอียดมากเหมือนทีม ่ หาวิทยาลัย แต่ก็แล้วแต่ขอ
้ ด้วย
ถ้าข้อไหนประเด็นเยอะก็จะค่อย ๆปรับไปตามเหตุการณ์ ทีละย่อหน้าเลยก็ได้
(มักจะใช้ในวิชาแพ่ง บางวิชาทีป ่ ระเด็นแยก เช่น คา้ ประกัน จานอง จานา เป็ นต้น)

เมือ่ พิเคราะห์แล้วเห็นว่าข้อเท็จจริงดังปัญหา สามารถแยกพิจารณาได้ดงั ต่อไปนี้

(ประเด็นที่ 1) ปรับบท + หลักกฎหมาย…………………………

(ประเด็นที่ 2) ปรับบท + หลักกฎหมาย………………………..

(ประเด็นที่ 3) ปรับบท + หลักกฎหมาย………………………….

(ประเด็นที่ 4) ปรับบท + หลักกฎหมาย…………………………….

(ทีละย่อหน้า ตามเหตุการณ์ ในโจทย์ไปเรือ


่ ย ๆครับ)
จากทีไ่ ด้วน
ิ ิจฉัยไปทัง้ หมดข้างต้น สรุปได้วา่ ……. (ตอบธงสัน
้ ๆ ตามทีโ่ จทย์ถาม)

แต่ถา้ ในข้อนัน
้ มีประเด็นน้อย และมีหลักกฎหมายไม่มาก ก็แยกอธิบายหลักกฎหมายก่อน
แล้วค่อยปรับบทไปทีละประเด็น หรือทีละข้อ ซึง่ ส่วนมากข้อสอบเนติจะมีประเด็นไม่มาก
ข้อละ 1-2 หรืออย่างมากไม่เกิน 3 (ส่วนมากก็ 2 มักมีการแยกเป็ น (ก) และ (ข)
จึงแนะนาการตอบข้อสอบแบบนี้มากกว่าครับ

เมือ่ พิเคราะห์แล้วเห็นว่าข้อเท็จจริงดังปัญหามีขอ้ กฎหมายซึง่ จะต้องพิจารณา


ดังรายละเอียดต่อไปนี้

มาตรา 57 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง วางหลักว่า


(อธิบายหลักกฎหมาย ใช้ถอ ้ ยคาสาคัญตามตัวบท แต่ไม่ตอ
้ งเหมือนตัวบท 100%
จะแบ่งเป็ นองค์ประกอบก็ได้ ถ้าอาจารย์สอนแล้ว ท่านอาจารย์แยกเป็ นหลักเกณท์ให้
ก็จะเขียนตามนัน้ ก็ได้) …….

มาตรา 58

จากกรณีดงั ปัญหา สามารถแยกพิจารณาได้ดงั ต่อไปนี้

(ก)………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ดังนัน
้ กรณี นาย ก. การทีศ
่ าลไม่อนุญาตให้รอ้ งสอดได้ จึงชอบด้วยกฎหมายแล้ว
(ตอบคาตามคาถามเลย)

(ข)………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………

ดังนัน
้ กรณี นาย ข. การทีศ
่ าลไม่อนุญาตให้รอ้ งสอดได้ จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย
(ตอบคาตามคาถามเลย)
จากเหตุผลทัง้ หมดตามทีไ่ ด้วน
ิ ิจฉัยไปแล้วข้างต้น สรุปได้วา่ (หรือ เห็นว่า) กรณี
(ก)การทีศ
่ าลไม่อนุญาตให้รอ้ งสอดได้ นัน้ ชอบด้วยกฎหมายแล้ว แต่กรณี
(ข)การทีศ่ าลไม่อนุญาตให้รอ้ งสอดได้ จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย (ตอบแค่คาถามครับ
ไม่ควรตอบเกิน เพราะถ้าถูกก็แล้วไป แต่ถา้ ผิดจะถูกหักคะแนนได้ครับ)

้ ไปจึงจะผ่าน
ข้อสอบ ข้อละ 10 คะแนน รวม 100 คะแนน ต้องได้ 50 คะแนนขึน
49 ก็ตกนะครับ ไม่มก
ี ารปัด (หรือถีบ) ให้

บททีส่ อง: การอ่านหนังสือ และการทาข้อสอบ รวมถึงการเตรียมตัวสอบทีใ่ ห้ผลดี

ทีจ่ ะกล่าวต่อไปนี้ เป็ นแค่ความเห็นนะครับ จะดีหรือไม่ดข ึ้ อยูก


ี น ่ บั แต่ละคนด้วยนะครับ
ควรจะลองด้วยตนเอง อย่าเชือ ่ ทันที เพราะทีพ ่ ท ี่ าเอกสารนี้ขน ึ้ มา
เพราะเห็นว่าจะเป็ นประโยชน์ แก่น้อง ๆอยูบ ่ า้ ง เหมือนกับทีพ ่ เี่ คยได้ประโยชน์ จากที่พี่
ๆทาให้ แต่ทง้ ั นี้ทง้ ั นัน
้ ความเห็นไม่มถ ี ูกหรือผิดและอาจไม่เหมือนกันด้วย
การเรียนทีด ่ ีทส
ี่ ด
ุ คือทายังไงก็ได้ให้เราเข้าใจ และทาข้อสอบได้ บางคนอาจจะถนัดวิธน ี ี้
บางคนอาจจะถนัดวิธน ี น
้ ั การเชือ
่ พีห
่ มดจึงอาจเป็ นผลเสียได้ สิง่ ทีค ่ วรทาคือทดลองครับ
ลองเอา “Juris” มาอ่านว่าชอบไหม ลองเรียนอาจารย์ทก ุ ท่านดูวา่ รูเ้ รือ ่ งจะเรียนกับท่านไหน
อ่านคาบรรยายดีไหม และสาคัญ คือ เน้นว่าควรเลือก
อย่าทาทุกอย่างเพราะจะเยอะเกินไปครับ รับไม่ไหว สุดท้ายจะจาอะไรไม่ได้เลย เว้นแต่
จะจริงจังกับเนติมาก เช่นจะเอาทีห ่ นึ่ง หรือ
จะให้เป็ นพืน้ ฐานทีแ ่ น่ นในการสอบผูพ ้ พ
ิ ากษา อัยการต่อไป ก็ทาเท่าทีท ่ าได้ให้ดีทส
ี่ ด
ุ ครับ

1. การเข้าเรียนในห้อง

ข้อดีคอ
ื ถ้าตัง้ ใจเรียนแล้ว การกลับมาทบทวนจะทาได้งา่ ย
เพราะมันจะทาให้จาได้มากกว่า การทาความเข้าใจเอง
และก็จะทาให้ทราบว่าอาจารย์แต่ละท่านมีจุดทีเ่ น้น
ความสาคัญทีท ่ า่ นน่ าจะนาไปออกข้อสอบอยูต
่ รงไหนครับ
แต่ก็แล้วแต่ความชอบของแต่ละบุคคลด้วยครับ
ข้อเสียคือ การไปเรียนเนติมน ั ค่อนข้างไกล
อาหารการกินและสภาพแวดล้อมไม่ได้สะดวกสบายนักครับ
ก็มกั จะมีคนทีแ่ รกๆตัง้ ใจไว้วา่ จะไปเรียนทุกคาบ แต่ตอ
่ มาก็ถอดใจไปไม่ไหว
กลายเป็ นเบือ่ และเครียดแทน

2. การอ่านคาบรรยาย

ข้อดี คือบางครัง้ มันจะละเอียดและอ่านง่ายกว่าการไปฟังอาจารย์สอน


โดยเฉพาะอาจารย์บางท่านทีม ่ ส
ี ไตล์การสอนแบบค่อยๆสอน

ข้อเสียคือบางทีม ันจะเยอะมาก มาทุกอาทิตย์ อาทิตย์ละประมาณ 10 - 40 หน้า


(ในแต่ละวิชา) ซึง่ แค่เห็นก็เหนื่อยแล้ว อาจทาให้ทอ้ ได้

กรณี มเี วลามาก ส่วนใหญ่ก็จะมีการนาคาบรรยายเนติของสมัยก่อนหน้ามาอ่านล่วงหน้า


โดยอาจยืมหรือซื้อต่อรุน ่ พีห
่ รือเพือ
่ นทีเ่ รียนไปก่อนแล้วก็ได้
หรือไม่ก็ไปหาซื้อตามเว็บทีจ่ ะมีประกาศขายคาบรรยายเก่าอยูเ่ รือ ่ ย เช่น
www.thaijustice.com หรือ www.lawsiam.com
ซึง่ ส่วนมากก็จะนามาลดราคาเหลือชุดละประมาณ 600 – 800 บาท
หรือหากไม่ตอ ้ งการหาซื้อ เราเคยไปซื้อทีร่ า้ นเจ้เฮี้ยง (ปณรัชช) ทีอ่ ยูบ
่ ริเวณเต้นรถข้าง
ๆเนติขายชุดละ 1,200 บาท (ข้อมูลจากเอกสารของพีป ่ ี ใหม่)

การอ่านคาบรรยายนัน ้ ต้องอ่านบทบรรณาธิการให้ได้ครับ
ต้องมีขอ
้ สอบโผล่มาอยูใ่ นบทบรรณาธิการแน่ นอนทุกปี ครับ ไม่มากก็น้อย บางครัง้ ก็ 1-2
ข้อ แต่บางครัง้ ก็ประมาณ 3 ข้อต่อหนึ่งขาเลยทีเดียว ซึง่ นับว่าเยอะมาก

