You are on page 1of 15

1

สรุป ตัวบทกฎหมายแพ่ง 1 (หน่ วยเน้ น)สาหรับท่ อง

บุคคล ความสามารถของบุคคล

มาตรา 15 วางหลักไว้ว่า : สภาพบุคคลย่ อมเริ่ มแต่ เมื่อคลอด แล้ วอยู่รอดเป็ นทารกและ


สภาพบุคคล สิน้ สุดลงเมื่อตาย
ทารกในครรภ์ มารดาก็สามารถมีสิทธิต่างๆได้ หากว่ าภายหลังคลอด
แล้ วอยู่รอดเป็ นทารก
มาตรา 19 วางหลักไว้ว่า : บุคคลย่อมพ้ นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุ 20 ปี
บุคคลบรรลุนิติ บริบรู ณ์
ภาวะเมื่อมีอายุ 20
ปี บริบรู ณ์
มาตรา 20 วางหลักไว้ว่า : ผู้เยาว์ย่อมบรรลุนิติภาวะเมื่อทาการสมรส ( สมรสได้ มีอายุเกิน 17
ผู้เยาว์บรรลุนิติ ปี บริบรู ณ์)
ภาวะเมื่อสมรส
มาตรา 21 วางหลักไว้ว่า : ผู้เยาว์จะทานิติกรรมใดๆ ต้ องได้ รับความยินยอมของผู้แทนโดย
ผู้เยาว์ทานิตกิ รรม ชอบธรรมก่อน การใดๆที่ผ้ เู ยาว์ทาลงปราศจากความยินยอมเช่นว่านันเป็
้ น โมฆียะ
ต้ องได้ รับความ
ยินยอมของผู้แทน
เว้ นแต่จะบัญญัติไว้ เป็ นอย่างอื่น
โดยชอบธรรม
มาตรา 22 วางหลักไว้ว่า : ผู้เยาว์อาจทาการใดๆได้ ทงสิ
ั ้ ้น หากเป็ นเพียงเพื่อได้ ไปซึง่ สิทธิอนั ใด
ผู้เยาว์มีสทิ ธิหลุด อันหนึ่งหรื อเป็ นการหลุดพ้ นจากหน้ าที่
พ้ นจากหน้ าที่
มาตรา 23 วางหลักไว้ว่า : ผู้เยาว์อาจทาการใดๆ ได้ ทงสิ
ั ้ ้น ซึง่ เป็ นการต้ องทาเองเฉพาะตัว
ผู้เยาว์ ต้ องทาเอง (เช่นจดทะเบียนรับรองบุตร )
เฉพาะตัว
มาตรา 24 วางหลักไว้ว่า : ผู้เยาว์อาจทาการใดๆ ได้ ทงสิ
ั ้ ้น ซึง่ เป็ นการสมแก่ฐานานุรูปแห่งตน
ผู้เยาว์ กระทา และเป็ นการอันจาเป็ นในการดารงชีพ (ทาบุญไม่ได้ , ซื ้อจักรยานมือสองได้ )
จาเป็ นในการดารง
ชีพ
มาตรา 25 วางหลักไว้ว่า : ผู้เยาว์ทาพินยั กรรมได้ เมื่อมีอายุ 15 ปี บริบรู ณ์ (ถ้ าต่ากว่านี ้ทา
ผู้เยาว์ทา พินยั กรรมเป็ นโมฆะ)
พินยั กรรมได้ เมื่อมี
อายุ 15 ปี บริบรู ณ์
2

มาตรา 26 วางหลักไว้ว่า : ถ้ าผู้แทนโดยชอบธรรมอนุญาตให้ ผ้ เู ยาว์จาหน่ายทรัพย์สนิ เพื่อการ