โดยวิธีเข้าเรียนและการอ่านคาบรรยายอาจทาผสมกันได้ครับ
บางวิชาชอบอาจารย์สอนก็เข้าเรียน บางวิชาไม่ชอบ
แต่มแ
ี นวโน้มการออกข้อสอบบ่อยก็อา่ นคาบรรยายเอา รวมๆกันไปครับ

3. การฟังเทป

ข้อดีคอื สะดวกสาหรับผูท
้ ไี่ ม่มเี วลาไปนั่งเรียน
แต่ยงั ไงก็ชอบการฟังอาจารย์สอนมากกว่าการอ่านหนังสือเอง ก็จะมีเอกชนจัดทา คือ
ไปนั่งอัดเทปมาให้ แล้วก็ลงในเน็ ต เราก็ไปเข้าไปสมัครเป็ นสมาชิก
แล้วก็โหลดมาฟังได้วนั ต่อวัน

ข้อเสียคือ ความจริงแล้วมันไม่ถก ู กฎหมาย เพราะเป็ นลิขสิทธิข ์ องอาจารย์


และเป็ นเอกชนจัดทาครับ จึงหาความแน่ นอน 100% ไม่ได้ครับ และเรียกร้องสิทธิไม่ได้
บางครัง้ จะถูกกวนกลับด้วยก็ยงั เคยเห็นมีคนโดนมาแล้วครับ และบางครัง้ เราเห็นเป็ นเทป
คิดว่าเดีย๋ วค่อยฟังก็ได้ แล้วสุดท้ายมันก็จะค้างฟังอยู่ จนฟังไม่ท ันครับ
นอกจากนี้การฟังเทปมันดีตรงเลือกฟังตอนไหนก็ได้ หยุดตอนไหนก็ได้ตามทีต ่ อ
้ งการ
แต่ก็นามาซึง่ ข้อเสียทีเ่ ราจะคิดว่าเดี้ยวไม่เข้าใจค่อยย้อนฟังใหม่
แล้วมันจะทาให้ไม่ตง้ ั ใจฟังครับ

4. การอ่านหนังสือ

ส่วนมากท่านอาจารย์ทส ี่ อนในภาคปกติ และภาคคา่ ในแต่ละวิชา


ทางเนติจะคัดเลือกมาจากผูเ้ ชีย่ วชาญในเรือ ่ งนัน
้ ๆครับ
ซึง่ ก็มกั จะทาให้ทา่ นมีหนังสือทีเ่ ขียนในวิชานัน
้ ๆครับ เช่น
หนังสือท่านอาจารย์เกียรติขจร, ท่านอาจารย์มนตรี, ท่านอาจารย์ธานิศ, ท่านอาจารย์จรัญ,
ท่านอาจารย์สมชัย ฑีฆาอุตมากร, ท่านอาจารย์ไพโรจน์ วายุภาพ, ท่านอาจารย์อด ุ ม
เฟื่ องฟุ้ ง เป็ นต้น ซึง่ การอ่านหนังสือสาหรับคนทีช ่ อบเรียนโดยการอ่านมากกว่าการฟัง
ก็จะมีขอ ้ ดี คือ จะได้เนื้อหาอย่างครบถ้วนแน่ นอนครับ แต่ขอ ้ เสีย คือ มันจะเยอะมาก
และไม่รวู ้ า่ ท่านอาจารย์เน้นตรงจุดไหน

นอกจากนี้อาจเอาความรูเ้ ก่าทีม ่ หาวิทยาลัยมาอ่านก็ได้ครับ เช่น


วิฯแพ่งท่านอาจารย์จกั รพงษ์ , วิฯอาญาท่านอาจารย์ปกป้ อง ท่านอาจารย์สรุ ศักดิ,์
อาญาท่านอาจารย์เกียรติขจร, ปกครองท่านอาจารย์วรเจตน์ , เป็ นต้น
อีกทัง้ ท่านอาจารย์เหล่านี้บางท่านยังเป็ นผูบ ้ รรยายทีเ่ นติดว้ ยครับ
จึงแทบไม่ตอ ้ งเรียนซา้ เลย ซึง่ พีจ่ ะพูดต่อไป

5. แพ่ง อาญา วิแพ่ง วิอาญา พิสดาร (Juris)

เป็ นหนังสือทีพ
่ ยายามรวบรวมข้อสังเกตจากฎีกาต่างๆทุกฎีกาในเรือ ่ งนัน
้ ๆ
แล้วสรุปเป็ นประเด็นๆ เวลาอ่านก็อา่ นแค่หวั ข้อทีส่ รุปมาแล้วเป็ นประโยคสัน ้ ๆมาแล้ว
่ งในฎีกา ซึง่ ก็จะดีตรงทีไ่ ม่ตอ
แล้วถ้าไม่เข้าใจก็คอ่ ยอ่านเรือ ้ งอ่านฎีกาเต็ม ๆ
เค้าสรุปมาเป็ นประเด็นให้หมดแล้ว
ข้อเสีย คือ มันจะเยอะ และทุกเรือ่ ง ทุกมาตราจริง ๆ
โดยไม่มก ี ารเน้นอะไรให้เลยว่าตรงไหนสาคัญ แต่ก็เป็ นสิง่ ทีบ ่ างคนชอบมาก
ถึงขัน
้ บอกว่าอ่านแค่นี้ก็สอบผ่านได้ แต่โดยส่วนตัวพีว่ า่ จะใช้ได้ดีในภาคต้น คือ แพ่ง
อาญา ครับ โดยใช้กรณีทไี่ ม่ชอบเข้าเรียนของอาจารย์ทา่ นใดในวิชานัน ้ ๆเลย เช่น
ถ้าเรียนท่านอาจารย์เกียตริขจรแล้วชอบ ก็เรียนไป แต่ถา้ คา้ ประกัน จานองจานา
เรียนตามไม่ท ัน หรือไม่ชอบสไตล์การสอนของท่านอาจารย์ ก็มาอ่าน juris ได้ครับ

การซื้อต้องรอนิดนึงครับ อย่าพึง่ รีบซื้อ


ต้องรอให้ม ันออกของปี ล่าสุดมาก่อน(ช่วงประมาณเปิ ดเทอมไปแล้วระยะหนึ่ง)เพราะฎีกา
จะ Update กว่าของปี เก่า ทัง้ นี้ตอ
้ งเช็คดี ๆ อย่าซือ
้ ผิด เสียดายเงิน

6. หนังสือข้อสอบเก่า

ควรซื้อไว้ครับ และทาข้อสอบเก่าประมาณ 5-8 ปี ครับ ไม่ตอ ้ งทาเกินกว่านี้ครับ


เพราะของเก่าไปมันจะเน้นเนื้อหาคนละส่วน
และเราทาเพือ ่ ดูแนวทางการออกข้อสอบเท่านัน ้ ครับ
แม้วา่ จะทาไม่ได้หรือทาผิดก็อย่าพึง่ กังวลครับ
เพราะข้อสอบเนติจะไม่ออกฎีกาซา้ ฎีกาเดิม (แต่ไม่ได้หมายความว่า
ไม่ออกเรือ่ งเดิมนะครับ บางครัง้ อาจจะออกเรือ ่ งเดิม แต่เปลีย่ นเลขฎีกาก็ได้)
และบางครัง้ ฎีกานัน้ อาจจะสอนในปี นัน ้ ๆแต่ไม่ได้สอนในปี เราครับ

นอกจากนัน ้ ยังมีรูปแบบการเรียนอืน่ ๆอีก เช่นการยืม Lecture เพือ


่ น หรือการอ่านสรุป
รวมถึงการไปติวช่วงใกล้สอบ (สถาบันทีเ่ ปิ ดติวก็มห ี ลายแห่งครับ
ซึง่ ก็จะมีคา่ เรียนค่อนข้างแพงครับ แต่บางทีก็คอ่ นข้างดีครับ
ซึง่ ถ้าสนใจก็ตอ ้ งหาข้อมูลก่อนสมัครว่าสถาบันไหนเป็ นอย่างไร)

พีค่ ด
ิ ว่า เราก็เลือกวิธก ี ารทีม
่ ันเหมาะกับตัวเองดีทส ี่ ด
ุ ครับ อาจจะผสมกันก็ได้
อย่างพีก
่ ็ฟงั เทปเอา เพราะทางาน ไปเรียนไม่ได้
แล้วก็ฟงั เทปภาคคา่ เฉพาะอาจารย์ทฟ ี่ งั แล้วเข้าใจ และมีสถิตก ิ ารได้รบั เลือกข้อสอบสูง
ส่วนภาคปกติก็เน้นอ่านคาบรรยายเอา
และช่วงอาทิตย์สด ุ ท้ายทีม
่ เี มฆหมอกก็ลาไปเรียนบ้าง
และก็ไปติวดูวา่ เค้าเก็งเรือ ่ งอะไรกันบ้าง มีฎก ี าทีเ่ น้นฎีกาไหนบ้าง ทีส่ าคัญ คือ
ต้องมีวนิ ยั ในการเรียน คือ มีความสมา่ เสมอ อย่าท้อ หรือยอมแพ้ไป
หรือพักจนตามไม่ทน ั เผลอแป๊ ปเดียวก็ใกล้สอบแล้ว จะแย่เอาครับ