ผู้แทนโดยชอบ อันใดอันหนึ่งอันได้ ระบุไว้ ผู้เยาว์จะจาหน่ายทรัพย์สนิ นันเป็ ้ นประการใดภายใน
ธรรมอนุญาตให้
ผู้เยาว์จาหน่าย
ขอบของการที่ระบุไว้ นนก็ ั ้ ทาได้ ตามใจสมัคร อนึ่งถ้ าได้ รับอนุญาตให้ จาหน่าย
ทรัพย์สนิ ทรัพย์สนิ โดยมิได้ ระบุวา่ เพื่อการอันใด ผู้เยาว์ก็จาหน่ายได้ ตามใจสมัคร
มาตรา 27 วางหลักไว้ว่า : ผู้แทนโดยชอบธรรมอาจให้ ความยินยอมแก่ผ้ เู ยาว์ในการประกอบ
ผู้เยาว์ประกอบ ธุรกิจทางการค้ าหรื อธุรกิจอื่น หรื อทาสัญญาเป็ นลูกจ้ างในสัญญาจ้ างแรงงานได้
ธุรกิจได้
ในกรณีที่ผ้ แู ทนโดยชอบธรรมไม่ให้ ความยินยอมโดยไม่มีเหตุอนั สมควร ผู้เยาว์อาจ
ร้ องขอต่อศาลให้ อนุญาตได้
ในความเกี่ยวพันกับการประกอบธุรกิจหรื อการจ้ างแรงงานตามวรรคหนึ่ง
ให้ ผ้ ูเยาว์ มีฐานะเสมือนดังบุคคลซึ่งบรรลุนิตภิ าวะแล้ ว (ทํานิ ติกรรมในเรื ่องที ่
เกี ่ยวกับการค้าได้โดยไม่ตอ้ งขออนุญาตเป็ นเรื ่องๆไป)
ถ้ าการประกอบธุรกิจหรื อการทางานที่ได้ รับความยินยอมหรื อที่ได้ รับ
อนุญาตตามวรรคหนึ่ง ก่อให้ เกิดความเสียหายถึงขนาดหรื อเสื่อมเสียแก่ผ้ เู ยาว์
ผู้แทนโดยชอบธรรมอาจบอกเลิกความยินยอมที่ได้ ให้ แก่ ผ้ ูเยาว์ เสียได้ หรื อ
ในกรณีที่ศาลอนุญาต ผู้แทนโดยชอบธรรมอาจร้ องขอต่อศาลให้ เพิกถอนการ
อนุญาตที่ได้ ให้ แก่ผ้ เู ยาว์นนเสี
ั ้ ยก็ได้
ในกรณีที่ผ้ ูแทนโดยชอบธรรมบอกเลิกความยินยอมโดยไม่มีเหตุอนั
สมควร ผู้เยาว์อาจร้ องขอต่อศาลให้ เพิกถอนการบอกเลิกความยินยอมของผู้แทน
โดบชอบธรรมได้
การบอกเลิกความยินยอมโดยผู้แทนโดยชอบธรรมหรื อการเพิกถอนการ
อนุญาตโดยศาล ย่ อมทาให้ ฐานะเสมือนดังบุคคลซึ่งบรรลุนิตภิ าวะแล้ วของ
ผู้เยาว์ สนิ ้ สุดลง แต่ ไม่ กระทบกระเทือนการใดๆที่ผ้ ูเยาว์ ได้ กระทาไปแล้ ว
ก่ อนมีการบอกเลิกความยินยอมหรื อเพิกถอนการอนุญาต
มาตรา 28 วางหลักไว้วา่ : บุคคลวิกลจริตผู้ใด ถ้ าคู่สมรสก็ดี ผู้บุพการี กล่ าวคือ บิดา
บุคคลวิกลจริตและ มารดา ปู่ ย่ า ตายาย ทวดก็ดี ผู้สืบสันดานกล่ าวคือ ลูก หลาน เหลน ลื่อ ก็ดี
คนไร้ ผู้ปกครองหรื อผู้พทิ ักษ์ พนักงานอัยการก็ดี ร้ องขอต่ อศาลให้ ส่ ังให้ บุคคล
ความสามารถ วิกลจริตนัน้ เป็ นคนไร้ ความสามรถ ศาลจะสั่งให้ บุคคลวิกลจริตนัน้ เป็ นคนไร้
ความสามารถก็ได้
บุคคลที่ศาลสัง่ ให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถต้ องจัดอยู่ในความอนุบาล ของผู้
อนุบาล
3

มาตรา 29 วางหลักไว้วา่ : การใดๆอันบุคคลที่ศาลสั่งให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถได้ กระทาลง


บุคคลไร้ การนัน้ เป็ นโมฆียะ
ความสามารถการ
กระทาโมฆียะ
มาตรา 30 วางหลักไว้วา่ : การใดๆอันบุคคลวิกลจริตซึง่ ศาลยังมิได้ ส่ ังให้ เป็ นคนไร้
บุคคลวิกลจริตซึ่ง ความสามารถได้ กระทาลง การนัน้ เป็ นโมฆียะต่ อเมื่อได้ กระทาในขณะที่
ศาลยังมิได้ สงั่ การ
บุคคลนัน้ จริ ตวิกลอยู่ และคู่กรณีอีกฝ่ ายหนึ่งได้ ร้ ู แล้ วด้ วยว่ าผู้กระทาเป็ น
กระทานันเป็
้ น
โมฆียะ คนวิกลจริ ต
มาตรา 32 วางหลักไว้วา่ : บุคคลใดมีกายพิการหรื อมีจติ ฟั่ นเฟื อนไม่สมประกอบหรื อประพฤติ
คนเสมือนไร้ สุร่ ุ ยสุร่ายเสเพลเป็ นอาจิน หรื อติดสุรายาเมา จนไม่สามารถจัดการงานได้ ด้วย
ความสามารถ
ตนเองหรื อจัดกิจการไปในทางที่เสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรื อครอบครัว เมื่อ
บุคคลในมาตรา 28 (ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาล หรื อผู้พิทกั ษ์ )ร้ องขอต่อศาล ศาล
จะสัง่ ให้ บคุ คลนั ้นเป็ นคนเสมือนไร้ ความสามารถก็ได้
บุคคลซึง่ ศาลสัง่ ให้ เป็ นคนเสมือนไร้ ความสามารถต้ องจัดอยู่ในความพิทกั ษ์
ของผู้พทิ ักษ์
มาตรา 34 วางหลักไว้วา่ : คนเสมือนไร้ ความสามารถนัน้ ต้ องได้ รับความยินยอมของผู้
คนเสมือนไร้ พิทกั ษ์ ก่อนแล้ วจึงจะกระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดต่อไปนี ้ได้
ความสามารถนัน้
ต้ องได้ รับความ
1. นาทรัพย์สนิ ไปลงทุน
ยินยอมของผู้ 2. รับคืนทรัพย์สนิ ที่ไปลงทุน ต้ นเงินหรื อทุนอย่างอื่น
พิทกั ษ์ก่อน 3. กู้ยืมหรื อให้ ก้ ยู ืมเงิน ยืมหรื อให้ ยืมสังหาริมทรัพย์อนั มีค่า
4. รับประกันโดยประการใดๆ อันมีผลให้ ตนต้ องถูกบังคับชาระหนี ้
5. เช่าหรื อให้ เช่าสังหาริ มทรัพย์เกินกว่า 6 เดือน หรื ออสังหาริมทรัพย์เกินกว่า
3 ปี
6. ให้ โดยเสน่หา เว้ นแต่การให้ ที่พอสมควรแก่ฐานานุรูป เพื่อการกุศล การ
สังคม หรื อตามหน้ าที่ธรรมจรรยา
7. รับการให้ โดยเสน่หาที่มีเงื่อนไขหรื อค่าภาระติดพัน หรื อไม่รับการให้ โดย
เสน่หา
8. ทาการอย่างหนึ่งอย่างใด เพื่อจะได้ มาหรื อปล่อยไปซึง่ สิทธิใน
อสังหาริมทรัพย์หรื อสังหาริมทรัพย์อนั มีค่า
9. ก่อสร้ างดัดแปลงโรงเรื อนหรื อสิง่ ปลูกสร้ างอย่างอื่น หรื อซ่อมแซมอย่าง
4