7. คาพิพากษาศาลฏีกา
เป็ นสิง่ ทีส่ าคัญในการเรียนเนติครับ เพราะมีอาจารย์ทา่ นกล่าวไว้วา่
การเรียนเนติไม่ได้เน้นทฤษฏีเหมือนการเรียนในมหาวิทยาลัย
ซึง่ จะทาให้มพ ี ื้นฐานทีแ ่ น่ นครับ แต่เน้นแนวปฏิบตั ขิ องศาลและพนักงานอัยการ
ว่าเมือ่ มีขอ ้ เท็จจริงเกิดขึน ้ จะวินิจฉัยไปทางไหน การเรียน และการออกข้อสอบ
จึงเน้นตัวบทกฎหมาย และฏีกาครับ
เพราะเป็ นแนวปฏิบตั ข ิ องศาลทีเ่ ป็ นตัวอย่างการปรับบทกฏหมายกับคดี
โดยตัวบทจะไม่เน้นลึกหรือลงถึงทฤษฏีเหมือนทีเ่ ราเรียนทีม ่ หาวิทยาลัย
แต่เน้นการนาไปใช้ เพราะฉะนัน ้ เวลาเรียนอาจารย์ทา่ นก็จะสอนหลักกฎหมาย
และก็ลงฏีกาในแต่ละเรือ่ งเลยครับ

ส่วนการออกข้อสอบ ก็มกั จะนาคาพิพากษาศาลฏีกาไปแต่งเป็ นโจทย์ในข้อสอบ


แต่ก็จะเป็ นคาพิพากษาฎีกาทีน่ ิ่งแล้วเท่านัน

จะได้ไม่เกิดปัญหาการโต้เถียงกันระหว่างผูอ ้ อกข้อสอบ
ฉะนัน้ หากคาพิพากษาฎีกานัน ้ ยังตีกน ั ไม่ยต ุ ิ ก็จะไม่นามาออกเป็ นข้อสอบเนติครับ

ข้อสอบหนึ่งข้อก็อาจจะเอาฏีกา สองฏีกามาแต่งโยงกันครับ เพราะฉะนัน


้ ในการเรียนเนติ

ฏีกาจึงสาคัญครับ ถ้าในมหาวิทยาลัย หลักทฤษฏีเราเห็นต่างจากฏีกาก็ตอบฏีกาก่อน


แล้วว่าตามทีเ่ ราเห็นเป็ นธงคาตอบสุดท้ายได้ แต่เรียนเนติตอ ้ งยึดธงตามฏีกาครับ
ไม่งน
้ ั จะไม่ได้คะแนน (ในจุดนี้ก็ทาให้น้อง ๆบางคนอาจรูส้ ก ึ ไม่ดีได้
ว่าทาไมเราเห็นต่างไม่ได้ ทัง้ ๆทีบ
่ างครัง้ มันไม่น่าจะถูก)

8. การเลือกเรียน

ความยากของการสอบเนติ ไม่ได้อยูท ่ เี่ นื้อหาเป็ นสาคัญครับ


เนื้อหาสามารถเข้าใจได้ไม่ยากนัก แต่เป็ นทีเ่ ห็นค่อนข้างตรงกัน คือ
ความยากอยูท ่ คี่ วามเยอะของเนื้อหาครับ
แล้วก็ไม่ได้มอี าจารย์ออกข้อสอบคนเดียวทีจ่ ะพอเก็งข้อสอบได้งา่ ยด้วย
บางครัง้ ข้อสอบก็พลิกออกอะไรทีเ่ ราไม่ได้อา่ นมา

และวิชาทีส่ อน วิชาหนึ่งก็มค ี นสอนหลายท่าน จะเรียนหมดก็ไม่ไหว


ก็จะขอรวบรวมข้อมูลของแต่ละวิชามาไว้ทน ี่ ี้นะครับ
โดยส่วนหนึ่งก็เป็ นไปตามทีพ
่ แ
ี่ ป้ งรวบรวมมา บวกกับทีเ่ ห็นเอง และทีเ่ พือ่ นๆ รวบรวมมา
8.1 แพ่ง

ต้องบอกก่อนว่าพีม่ เี วลาอ่านแพ่งและอาญาน้อยมาก
เพราะตอนแรกไม่คด ิ จะเอาเนติ แต่มเี หตุการณ์ บางอย่างทาให้คด ิ ว่าควรเก็บเนติให้ได้ไว้
จึงเร่งอ่านแค่ 2-3 สัปดาห์สด ุ ท้าย พอมาเทอมสองจึงอ่านจริงจังมาก
เพือ
่ จะได้เก็บเนติให้เสร็จในปี เดียว เพราะคิดว่าไหน ๆก็อต ุ สาห์เก็บได้สองตัวแล้ว
เอาให้มน ั เสร็จ ๆไปเลย ดังนัน ้ ภาคแรกจึงมีขอ
้ มูลค่อนข้างน้อย
ขออนุญาตเอาข้อมูลของพีแ ่ ป้ งมารวมๆนะครับ

แพ่งอาญาจะมีความยากทีค ่ วามเยอะของเนื้อหาครับ เยอะและกว้างมาก ๆ แต่จะมีขอ้ ดีคอ



เราจะมีพน
ื้ จากตอนทีเ่ รียนทีม่ หาวิทยาลัยครับ
ต่างจากพวกวิฯทีเ่ ราจะเรียนทีม ่ หาวิทยาลัยน้อยกว่า แต่เนื้อหาจะสามารถ scope
และเก็งได้งา่ ยกว่า

ข้อ1 เป็ นเรือ


่ ง "ทรัพย์"แนะนาให้เข้าเรียน และ/หรือ อ่านคาบรรยาย ภาคคา่ ของ
อ.สมจิตร์ ทองศรี หรือ อ่านแพ่งพิสดาร โดยเฉพาะคาบสุดท้ายของอาจารย์สมจิตร

ข้อ 2-3 เป็ นเรือ


่ ง "นิตก ิ รรมสัญญา หรือ หนี้ หรือ ละเมิด" 3 วิชาออก 2 ข้อ
จะออกอะไรบ้างก็ขน ึ้ อยูก่ บั แต่ละปี ครับ จะมี 2 เรือ่ งทีอ่ อกเป็ นข้อสอบ อีก 1
เรือ
่ งไม่ได้ออก แต่เท่าทีเ่ ห็นละเมิดมักจะยืนอยูท ่ ข
ี่ อ้ 3 ข้อ 2
มักจะสลับระหว่างนิตก ิ รรมกับหนี้ แต่ก็ไม่แน่ ครับแล้วแต่ปี สรุปก็คอ ื ต้องอ่านไปให้หมด

นิตก
ิ รรมสัญญา มีขอ
้ มูลว่าหากเรือ
่ งนิตก
ิ รรมสัญญาออกเป็ นข้อสอบ
ส่วนใหญ่ขอ้ สอบของอ.อัครวิทย์ มักจะได้รบั เลือก

หนี้ ผูอ
้ อกข้อสอบไม่แน่ นอนเท่าไรนัก อ่านอะไรก็ได้ทท
ี่ าให้เข้าใจ
เช่นเดียวกับนิตกิ รรมครับ

ละเมิด แนะนาให้เข้าเรียน และ/หรือ อ่านคาบรรยาย ภาคปกติ ของอ.เพ็ง เพ็งนิติ หรือ


บางท่านอาจไปหาซื้อหนังสือเล่มเล็กๆเป็ นสรุปเรือ
่ งละเมิดเขียนโดยท่านอาจารย์เพ็งมาอ่า
นก็ได้เช่นกัน

ข้อ 4 เป็ นเรือ


่ ง "ซื้อขาย หรือ เช่าทรัพย์ หรือ เช่าซื้อ"
(ข้อสอบจะออกเพียงเรือ ่ งหนึ่งเท่านัน
่ งใดเรือ ้ ) แนะนาให้เข้าเรียน และ/หรือ
อ่านคาบรรยาย ภาคคา่ ของ อ.ฉันทวัธน์ วรทัต ส่วนใหญ่ขอ ้ สอบของอ.ฉันทวัธน์
มักจะได้รบั เลือก ถ้าชอบการเข้าเรียน แต่จะอ่านแพ่งพิสดารก็ได้นะครับ

ข้อ 5 เป็ นเรือ่ ง "ยืม คา้ ประกัน จานอง จานา" ข้อสอบมักออกหลายเรือ


่ งปนกัน
ซึง่ จะเป็ นข้อสอบทีร่ ายละเอียดค่อนข้างเยอะทีส่ ด

แนะนาให้เข้าเรียนและ/หรืออ่านคาบรรยายของอ.ปัญญา ถนอมรอด
แต่จะอ่านแพ่งพิสดารก็ได้นะครับเพราะวิชานี้เนื้อหาค่อนข้างเยอะ

ข้อ 6 เป็ นเรือ


่ ง "ตัวแทน หรือ ประกันภัย หรือ ตั๋วเงิน หรือ บัญชีเดินสะพัด"
ส่วนใหญ่จะออกเรือ ่ งตั๋วเงินเกือบทุกปี พีก่ ็ตดั ใจอ่านแค่ต๋วั เงินไปเลยครับ
แต่ถา้ พอมีเวลาก็ดต ู วั บทวิชาอืน ่ ไว้นิดหน่ อยก็ได้ครับ ซึง่ ก็แนะนาให้ เข้าเรียน
่ ๆเพือ
และ/หรือ อ่านคาบรรยาย ภาคคา่ ของ อ.ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์ ข้อสอบของอ.ประเสริฐ
มักได้รบั เลือกเสมอ (จริง ๆ สิง่ ทีอ่ าจารย์ประเสริฐพูดทุกวิชาจะมีความสาคัญ เพราะ
อาจารย์มบ ี ทบาทมากในการออกข้อสอบ
และเป็ นคนเขียนบทบรรณาธิการในรวมคาบรรยายด้วยครับ)

ข้อ 7 เป็ นเรือ


่ ง "หุน
้ ส่วน หรือ บริษทั "
ข้อสอบโดยหลักจะออกสลับกันทุกปี ครับระหว่างหุน ้ ส่วน กับบริษท