ใหญ่

10. เสนอคดีต่อศาลหรื อดาเนินกระบวนพิจารณาใดๆ เว้ นแต่การร้ องขอถอนผู้


พิทกั ษ์ (มาตรา 35)
11. ประนีประนอมยอมความ หรื อมอบข้ อพิพาทให้ อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย
ในกรณีที่คนเสมือนไร้ ความสามารถไม่สามารถจะทาการอย่างหนึ่งอย่างใด
ได้ ด้วยตนเอง เพราะเหตุมีกายพิการหรื อจิตฟั่ นเฟื อนไม่สมประกอบ ศาลจะสัง่ ให้
ผู้พิทกั ษ์ มีอานาจกระทาการนันแทนก็
้ ได้
การใดกระทาลงโดยฝ่ าฝื นบทบัญญัติมาตรานี ้ การนัน้ เป็ นโมฆียะ
มาตรา 170 วางหลักไว้วา่ : การแสดงเจตนาซึง่ กระทาต่อผู้เยาว์หรื อผู้ที่ศาลสัง่ ให้ เป็ นคนไร้
การแสดงเจตนา ความสามารถหรื อคนเสมือนไร้ ความสามารถ จะยกขึ ้นเป็ นข้ อต่อสู้ผ้ รู ับการแสดงเจตนา
ไม่ได้ เว้ นแต่ผ้ แู ทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาล หรื อผู้พิทกั ษ์ แล้ วแต่กรณี ของผู้รับการ
แสดงเจตนานั ้นได้ ร้ ูด้วย หรื อได้ ให้ ความยินยอมไว้ ก่อนแล้ ว
มาตรา 175 วางหลักไว้วา่ : โมฆียะกรรมนัน้ บุคคลต่ อไปนีจ้ ะบอกล้ างเสียก็ได้
ผู้บอกล้ าง 1. ผู้แทนโดยชอบธรรม หรื อผู้เยาว์ซงึ่ บรรลุนิติภาวะแล้ ว แต่ผ้ เู ยาว์จะบอกล้ าง
โมฆียะกรรม
ก่อนที่ตนบรรลุนิติภาวะก็ได้ ถ้ าได้ รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรม
2. บุคคลซึ่งศาลสั่งให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อคนเสมือนไร้
ความสามารถ เมื่อพ้ นจากการเป็ นคนไร้ ความสามารถแล้ ว หรื อผู้อนุบาล
ผู้พิทกั ษ์ เฉพาะคนเสมือนไร้ ความสามารถจะบอกล้ างก่อนที่ตนจะพ้ นจากการ
เป็ นคนเสมือนไร้ ความสามารถก็ได้ ถ้าได้ รับความยินยอมของผู้พิทกั ษ์
3. บุคคลผู้แสดงเจตนาเพราะสาคัญผิด หรื อถูกกลฉ้ อฉล หรื อถูกข่มขู่
4. บุคคลวิกลจริต ผู้กระทานิติกรรมอันเป็ นโมฆียะตามมาตรา 30 ในขณะที่จริ ต
ของบุคคลนั ้นไม่วิกลแล้ ว
ถ้ าบุคคลผู้ทานิติกรรมอันเป็ นโมฆียะถึงแก่ความตายก่อนมีการบอกล้ าง
โมฆียะกรรม ทายาทของบุคคลดังกล่ าวอาจบอกล้ างโมฆียะกรรมนัน้ ได้
มาตรา 176 วางหลักไว้วา่ : โมฆียะกรรมเมื่อบอกล้ างแล้ ว ให้ ถือเป็ นโมฆะ มาตัง้ แต่
ผลของการบอก เริ่ มแรก และให้ ผ้ เู ป็ นคู่กรณีกลับคืนสูฐ่ านะเดิม ถ้ าเป็ นการพ้ นวิสยั จะให้ กลับคืน
ล้ างโมฆียะ
เช่นนันได้
้ ก็ให้ ได้ รับค่าเสียหายชดใช้ ให้ แทน
ห้ ามมิให้ ใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องอันเกิดแต่การกลับคืนฐานะเดิมตามวรรคหนึ่ง
เมื่อพ้ น 1 ปี นับแต่วนั บอกล้ างโมฆียะกรรม
5

มาตรา 178 วางหลักไว้วา่ : การบอกล้ างหรื อการให้ สัตยาบันแก่ โมฆียะกรรม ย่อมกระทา