แต่บางปี ก็ออกหุน ้ ส่วนซา้ มาครับ ก็ตอ้ งดูไว้ทง้ ั คู่ แนะนาให้เข้าเรียน และ/หรือ
อ่านคาบรรยายของ อ.สุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์ และ อ.สหธน รัตนไพจิตร
หรืออาจซื้อหนังสือเรือ ่ งหุน
้ ส่วน-บริษท ั เล่มสีแดง ของอ.สหธน มาอ่านก็ได้
ข้อสอบทีไ่ ด้รบั เลือกก็คละกันไปครับ ไม่ใช่ของท่านอาจารย์คนเดียวทุกปี

ข้อ 8 เป็ นเรือ่ ง "ครอบครัว และ มรดก" (ข้อสอบออกผสมกัน) แนะนาให้เข้าเรียน


และ/หรือ อ่านคาบรรยาย ภาคปกติ ของ อ.มล.เฉลิมชัย เกษมสันต์ (อ.หม่อมพี)่
โดยเฉพาะในคาบสุดท้าย
อาจารย์จะพูดเป็ นแนวสรุปสาระสาคัญในแต่ละเรือ ่ งและทวนให้ครับ
ทัง้ นี้อาจารย์จะพูดถึงส่วนเรือ ่ งครอบครัวด้วย
ซึง่ ข้อสอบก็มกั จะอยูใ่ นเรือ ่ งหนึ่งทีอ่ าจารย์พูดครับ
่ งใดเรือ

ข้อ 9 เป็ นเรือ


่ ง "การค้าระหว่างประเทศ" แนะนาให้เข้าเรียน และ/หรือ อ่านคาบรรยาย
ภาคปกติ ของ อ.อรรถนิติ ดิษฐอานาจ โดยเน้นเข้าเรียนและอ่านคาบรรยาย 2
คาบสุดท้าย ข้อสอบของอาจารย์มกั ได้รบั เลือกเสมอ วิชานี้น้องๆ
ไม่ตอ้ งกลัวว่าไม่เคยเรียนมาก่อนครับ ไม่ยากเกินไป
ข้อ 10 เป็ นเรือ
่ ง "ทรัพย์สนิ ทางปัญญา" สถิตก ิ ็มค
ี วามไม่แน่ นอนอยูค ่ อ่ นข้างมาก
ไม่มคี าแนะนาอืน ่ ครับ เข้าเรียนกับอาจารย์ทา่ นใดหรืออ่านคาบรรยายอันไหน
ก็แล้วแต่ความชอบนะครับ วิชานี้จะออกอยู่ 2 เรือ ่ งจาก 3 เรือ ่ งครับคือ ลิขสิทธิ,์ สิทธิบตั ร
และเครือ่ งหมายการค้า แนะนาว่าอย่าตัดเรือ ่ งใดเรือ ่ งหนึ่งทิง้
ตามทีอ่ าจารย์แต่ละท่านใบ้เมฆหมอกในห้องเรียนครับ
เพราะข้อสอบของอาจารย์ทา่ นอืน ่ อาจจะได้รบั เลือกออกข้อสอบก็ได้

8.2 อาญา

วิชานี้ เนื้อหาจะน้อยกว่าแพ่งครับ แต่ก็ออกได้กว้างเหมือนกันครับ

ข้อ 1 "มาตรา 1-59, 107-208" มักจะออกเรือ ่ งขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา


ส่วนมาตรา 107-208 มักจะออกเรือ ่ งความผิดเกีย่ วกับเจ้าพนักงาน แนะนาให้เข้าเรียน
และ/หรือ อ่านคาบรรยาย ภาคคา่ ของ อ.ชาตรี สุวรรณิน
ข้อสอบของอาจารย์ม ักได้รบั เลือก

ข้อ 2-3 “มาตรา 59-106" แนะนาให้เข้าเรียน และ/หรือ อ่านคาบรรยาย ภาคปกติ ของ


อ.เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ ์ ข้อสอบของอาจารย์ได้รบั เลือกเสมอ
และสองข้อนี้เป็ นข้อทีเ่ ก็บคะแนนได้ ทาคะแนนได้ดี ไม่ยาก
คล้ายๆกับทีเ่ รียนในมหาวิทยาลัยแต่ประเด็นน้อยกว่า เรือ ่ งทีช
่ อบออกก็พวก เจตนา
(ประสงค์ตอ ่ ผล/เล็งเห็นผล), ประมาท, พลาด, ป้ องกัน, จาเป็ น, บันดาลโทสะ, ตัวการ, ผูใ้ ช้,
ผูส
้ นับสนุน, พยายาม ฯลฯ อะไรประมาณนี้ สรุปคือ สองข้อนี้เน้นดี ๆครับ
ตามแนวท่านอาจารย์เกียรติขจรเลยครับ ข้อสอบของอาจารย์ม ักได้รบั เลือกเสมอครับ
พยายามเก็บคะแนนให้ได้ครับ

ข้อ 4 "มาตรา 209-287" แนะนาให้เข้าเรียน และ/หรือ อ่านคาบรรยาย


ภาคคา่ ของอ.วีระวัฒน์ ปวราจารย์ โดยเฉพาะคาบแรกและคาบท้ายๆ ครับ
ข้อสอบของอาจารย์ม ักได้รบั เลือก

ข้อ 5-6 "มาตรา 288-366" ข้อ 5 และ ข้อ 6 แนะนาให้เข้าเรียน และ/หรือ


อ่านคาบรรยาย ภาคปกติ ของอ.มล.ไกรฤกษ์ เกษมสันต์
ข้อสอบของอาจารย์ได้รบั เลือกเสมอ สองข้อนี้ไม่งา่ ยเท่าไหร่
เนื่องจากมีเรือ
่ งทีอ่ าจเอามาออกข้อสอบได้หลายเรือ ่ ง เช่น ความผิดต่อชีวต ิ ร่างกาย,
ความผิดเกีย่ วกับทรัพย์ทง้ ั หลาย, ทาแท้ง, ข่มขืน, พรากผูเ้ ยาว์, หมิน
่ ประมาท และอืน่ ๆ
ซึง่ มีรายละเอียดค่อนข้างเยอะพอสมควร แต่เน้นทีค ่ วามผิดเกีย่ วกับทรัพย์ครับ
ข้อ 7 "ภาษี " จะออกสลับปี กันครับ ระหว่างภาษี บค
ุ คลธรรมดา และนิตบ
ิ ค
ุ คล
แนะนาให้เข้าเรียน และ/หรือ อ่านคาบรรยาย ภาคปกติ ของ อ.ชัยสิทธิ ์ ตราชูธรรม
เน้นคาบสุดท้าย ข้อสอบของอาจารย์ม ักได้รบั เลือกเสมอ

ข้อ 8 "แรงงาน" แนะนาให้เข้าเรียน และ/หรือ อ่านคาบรรยาย ภาคปกติ ของ


อ.เกษมสันต์ วิลาวรรณ เน้นคาบสุดท้าย ข้อสอบของอาจารย์ม ักได้รบั เลือกเสมอ
แต่บางครัง้ เช่นในปี ของพี่ ก็พลิกโผครับ ยังไงก็อา่ นเผือ
่ ๆให้ครอบคลุมไว้ก็ดีครับ

ข้อ 9 "รัฐธรรมนูญ" แนะนาให้เข้าเรียน และ/หรือ อ่านคาบรรยาย ภาคปกติ ของ


อ.อธิคม อินทุภต
ู ิ ข้อสอบของท่านได้รบั การคัดเลือกเสมอ
โดยเฉพาะให้เข้าเรียนในคาบท้ายๆครับ

ข้อ 10 "ปกครอง" แนะนาให้เข้าเรียน และ/หรือ อ่านคาบรรยาย ภาคคา่ ของ อ.วรเจตน์


ภาคีรตั น์
้ มูลว่าข้อสอบของอาจารย์มกั ได้รบั เลือกซึง่ ถ้าใครเรียนทีม
มีขอ ่ หาวิทยาลัยก็จะได้เปรียบนิ
ดหน่ อยครับ เพราะท่านสอนคล้ายทีส่ อนทีม ่ หาวิทยาลัยเลยครับ
และก็เรียนคาบสุดท้ายของอาจารย์วรพจน์ดว้ ย ข้อสอบก็จะออกหลักๆ
มากกว่ารายละเอียดยิบย่อยครับ

8.3 วิแพ่ง

วิชานี้ พีเ่ ข้าเรียนโดยการฟังเทป และอ่านคาบรรยายค่อนข้างครบครับ เราจะ


Scope เรือ
่ งได้งา่ ยกว่า แพ่งและอาญามากครับ แพ่งอาญาจะกว้างมากต้องอ่านไปทุกเรื่อง
บางทีก็ออกอะไรมาก็ไม่รู ้ แต่วฯิ จะออกไม่คอ่ ยออกเรือ ่ งทีเ่ ราคาดไม่ถงึ ครับ
โดยเฉพาะวิแพ่ง ส่วนวิอาญายังมีบา้ ง ซึง่ ในภาควิฯนัน ้ จะมี วิชาสัมมนาด้วยครับ เช่น
สัมมนาวิแพ่งของท่านอาจารย์ประเสริฐ หรือ สัมมนาวิอาญาของท่านอาจารย์จลุ สิงห์
ซึง่ อาจารย์จะยกเรือ ่ งใดทีค
่ ด
ิ ว่าสาคัญจากทุกภาคมาสอนก็ได้ครับ
แต่ก็แล้วแต่ทา่ นด้วยครับ อย่างท่านอาจารย์จุลสิงห์ก็จะสอนเป็ นวิฯอาญา 1 เป็ นหลักครับ

ข้อ 1-2 “วิฯแพ่งภาค 1” จะเรือ


่ งเขตอานาจศาล ตรวจาคูค
่ วาม ร้องสอด คูค
่ วามร่วม
คาพิพากษา อะไรทานองนี้ครับ
แนะนามาก ๆ คือ ท่านอาจารย์ประเสริฐครับ ต้องเข้าเรียน
หรือเอาคาบรรยายมาอ่านให้ได้ครับ ท่านสอนดีและคาบรรยายอ่านเข้าใจง่าย ดีมากๆ
ครับ

อีกท่าน คือท่านอาจารย์ไพฤทธิค์ รับ ซึง่ ท่านก็สอนดีมาก


แต่จะค่อนข้างละเอียดและเนื้อหาเยอะมาก ยังไงก็ลองเลือกดูครับ

ข้อ 3 “วิฯแพ่งภาค 2 ส่วนแรก” ได้แก่เรือ ่ งฟ้ องซ้อน ฟ้ องซา้ แก้ไขคาฟ้ อง คาให้การ


ทิง้ ฟ้ อง และฟ้ องแย้งครับ ข้อสอบข้อนี้มเี นื้อหาน้อยครับ จะเป็ นข้อทีท่ ก
ุ คนเน้น
และเก็บคะแนนได้งา่ ยครับ เพราะเนื้อหาไม่เยอะเข้าใจง่าย เน้นฎีกาครับ

แนะนาให้เข้าเรียนของอาจารย์ทองธารครับ อาจารย์สอนดีมากๆ
ซึง่ ข้อสอบของอาจารย์ม ักจะได้รบั เลือก

ข้อ 4 เป็ นวิแพ่งภาคสอง 2 ส่วนสอง” เป็ นเรือ


่ งขาดนัดยืน
่ คาให้การ
ขาดนัดพิจารณาคดีใหม่ ขอยืน ่ คาให้การ และขอพิจารณาใหม่ครับ

แนะนามากๆให้อา่ นหนังสือสรุปของท่านครับ ข้อสอบมักออกในส่วนหลักๆ ครับ


ไม่ได้ออกรายละเอียดยิบย่อย ข้อ 5 “วิแพ่งภาค 3” ได้แก่เรือ
่ งอุทธรณ์ ฎีกา

แนะนาให้เข้าเรียนของท่านอาจารย์อรรถนิติ
โดยเฉพาะคาบสุดท้ายท่านจะสรุปให้วา่ เรือ
่ งอะไรสาคัญจุดไหน
รวมถึงสอนข้อสอบเก่าครับ

ข้อ 6 “เรือ
่ งคุม
้ ครองชั่วคราวก่อนพิพากษา”
่ หาวิทยาลัยแต่อย่างพึง่ กังวลครับ
ข้อนี้แม้วา่ จะไม่ได้เรียนทีม
เพราะส่วนใหญ่ขอ ้ สอบออกเรือ ่ งหลักๆ จริงๆ และฎีกาทีเ่ ก็งก็มไี ม่มากครับ
แล้วก็ออกมาตามทีเ่ ก็งจริงๆ

ข้อ 7 “เรือ
่ งบังคับคดี” ออกข้อสอบได้ไม่กม
ี่ าตรา เช่น 271, 287-289 ครับ
ซึง่ ข้อสอบก็มกั จะออกตัวบทครับ
ข้อ 8 “เรือ
่ งล้มละลาย”

แนะนาให้เรียนของอาจารย์ชีพ โดยเน้นคาบสุดท้าย
โดยเฉพาะช่วงประมาณครึง่ ชั่วโมงสุดท้ายทีท
่ า่ นจะทวนเนื้อหาให้

ข้อ 9 “เรือ
่ งฟื้ นฟูกจิ การ”

ให้เรียนของท่านอาจารย์เอือ
้ น ขุนแก้วครับ โดยเฉพาะประมาณ 2 คาบสุดท้าย
เรียนให้เข้าใจครับ ข้อสอบของท่านอาจารย์มกั ได้รบั เลือกเกือบทุกปี

ข้อ 10 “เรือ
่ งพระธรรมนูญศาล” จะเป็ นข้อสอบทีม่ ต
ี วั บทไม่มากครับ
และไม่ยากเกินไปครับ ก็ควรเน้นให้ดค ี รับ แนะนาให้เรียนของท่านอาจารย์อนันต์ครับ
ท่านสอนสัปดาห์ละชั่วโมงเท่านัน
้ ไม่มากจนเกินไปครับ และเน้นการทาข้อสอบเก่าครับ

8.4 วิฯอาญา

วิฯอาญานัน ้ ส่วนใหญ่ขอ ้ สอบจะเน้นทีต ่ วั บทมากกว่าฎีกา เคยออกเป็ นบรรยายก็มี


เพราะเป็ นข้อสอบทีพ ่ นักงานอัยการ มีบทบาทมากกว่าผูพ ้ พ
ิ ากษาในการออก
จึงต่างกับวิชาอืน ่ ๆ และบางครัง้ ก็พลิกโผออกอะไรแปลกๆมา
ทัง้ นี้รส
ู้ ก
ึ ว่าจะเป็ นขาทีม
่ คี นผ่านมากทีส่ ดุ ครับ เพราะเนื้อหาน้อยทีส่ ด
ุ ครับ อย่างภาค 1-2
ออกตัง้ 3 ข้อ จะต่างจากแพ่ง ทีข ้ ละวิชา หรือบางครัง้ หลายวิชาต่อหนึ่งข้อ
่ อ
ทาให้เนื้อหาเยอะมาก แต่ทจี่ ะทาให้ยาก เพราะตัวบทแต่ละมาตราจะยาวมาก
จาเหนื่อยเลยครับ

ข้อ 1-3 “วิฯอาญาภาค 1-2”

ภาค 1 จะเป็ นเรือ


่ งพวก ผูเ้ สียหาย ร้องทุกข์ คดีอาญาระงับ คดีแพ่งเกีย่ วเนื่องอาญา
เขตอานาจสอบสวน เขตอานาจศาล อะไรพวกนี้ครับ มักจะออกเป็ นข้อ 1-2 ครับ

แนะนาให้เอาความรูท้ ม
ี่ หาลัยมาอ่านก่อนครับ เพราะจะคล้ายกันครับ
อย่างเช่นของท่านอาจารย์ปกป้ องครับ ท่านสอนไว้ดีมาก ส่วนทีเ่ นติขอแนะนาให้อา่ น
หรือเรียนของท่านอาจารย์จุลสิงห์ครับ (แนะนาให้อา่ คาบรรยายมากกว่าเข้าเรียนครับ
คาบรรยายท่านจะเรียงไว้ดีมากครับ)
ภาค 3 จะเป็ นเรือ
่ งของพนักงานสอบสวน และพนักงานอัยการครับ เช่น พวกคาร้องทุกข์
การสอบสวนเด็กการสั่งฟ้ องของอัยการ การชันสูตรพลิกศพ ฯลฯ

แนะนาให้อา่ นตัวบทให้เข้าใจ ข้อสอบมักจะออกตัวบทตรงๆ


ซึง่ ถ้าจะเรียนก็คงเป็ นท่านอาจารย์ชยั เกษม

ข้อ 4 “วิอาญาภาค 3” จะเป็ นพวกเรือ


่ งการบรรยายคาฟ้ อง การแก้ไขคาฟ้ อง คาให้การ
ขาดนัด การพิจารณาต่อหน้า การไต่สวนมูลฟ้ อง การพิจารณาได้ความต่างจากทีฟ ่ ้ อง
เป็ นต้น

แนะนาให้เรียนของท่านอาจารย์ธานิศครับ ท่านมักจะได้รบั เลือกข้อสอบค่อนข้างบ่อย


โดยเฉพาะฎีกาทีท
่ า่ นเน้นให้ครับ สาคัญ

และเรียนของท่านอาจารย์ธานีครับ รวมกันสองท่านจะครบถ้วน
ทาข้อสอบได้ครอบคลุมแน่ นอนครับ

ข้อ 5 “วิอาญาภาค 4”ครับ ได้แก่ ข้อจากัดสิทธิในการอุทธรณ์ ฎีกา

แนะนาให้เรียนของท่านอาจารย์ธานีและท่านอาจารย์ธานิศครับ
โดยเฉพาะท่านอาจารย์ธานี สรุปคือ ข้อ 4-5 ก็เรียนของท่านอาจารย์ธานี
และธานิศก็ครอบคลุมครับ

ข้อ 6 “เรือ
่ งสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุตธิ รรม” ช่วงหลังๆ
มานี้จะออกแต่เรือ ่ งการจับการค้น ก็เป็ นข้อทีส่ ามารถเก็บคะแนนได้ เพราะเรือ
่ งน้อย
scope ได้

แนะนาให้อา่ นของท่านอาจารย์ปกป้ องมาก่อน และเรียนกับท่านอาจารย์สบโชค


ข้อสอบของท่านมักจะได้รบั เลือก
หรือจะอ่านหนังสือของท่านอาจารย์เกียรติขจรในส่วนการจับ ค้นก็ได้

ข้อ 7 “พยานแพ่ง” มักเป็ นเรือ


่ งมาตรา 94, 84 84/1 93 123 125 88 90
แนะนาให้เรียนของท่านอาจารย์จรัญครับ ท่านมักจะเป็ นผูอ
้ อกในข้อนี้เสมอ
และจะออกในสิง่ ทีส่ อนครับ และท่านสอบค่อนข้างครอบคลุมมากครับ