การบอกล้ างหรื อ ได้ โดยการแสดงเจตนาแก่ค่กู รณีอีกฝ่ ายหนึ่ง ซึง่ เป็ นบุคคลที่มีตวั กาหนดได้
การให้ สตั ยาบัน
แน่นอน
มาตรา 179 วางหลักไว้วา่ : การให้ สัตยาบันแก่ โมฆียะกรรมนัน้ จะสมบูรณ์ ต่อเมื่อได้ กระทา
การให้ สตั ยาบันจะ ภายหลังเวลาที่มูลเหตุให้ เป็ นโมฆียะกรรมนัน ้ หมดสิน้ ไปแล้ ว (หมายถึงผูเ้ ยาว์
สมบูรณ์
สามารถให้สตั ยาบันได้ต่อเมื ่อบรรลุนิติภาวะแล้ว )
บุคคลซึง่ ศาลได้ สงั่ ให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถ คนเสมือนไร้ ความสามารถ หรื อ
บุคคลวิกลจริ ตผู้กระทานิติกรรมอันเป็ นโมฆียะตามมาตรา 30 จะให้ สตั ยาบันแก่
โมฆียะกรรมนั ้นได้ ตอ่ เมื่อบุคคลเหล่านั ้นพ้ นจากการเป็ นคนไร้ ความสามารถ คนเสมือน
ไร้ ความสามารถ หรื อวิกลจริ ต
ทายาทของบุคคลผู้ทานิติกรรมอันเป็ นโมฆียะ จะให้ สตั ยาบันแก่โมฆียะกรรมได้
นับแต่เวลาที่ผ้ ทู านิติกรรมนั ้นถึงแก่ความตาย เว้ นแต่สิทธิที่จะบอกล้ างโมฆียะกรรมนั ้น
ได้ สิ ้นสุดลง
บทบัญญัติวรรค 1และวรรค 2 มิให้ ใช้ บงั คับ ถ้ าการให้ สตั ยาบันแก่โมฆีย ะกรรม
กระทาโดยผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาลหรื อผู้พิทกั ษ์
มาตรา 180 วางหลักไว้วา่ : ถ้ ามีพฤติการณ์อย่างหนึง่ อย่างใดดังต่อไปนี ้เกิดขึ ้นเกี่ยวกับโมฆียะกรรม
การให้ สตั ยาบัน โดยการกระทาของบุคคลซึง่ มีสิทธิบอกล้ างโมฆียะกรรมตามมาตรา 175 ถ้ ามิได้ สงวน
โดยปริยาย
สิทธิไว้ แจ้ งชัดประการใด ให้ ถือว่ าเป็ นการให้ สัตยาบัน (โดยปริ ยาย)
1. ได้ ปฏิบตั ิการชาระหนี ้แล้ วทั ้งหมดหรื อแต่บางส่วน
2. ได้ มีการเรี ยกให้ ชาระหนี ้นั ้นแล้ ว
3. ได้ มีการแปลงหนี ้ใหม่
4. ได้ มีการให้ ประกันเพื่อหนี ้นั ้น
5. ได้ มีการโอนสิทธิหรื อความรับผิดทั ้งหมดหรื อแต่บางส่วน
6. ได้ มีการกระทาอย่างอื่นอันแสดงได้ วา่ เป็ นการให้ สตั ยาบัน
มาตรา 181 วางหลักไว้วา่ : โมฆียะกรรมนั ้นจะบอกล้ างมิได้ เมื่อพ้ นเวลา 1 ปี นับแต่ เวลาที่อาจ
ระยะเวลาการบอก ให้ สัตยาบันได้ หรื อเมื่อพ้ น 10 ปี นับแต่ ได้ ทานิตก ิ รรมอันเป็ นโมฆียะนัน้
ล้ างโมฆียะกรรม
(เวลาที่อาจให้ สตั ยาบันได้ หมายถึง )
o ภายใน 1 ปี หลังจากผู้แทนโดยชอบธรรมรู้วา่ ทานิติกรรม
o ภายใน 1 ปี หลังจากผู้เยาว์บรรลุนิติภาวะ
o ภายใน 1 ปี หลังจากศาลถอนคาสัง่ ผู้ไร้ , ผู้เสมือน
6

นิตกิ รรม( เจตนา)


มาตรา 149 วางหลักไว้วา่ : นิตกิ รรม หมายความว่า การใดๆอันทาลงโดยชอบด้ วยกฎหมาย
นิตกิ รรม และด้ วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสมั พันธ์ขึ ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ
เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรื อระงับซึง่ สิทธิ
มาตรา 150 วางหลักไว้วา่ : การใดมีวัตถุประสงค์ เป็ นการต้ องห้ ามชัดแจ้ งโดยกฎหมาย
นิตกิ รรมต้ องห้ าม เป็ นการพ้ นวิสยั หรื อขัดต่อความสงบเรี ยบร้ อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชน การ