ข้อ 8 “พยานอาญา” มักจะออกบทตัดพยานเสมอ

ไม่คอ่ ยมีขอ
้ มูลครับ พีอ
่ า่ นชีทท่านอาจารย์จุณวิทย์ ตอนเรียนทีม
่ หาวิทยาลัย
และอ่านคาบรรยายของท่านอาจารย์จรัญครับ

ข้อ 9 “การจัดทาเอกสารทางกฎหมาย”

ก็ไม่ตอ
้ งคิดมากครับ ข้อนี้ จะป็ นพวกการเขียนจดหมายเชิญประชุมผูถ ้ อ
ื หุน

หรือร่างสัญญาครับ ซึง่ ถ้าเป็ นการร่างสัญญาก็ให้จาแบบฟอร์มไว้ครับ
แล้วก็เขียนๆไปให้ดูเป็ นเรือ
่ งเป็ นราวครับ

ข้อ 10 “ว่าความและถามพยาน

ก็ให้จาแบบฟอร์มคาฟ้ อง คาร้องต่างๆ ครับ


แล้วก็ดตู วั บทตามทีอ่ าจารย์เน้นให้คาบสุดท้ายครับ
เพือ
่ จะได้จาเงือ ่ นไขในการเขียนคาร้องครับ
แต่ก็ไม่ตอ ้ งเครียดมากเพราะถึงเวลาโจทย์ก็จะบอกมาพอสมควรอยูแ
่ ล้วครับ
ถ้าจาไม่ได้จริง ๆ ก็เอาเฉพาะสิง่ ทีโ่ จทย์ให้มานั่นแหละครับ

9. อ่านหนังสือไม่ทน
ั ทาอย่างไร

ก็อย่าคิดมากครับ คือ การเรียนเนติเนื้อหาค่อนข้างเยอะจริง ๆครับ


แต่ก็อย่าทิง้ เพราะถ้าทิง้ ไปเลยมันจะทาให้ไม่ได้คะแนนเลย พยายามจาตัวบทในข้อนัน ้ ไป
แล้วไปพยายามในห้องสอบเอาครับยังอาจได้ 1-2 คะแนน ซึง่ รวมกันอาจจะได้ 50
พอดีก็มม ี าแล้วหลายราย เป็ นเรือ ่ งจริง พยายามคิดก่อนตอบว่าตอบอย่างไรสมเหตุสมผล
และเป็ นธรรม ถ้าไม่รจู ้ ะเลือกธงไหนจริง ๆ ก็ให้เลือกอันทีเ่ ป็ นข้อยกเว้นมากกว่าหลัก
เนติชอบออกข้อยกเว้นมากกว่าหลักครับ
10. การทาข้อสอบ

ให้ทาตามระเบียบด้วย เขียนเลขข้อให้ถก ้ หน้าใหม่ให้ถก


ู ขึน ู เขียนด้วยปากกาสีน้าเงิน
ห้ามเขียนชือ่ เด็ดขาด (อย่างข้อการจัดทาเอกสาร ก็เขียนชือ
่ ตัวละครในโจทย์
อย่าเขียนชือ
่ ตนเอง) ห้ามทาสัญลักษณ์ ใดๆ ไม่งน้ ั จะโดนตัดคะแนนโดยใช่เหตุครับ

11. วิธีการจด lecture

เนติไม่ตอ
้ งเน้นทีท ่ ฤษฏีมากครับ เน้นทีต
่ วั บทและฎีกา
การจดก็จดข้อสังเกตลงในประมวลเลยครับ
แล้วก็จดฎีกาทีอ ่ าจารย์สอนย่อไว้ให้เราเข้าใจครับ
แล้วสุดท้ายก็อา่ นเฉพาะตัวบทและฎีกาทีจ่ ดไว้เท่านัน้

ภาค 3: ปริมาณการเรียนกับแผนชีวต

ต้องเริม ่ อย่างนี้กอ
่ นครับว่า เนติไม่ใช่ทก ุ อย่างของการเรียนกฎหมาย
เส้นทางสายอาชีพนัน ้ มีมากมายหลายเส้นทางมาก การเรียนเนติ และเป็ นผูพ ้ พ
ิ ากษา
อัยการ ก็เป็ นเพียงเส้นทางหนึ่งทีเ่ ป็ นทีน ่ ิยมกันมากเท่านัน ้ แต่ก็ยงั มีเส้นทางอืน
่ ๆ เช่น
การเป็ นอาจารย์มหาวิทยาลัย การทาบริษท ั เอกชนทัง้ In House และ Law firm
ซึง่ ถ้าในแง่ของข้อเท็จจริงแล้ว อาชีพอืน ่ ๆ ทีไ่ ม่ใช่ผพ
ู้ พ
ิ ากษา และอัยการ
(อาจรวมถึงทนายความด้วย)
ไม่มค ี วามจาเป็ นทีจ่ ะต้องใช้วุฒเิ นติในการประกอบวิชาชีพครับ
จะมีผลก็แค่เล็กน้อยเท่านัน ้ เช่น
อย่างอาจารย์การจะขอเป็ นผูช ้ ว่ ยศาสตราจารย์ตามระเบียบ (ไม่แน่ ใจอัพเดท
รึเปล่านะครับ) ถ้าวุฒป ิ ริญญาตรีตอ ้ งสอนมากแล้ว 9 ปี แต่ถา้ มีเนติจะเหลือ 5 ปี ครับ หรือ
Law firm ถ้ามีเนติ มีต๋ว ั ทนายจะได้เงินเดือนเพิม ่ แต่ก็ไม่ใช่ความจาเป็ นหลักในวิชาชีพครับ
และผูท ้ ปี่ ระสบความสาเร็จในวิชาชีพกฎหมายมากมายก็ไม่ได้จบเนติ นั่นหมายความว่า
ความจริง คนทีไ่ ม่ได้จะเป็ นผูพ ้ พิ ากษา อัยการ จะไม่เรียนเนติก็ได้ครับ
แต่ในสภาพปัจจุบ ันนี้จะมีเหตุผลที่
บัณทิตนิตศ
ิ าสตร์ทจี่ บใหม่เกือบทุกสถาบันไม่วา่ จะประกอบอาชีพอะไร
ก็จะนิยมมาเรียนเนติกน ั เพราะ

1.เผือ
่ เปลืย่ นอาชีพในอนาคต ก็คงต้องยอมรับกันว่าอาชีพผูพ ้ พ
ิ ากษาเป็ นอาชีพทีม ่ ่น
ั คง
มีรายได้มากพอสมควรเลยทีเดียว และมีเกียรติในสังคมมาก ในขณะทีถ ่ า้ เป็ น Law Firm
จะมีรายได้มากกว่าจริง แต่ความมั่นคงจะน้อยกว่า
ดังนัน
้ บางคนจึงเรียนเนติไว้เผือ ่ ว่าวันหนึ่งจะสอบท่าน หรือ อัยการ และมีวุฒโิ ทแล้ว
ก็จะได้สบายขึน ้ ไม่ตอ
้ งสอบทัง้ เนติ ทัง้ ท่าน

2.ค่านิยมในสังคมปัจจุบน ั นิตศ
ิ าสตรบัณทิตทีอ่ ยากเป็ นผูพ
้ พ
ิ ากษามีคอ่ นข้างมาก
จึงมาเรียนเนติกน ั มาก แทบจะเรียกได้วา่ ทุกคนในคณะ มาเรียนเนติกน ั ทุกคน
บางครัง้ จึงมีการเอาเนติมาเป็ นเครือ ่ งวัดความสามารถกันในทางทีไ่ ม่คอ่ ยถูกต้องนัก
อาจมีการโจมตีกน ้
ั เพราะเหตุทไี่ ม่มวี ุฒเิ นติเกิดขึน
(ซึง่ โดยส่วนตัวผูเ้ ขียนไม่ชอบวิธีคด ิ ในลักษณะนี้)

3.โดยข้อเท็จจริงแล้ว การเรียนเนติก็มป ี ระโยชน์ ตอ


่ ทุกวิชาชีพกฎหมายจริง
แม้วา่ จะไม่ได้เป็ นผูพ
้ พ
ิ ากษา อัยการ เช่น
เป็ นทนายความก็ได้ศก ึ ษาแนวคาพิพากษาศาลฎีกาอย่างละเอียด เป็ นนิตก
ิ รหรือ Law firm
ก็ได้คนุ้ เคยกับการอ่านคาพิพากษาฎีกา เป็ นอาจารย์ก็ได้ทราบแนวคิดการตัดสินของศาล
เพราะแม้ประเทศไทยจะใช้ระบบ Civil Law ก็จริง
แต่คาพิพากษาของศาลก็ใช้เป็ นตัวอย่างและแนวทางในการปรับบทกฎหมายกับข้อเท็จจริ
งได้ การเรียนเนติจงึ เรียกได้วา่ มีประโยชน์ไม่มากก็น้อยต่อนักกฎหมายในทุกวิชาชีพ

ดังนัน
้ จึงสรุปเบือ้ งต้นได้วา่ เรามีวฒ ุ เิ นติบณ
ั ทิตไทยไว้ก็เป็ นประโยชน์ ครับ
แต่ตรงทีว่ า่ มีไว้นี้ จะใช้เวลากีป
่ ี ในการเก็บวุฒเิ นติทวี่ า่ นี้มานัน
้ จะต้องเลือกกันต่อไป
กล่าวคือ เนติไม่จาต้องเก็บให้ครบ 4 ขาในปี เดียวครับ สามารถสะสมได้ เช่น
ปี แรกผ่านไปแล้ว 2 ขา ปี ทีส่ องผ่านอีก 2 ขาก็จบได้ครับ
ดังนัน้ การเรียนเนติไม่จาเป็ นต้องไม่ทาอะไรเลยแล้วเรียนอย่างเดียว
เหมือนกับทีเ่ รียนทีม ่ หาวิทยาลัยครับ อาจจะเรียนไปด้วยทางานไปด้วยก็ได้ จบสองปี
สามปี ก็ไม่เป็ นไรเป็ นต้น

นอกจากนี้การทีจ่ ะสอบผูพ ้ พ
ิ ากษานัน้ จะสอบได้ก็อายุ 25 แต่ตอนเราจบมาก็อายุ 23
ก็ยงั มีเวลาอยูถ
่ งึ สอบเสร็จในปี เดียว ก็ยงั สอบท่าน (สนามใหญ่) ไม่ได้อยูด่ ี
นอกจากนี้ยงั มีปจั จัยอืน
่ อีก เช่น จะสอบผูพ ้ พ
ิ ากษาสนามเล็ก ก็ตอ
้ งจบโท
งัน
้ ก็เรียนโทไปด้วย เรียนเนติไปด้วย ใช้เวลา 2-3 ปี จบทัง้ เนติทง้ ั โทก็ได้
ก็เป็ นตัวเลือกหนึ่ง

แต่ทง้ ั นี้ทง้ ั นัน ้ ไม่ได้สนับสนุนให้เรียนเนติหลายปี


มันขึน ้ อยูก ่ บั การวางแผนชีวต ิ การเรียนเนติ ซึง่ น้องๆจะต้องคิดเองวางแผนเอง
พวกรุน ่ พีห ่ รือผูม
้ ป
ี ระสบการณ์ ก็ทาได้แค่บอกแนวโน้มและข้อเท็จจริงบางอย่างให้เท่านัน ้
และยังต้องบอกก่อนว่ามันก็ไม่แน่ ไม่นอนเหมือนกันครับกับผลเนติ กล่าวคือ
บางครัง้ ตัง้ ใจมากๆ ก็ตก แต่บางครัง้ ไม่ตง้ ั ใจเลยกลับผ่าน ทัง้ นี้มน ั มีหลายปัจจัยครับ
เพราะ การสอบเนตินน ้ ั จานวนผูเ้ ข้าสอบจะเยอะมาก มีสนามสอบถึงสีส่ นาม
ผูต
้ รวจข้อสอบก็ไม่ใช่ทา่ นเดียวครับ ถึงแม้จะมีการวางหลักเกณท์การตรวจอย่างดีแล้ว
ก็ตอ้ งมีความแตกต่างกันบ้างในผูต ้ รวจแต่ละท่านตามหลักการใช้ดุลพินิจทั่วไปครับ
และบางปี ข้อสอบก็จะง่ายกว่าปี อืน ่ ๆโดยเฉลีย่ บางปี ก็จะยากกว่าปี อืน ่ ๆโดยเฉลีย่ ครับ
เพราะการออกข้อสอบก็ไม่ได้มผ ี ูอ
้ อกแค่ผูส
้ อนท่านเดียวเหมือนกันทุกปี อย่างในมหาวิทย
าลัย (หลักเกณท์การออกโปรดอ่านในส่วนบทที่ 1 ครับ) ตัวอย่างเช่น รุน ่ ที่ 62
ภาคหนึ่งมีจานวนผูส ้ อบวิชาแพ่งได้มากทีส่ ด ุ ในประวัตศิ าสตร์เนติ คือ 3000 กว่าคนเลย
คิดเป็ นเปอร์เซ็นต์แล้ว นับว่าสูงมากๆ แต่พอปี 63 ภาคแพ่งกลับมีคนสอบได้แค่ 5 %
ของทัง้ หมด (แค่ประมาณ 700 คน) ซึง่ นับว่าน้อยทีส่ ด ุ ตัง้ แต่ตง้ ั เนติบ ัณทิตยสภามาครับ
ดังนัน้ จึงเป็ นการตัดสินใจทีค ่ อ่ นข้างยากครับ

ทัง้ นี้พจี่ ะแบ่งหัวข้อเส้นทางทีเ่ ลือกใหญ่ ๆออกเป็ นดังต่อไปนี้ครับ

1.เรียนเนติอย่างเดียวให้จบภายในปี เดียว

เหมาะสาหรับคนทีอ่ ยากจะมุง่ ไปทางผูพ ้ พ


ิ ากษา อัยการครับ
เพราะจะมีเวลาไปเรียนได้มากครับ ทาให้พน ื้ ฐานแน่ น เมือ่ ไปสอบท่าน
หรืออัยการต่อไปก็จะมีโอกาสทาได้ดค ี รับ
และเหมาะอย่างยิง่ กับคนทีต ่ อ้ งการได้อ ันดับทีห ่ นึ่ง หรืออันดับสูงๆ
เพือ ่ เป็ นเกียรติแก่มหาวิทยาลัย และแก่ตนเองครับ
และยังได้สท ิ ธิการสอบท่านสนามเล็กโดยใช้วุฒต ิ รีดว้ ยครับ (ไม่แน่ ใจในข้อมูลนะครับ
แต่เคยได้ยน ิ จากท่านผูพ้ พิ ากษาท่านหนึ่ง ลองเช็คดูนะครับ )
สามารถนาไปใช้เขียนต่อท้ายวุฒไิ ด้ตลอดชีวต ิ เลยครับ
คล้ายๆการสอบได้ทห ี่ นึ่งเอนทรานซ์เลยครับ แต่ก็ตอ ้ งแน่ จริง ๆนะครับ เพราะ
คนสอบปี ละประมาณ 20000 กว่า จะได้ทห ี่ นึ่งต้องได้คะแนนสูงสุดในทุกขารวมกัน
ซึง่ เฉลีย่ ก็จะต้องได้ 300 ขึน ้ ไปอะครับ ตัวละประมาณ 75 ก็หนักเอาเรือ่ งนะครับ
เท่ากับจะต้องถูกทุกข้อ หรือผิดแค่ขาละข้อเท่านัน ้ นอกจากนัน ้ ยังมีสด
ุ ยอดกว่า
คือการได้เกียรตินิยมเนติครับ คือจะต้องได้ 80 ขึน ้ ไปทุกขาครับ ซึง่ ยากมาก
ทีผ่ า่ นมาทัง้ หมดมีแค่ 2 คนเท่านัน ้ ครับ
ี่ นึ่งก็ไม่ใช่วา่ จะต้องเป็ นคนทีเ่ รียนเนติอย่างเดียวทัง้ ปี เสมอไปครับ
แต่ทง้ ั นี้คนทีไ่ ด้ทห
อย่างเช่น ทีห ่ นึ่งเนติสมัยที่ 62 ก็เรียนโทไปด้วย
นับว่าเป็ นผูม้ ค ี วามสามารถมากทีเดียวครับ

แต่ขอ ้ เสียของการเรียนเนติอย่างเดียวทัง้ ปี คือ ถ้าไม่จบก็จะเสียดายเวลาครับ เช่น ถ้าผ่าน


2 ขา ต้องใช้อก ี ปี จึงผ่านอีก 2 ขา รวมเป็ นสองปี สมมุตวิ า่ คนนี้ในปี ทีส่ อง
ก็เริม
่ เรียนโทไปด้วย เรียนโท 2 ปี สรุปก็จะใช้เวลาทัง้ โททัง้ เนติรวมสามปี
แต่อก ี คนเรียนทัง้ โททัง้ เนติไปด้วยตัง้ แต่แรก รวมใช้เวลาแค่สองปี เป็ นต้นครับ
นอกจากนัน ้ การทุม่ เวลาเรียนเนติอย่างเดียวทัง้ ปี แล้วเกิดตกหมดขึน ้ มา
หรือผ่านน้อยขึน ้ มา ก็จะทาให้เกิดความเครียดอย่างมาก
เหมือนหนึ่งปี ผ่านไปไม่ได้อะไรเลย

แต่จริงๆขออนุญาตให้กาลังใจคนทีต ่ ก โดยมีตวั อย่างทีเ่ กิดขึน้ จริงของรุน


่ พีน
่ ิติ มธ.
ท่านหนึ่งครับ คือ ท่านเป็ นคนเรียนไม่เก่งตัง้ แต่ทม ี่ หาวิทยาลัยแล้วครับ
พอไปสอบเนติก็ไม่ผา่ นซักที แต่ก็ไม่ทอ้ สอบต่อไปจนเพือ ่ นๆผ่านหมดแล้วแต่คนนี้ยงั
ปรากฎว่าพึง่ ไม่นานมานี้ พีค ่ นนี้สอบเนติผา่ นและสอบท่านผ่านติดต่อกันเลยครับ
ทัง้ นี้อาจจะเป็ นเพราะเรียนเนติหลายครัง้ มาก จนยา้ ความรูจ้ นแม่นขึน ้ ใจครับ
จึงสอนให้รวู ้ า่ ความพยายามอยูท่ ไี่ หน ความสาเร็จอยูท ่ น
ี่ ่ น
ั ครับ
ถ้าจะทาแล้วเลือกแล้วก็อย่าท้อครับ