นัน้ เป็ นโมฆะ (เช่น สัญญาจ้ างฆ่าคน สัญญาซื ้อขายเฮโรอีน เป็ นต้ น )
มาตรา 152 วางหลักไว้วา่ : การใดมิได้ ทาให้ ถูกต้ องตามแบบที่กฎหมายบังคับไว้ การ
ไม่ถกู ต้ องตามแบบ นัน ้ เป็ นโมฆะ
มาตรา 154 วางหลักไว้วา่ : การแสดงเจตนาใดแม้ ในใจจริงผู้แสดงจะมิได้ เจตนาให้ ตนต้ องผูกพัน
เจตนาซ่อนเร้ น(ไม่ ตามที่ได้ แสดงออกมาก็ตาม หาเป็ นมูลเหตุให้ การแสดงเจตนานัน้ เป็ นโมฆะไม่ เว้ น
เป็ นโมฆะ) แต่ ค่ กู รณีอีกฝ่ ายหนึ่งจะได้ ร้ ูถึงเจตนาอันซ่ อนอยู่ในใจผู้แสดงนัน้ (ผูท้ ํานิติกรรมรู้ แต่
คู่กรณี ไม่รู้ = นิติกรรมสมบูรณ์ ผูท้ ํานิติกรรมรู้ คู่กรณี รู้ =นิติกรรมเป็ นโมฆะ)
มาตรา 155 วางหลักไว้วา่ : การแสดงเจตนาลวง โดยสมรู้ กับคู่กรณีอีกฝ่ ายหนึ่ง เป็ นโมฆะ
เจตนาลวง , แต่ จะยกขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้บุคคลภายนอกผู้กระทาการโดยสุจริ ตและต้ อง
เจตนาอาพลาง เสียหายจากการแสดงเจตนาลวงนัน้ มิได้
(เป็ นโมฆะ)
ถ้ าการแสดงเจตนาลวงตามวรรค 1 ทาขึน้ เพื่ออาพรางนิตกิ รรมอื่น
ให้ นาบทบัญญัตขิ องกฎหมายอันเกี่ยวกับนิตกิ รรมที่ถูกอาพรางมาใช้ บังคับ
(ทัง้ ผูท้ ํานิ ติกรรมและคู่กรณี รู้ดว้ ยกันทัง้ คู=่ นิ ติกรรมตกเป็ นโมฆะ)
มาตรา 156 วางหลักไว้วา่ : การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิด ในสิ่งที่เป็ นสาระสาคัญ นิตกิ รรมนัน้
สาคัญผิดใน เป็ นโมฆะ
สาระสาคัญ ความสาคัญผิดในสิ่งที่เป็ นสาระสาคัญแห่งนิติกรรม ได้ แก่ สาคัญผิด ใน
(เป็ นโมฆะ)
ลักษณะของนิติกรรม สาคัญผิดในตัวบุคคลซึง่ เป็ นคูก่ รณีแห่งนิติกรรม และสาคัญผิด
ในทรั พย์ สินซึง่ เป็ นวัตถุแห่งนิติกรรม
มาตรา 157 วางหลักไว้วา่ : การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิดในคุณสมบัตขิ องบุคคลหรื อ
สาคัญผิดใน ทรั พย์ สิน เป็ นโมฆียะ
คุณสมบัติ ต้ องเป็ นความสาคัญผิดในคุณสมบัติ ซึง่ ตามปกติถือว่าเป็ นสาระสาคัญ ซึง่ หาก
(เป็ นโมฆียะ)
มิได้ มีความสาคัญผิด ดังกล่าว การอันเป็ นโมฆียะนั ้นคงจะมิได้ กระทาขึ ้น
(สําคัญผิ ดเอง โง่เอง ตัดสิ นใจเอง ไม่ใช่การถูกหลอกลวง สามารถบอกล้างโมฆี ยะ
ได้)เช่นรับสมัครแม่บ้านเข้ามา แต่ทํางานไม่เป็ นเลย หรื อซื ้อรู ปภาพ แต่ได้ภาพปลอม )
7