ทัง้ นี้ใครเลือกเรียนเนติอย่างเดียว
และวางแผนว่าเรียนเนติเสร็จจะเรียนโทต่อก็อย่าลืมเตรียมการสมัครโทปี ต่อไปไว้ดว้ ยนะ
ครับ เพราะเวลาการสอบเข้าโท จะใกล้เวลาการสอบเนติครับ
ซึง่ ก็จะต้องแบ่งเวลาให้ดีครับ รวมถึงคิดไว้ลว่ งหน้าครับว่าจะเอายังไง
เพราะไม่งน ้ ั ถึงสอบเนติเสร็จแต่ไม่ได้สมัครโทไป ก็ตอ ้ งอยูว่ า่ งๆไปหนึ่งปี ครับ
ไม่มป ี ระโยชน์ เลย หรือถ้าจะไปเรียนโทนอกก็เตรียมเรียนภาษาไว้
วางแผนไว้กอ ่ นก็ดค
ี รับ ทัง้ นี้ในการสอบเข้าเรียนโทกับสอบเนติทใี่ กล้ ๆกันนะครับ 2.
สาหรับคนทีจ่ ะเรียนโทไปด้วย เรียนเนติไปด้วย

ก็มขี อ
้ ดีครับ คือ ถึงตกเนติบา้ งก็ไม่ถงึ กับไม่ได้ทาอะไรเลยครับ อย่างน้อยก็มเี รียนโทอยู่
เรียกได้วา่ ก็กาลังก้าวไปเรือ
่ ยๆครับ แต่ก็มข ี อ้ เสียคือ มันจะค่อนข้างหนักครับ
และอาจเป็ นการจับปลาสองมือ สุดท้ายอาจจะทาได้ไม่ดีทง้ ั สองอย่าง
จึงต้องประเมินตนเองครับว่าจะไหวไหม เพราะเรียนโทก็ตอ ้ งไปเรียนตอนเย็น
แล้วตอนกลางวันก็ไปเรียนเนติ เนติกบั โทที่ มธ หรือ จุฬา ก็คอ่ นข้างไกลและรถติด
และช่วงทีส่ อบโทกับสอบเนติจะไม่หา่ งกันมากครับ ก็ตอ ้ งแบ่งเวลาอ่านหนังสือดีๆครับ
แต่ก็มท
ี หี่ นึ่งเนติทท
ี่ าแบบนี้มาแล้วมากกว่าหนึ่งคนครับ
และก็มค ี นทีท ่ าแบบนี้แล้วผ่านหมดอยูเ่ ช่นกันครับ

3. สาหรับคนทีท
่ างานไปด้วย เรียนเนติไปด้วย

3.1 ถ้าไม่ได้จะเป็ นผูพ ้ พิ ากษา อัยการอยูแ ่ ล้ว ก็เป็ นสิง่ ทีด


่ ค
ี รับ เน้นงานเป็ นหลัก
แต่ก็อย่าทิง้ เนติ พยายามหาเวลาว่างอ่านอยูเ่ สมอครับ ได้เนติเมือ่ ไรก็ได้ไม่ตอ ้ งเครียด
แต่ก็ไม่ใช่วา่ ขี้เกียจจนสุดท้ายก็ลืม ๆมันไปนะครับ
เพราะการได้วฒ ุ เิ นติก็มปี ระโยชน์ ครับ อย่างทีก ่ ล่าวไปแล้วข้างต้น
และยิง่ นานวันเราจะยิง่ ลืมวิชาความรูพ ้ น
ื้ ฐานทีเ่ ราเรียนในมหาวิทยาลัยครับ

3.2 ถ้าจะมุง่ เป็ นผูพ


้ พ
ิ ากษา อัยการ พีเ่ ห็นว่า
การทางานไปด้วยก็ควรเป็ นงานทีไ่ ม่หนักจนเกินไปครับ อาทิ สานักงานทนายเล็ก ๆ หรือ
นิตก
ิ รศาลหรือหน่ วยงานราชการหรืออาจารย์ เพราะ งานจะไม่หนักมาก
เรามีเวลาอ่านเนติ และยังสามารถเก็บเวลาใช้เป็ นคุณสมบัตส ิ อบผูพ
้ พ
ิ ากษาได้ดว้ ยครับ
อาจจะค่อยๆสอบไปทีละขาก็ได้ครับ
ตอนนี้เพือ
่ นทีท่ าวิธีนี้อยูก
่ ็ยงั เห็นผ่านอย่างต่อเนื่องครับ

แต่ถา้ ทา Law Firm หรือเอกชนเลย หนักแน่ ครับ เป็ นตัวเลือกทีเ่ หนื่อยหน่ อยนะครับ
ถ้าจะเป็ นผูพ
้ พ
ิ ากษาทีต่ อ้ งใช้เนติ และต้องทางานไปด้วย

4. สาหรับคนทีจ่ ะทัง้ ทางานและเรียนโท และเรียนเนติ

ต้องขอบอกว่าไม่แนะนาครับ ถึงจะเห็นคนทาได้แล้วจริงๆ แต่ประการแรก ปี นัน ้ เป็ นปี


62 ครับ ซึง่ อัตราคนผ่านเยอะมาก ประการทีส่ อง
พีค
่ นนัน
้ ก็บอกเองครับว่าสุขภาพย่าแย่มาก ๆ เค้าเองยังบอกเลยว่าไม่ควรทา ไม่คมุ้
แต่ก็แล้วแต่นะครับ บางท่านอาจจะมีความสามารถมากก็ได้

5. ยังไม่เรียนเนติทน
ั ที ไปเรียนเมืองนอกก่อนเลย

มีเหตุผล คือ ไปเรียนเมืองนอกเอาโทสองใบให้เสร็จ (เพือ ่ การสอบสนามเล็ก)


ไปเลย แล้วค่อยมาเรียนเนติตอ ่ ด้วยการสอบท่านทีเดียวเลย
เพราะองค์ความรูท ้ ใี่ ช้ในการเรียนเนติและสอบท่าน เพราะความรูช ้ ุดเดียวกันครับ
ก็จะอ่านทีเดียว ไม่ตอ ้ งอ่านเนติ แล้วพอสอบท่านก็ลืมต้องมาอ่านใหม่
แต่ขอ ้ เสียก็คอ
ื ในปี แรกเราจะเห็นเพือ่ นๆ เรียนเนติและได้เนติกน ั บางคน
เราจะรูส้ ก
ึ แปลก ๆ
หรือไม่ทม ี่ เี ราอยูค ่ นเดียวทีจ่ ะสอบท่านแต่ไม่เรียนเนติอาจทาให้ทอ้ ได้วา่ ทีเ่ ราเลือกนัน
้ ถูก
หรือไม่ และการทีเ่ ราไปเรียนเมืองนอกก็จะทาให้ลืมกฎหมายไทย
พอมารื้อใหม่ก็อาจจะต้องใช้เวลานาน อาจจะทาให้ลาบากมากขึน ้ ครับ

6. จะไม่เรียนเนติเลยได้ไหม

อย่างทีก ่ ล่าวไปแล้วครับถึงประโยชน์ของการเรียนเนติ แต่ถา้ จะไม่เรียนเลยก็ได้ครับ


ถ้าไม่ได้มงุ่ มาสายนี้จริง ๆ เช่นมุง่ ไปทางมหาชน (อาจารย์, ตุลาการศาลปกครอง)
หรือมุง่ ไปทางธุรกิจ หรือระหว่างประเทศ ก็ตอ ้ งแล้วแต่วจิ ารณญาณของแต่ละท่านครับ

สุดท้ายก็ตอ ้ งบอกว่าทุกทางเลือกมีสงิ่ เหมือนกัน คือ ต้องตัง้ ใจครับ คนทีต


่ ง้ ั ใจแล้วยังตก
มีน้อยกว่าคนทีไ่ ม่ตง้ ั ใจแล้วฟลุค
๊ ผ่านคน
ยังไงก็ตอ้ งลองประมาณความสามารถและความถนัดของแต่ละคนด้วยครับ
เช่นบางคนไม่ชอบทาอะไรหลายๆอย่าง พร้อมๆกันครับ
ไม่มที างเลือกทีด่ ีทส
ี่ ด
ุ สาหรับทุกคนครับ ทางเลือกทีด่ ีทส
ี่ ด
ุ ของคุณ คุณต้องเลือกเองครับ

และต้องกล่าวอีกครัง้ ว่าเอกสารนี้เป็ นแค่ความเห็นเท่านัน ้ อย่าเชือ


่ ทัง้ หมดครับ
ต้องลองพิสจู น์ เอาเองครับ และเอกสารนี้เป็ นแค่ขอ ้ มูลเบือ้ งต้นและความเห็นเท่านัน
้ ครับ
ผูเ้ ขียนไม่ได้มเี จตนาในการใส่ความผูอ ้ นื่ ต่อบุคคลทีส่ าม หรือสถาบันใด ๆ
โดยประการทีน ่ ่ าจะทาให้ผูอ
้ น
ื่ นัน
้ เสียชือ่ เสียง ถูกดูหมิน ่ หรือถูกเกลียดชังแต่อย่างไร
นอกจากนี้ยงั เป็ นการกล่าวตามวิส ัยทีป ่ ระชาชนทั่วไปย่อมกระทาได้

ผูเ้ ขียนของสงวนสิทธิในการนาเอกสารชุดนี้ออกเผยแพร่โดยไม่ได้รบั อนุญาต


และสงวนสิทธิในการแก้ไขข้อความใด ๆในเอกสารนี้กอ ่ นได้รบั อนุญาตครับ
ขอบคุณครับ และหากมีขอ ้ ผิดพลาดใดๆก็ตอ้ งขออภัยมา ณ ทีนี้ดว้ ยครับ
และจะยินดีอย่างยิง่ ทีจ่ ะได้รบั คาแนะนาจากทุกท่านต่อไป

สุดท้ายนี้ ขอให้ทก
ุ ท่านโชดดีในการสอบ เป็ นเนติบณ
ั ทิตไทยได้สมดังทีต
่ ง้ ั ใจครับ
วรพล มาลสุขุม นิติ มธ. รุน
่ 49 (v.malsukhum@gmail.com)

You might also like