มาตรา 158 วางหลักไว้วา่ : ความสาคัญผิดตามมาตรา 156 หรื อ 157 ซึง่ เกิดขึ ้นโดยประมาท
ประมาทเลินเล่อ เลินเล่ ออย่ างร้ ายแรงของบุคคลผู้แสดงเจตนา บุคคลนันจะถื ้ อเอาความสาคัญ
อย่างร้ ายแรง
ผิดมาใช้ เป็ นประโยชน์ แก่ ตนไม่ ได้ (นิติกรรมไม่ตกเป็ นโมฆะ มีผลสมบูรณ์ )
มาตรา 159 วางหลักไว้วา่ : การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้ อฉล เป็ นโมฆียะ
กลฉ้ อฉล การถูกกลฉ้ อฉลที่จะเป็ นโมฆียะตามวรรค 1 จะต้ องถึงขนาดซึง่ ถ้ ามิได้ มี
(เป็ นโมฆียะ)
กลฉ้ อฉลดังกล่าว การอันเป็ นโมฆียะนันคงจะมิ ้ ได้ กระทาขึ ้น
ถ้ าคู่กรณีฝ่ายหนึ่งแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้ อฉลโดยบุคคลภายนอก
การแสดงเจตนานัน้ จะเป็ นโมฆียะ ต่ อเมื่อคู่กรณีอีกฝ่ ายหนึ่งได้ ร้ ู หรื อควรจะ
ได้ ร้ ู ถึงกลฉ้ อฉลนัน้ (ถ้าคู่กรณี ฝ่ายหนึ่งไม่รู้ = นิ ติกรรมสมบูรณ์ )
มาตรา 160 วางหลักไว้วา่ : การบอกล้ างโมฆียะกรรมเพราะถูกกลฉ้ อฉลตามมาตรา 159 ห้ ามมิ
การบอกล้ าง ให้ ยกเป็ นข้ อต่อสู้บุคคลภายนอกผู้กระทาการโดยสุจริต
โมฆียะกรรมเพราะ
(ถ้าใช้กลฉ้อฉลหลอกให้ขายพระเครื ่องให้แล้ว และนําไปขายต่ออีกกับบุคคลที ่ 3 ซึ่ง
ถูกกลฉ้ อฉล
สุจริ ต บุคคลทีถ่ ูกกลฉ้อฉลจะไม่สามารถเรี ยกคืนพระเครื ่องได้ )
มาตรา 161 วางหลักไว้วา่ : ถ้ ากลฉ้ อฉลเป็ นเพียงแต่เหตุจงู ใจให้ คกู่ รณีฝ่ายหนึง่ ยอมรั บ
ยอมรับข้ อกาหนด ข้ อกาหนดอันหนักยิ่งกว่ าที่คกู่ รณีฝ่ายนั ้นจะยอมรับโดยปกติ คูก่ รณีฝ่ายนั ้น(ผู้ซื ้อ)จะ
อันหนักยิ่งกว่า
บอกล้ างการนั ้นหาได้ ไม่ แต่ชอบที่จะเรี ยกเอาค่ าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหาย
อันเกิดจากกลฉ้ อฉลนัน้ ได้
มาตรา 162 วางหลักไว้วา่ : ในนิติกรรม 2 ฝ่ าย การที่คกู่ รณีฝ่ายหนึง่ จงใจนิ่งเสีย ไม่แจ้ งข้ อความ
ฉ้ อฉลโดยการนิ่ง จริ งหรื อคุณสมบัติอนั คูก่ รณีอีกฝ่ ายหนึง่ มิได้ ร้ ู การนัน้ จะเป็ นกลฉ้ อฉล หากพิสจู น์ได้
เสีย(เป็ นโมฆียะ)
ว่าถ้ ามิได้ นิ่งเสียเช่นนั ้น นิติกรรมนั ้นก็คงจะมิได้ กระทาขึ ้น
(การนิ่ งเสียต้องเป็ นหน้าทีท่ ีต่ อ้ งบอก แต่ ไม่ยอมบอก)
มาตรา 163 วางหลักไว้วา่ : ถ้ าคูก่ รณีตา่ งได้ กระทาการโดยกลฉ้ อฉลด้ วยกันทั ้งสองฝ่ าย ฝ่ ายหนึง่
ฉ้ อฉลทัง้ 2 ฝ่ าย ฝ่ ายใดจะกล่าวอ้ างกลฉ้ อฉลของอีกฝ่ ายหนึง่ เพื่อ การบอกล้ างการนัน้ หรื อเรี ยกค่ า
กม.ไม่ยืนยัน
สินไหมทดแทนมิได้ (อ้างอะไรไม่ได้เลย)
มาตรา 164 วางหลักไว้วา่ : การแสดงเจตนาเพราะถูกข่ มขู่เป็ นโมฆียะ (เช่นถูกปื นขู่ให้ ทานิติ
ข่มขู่ กรรม) การข่มขู่ที่จะทาให้ การใดตกเป็ นโมฆียะนัน้ จะต้ องเป็ นการข่มขู่ที่จะให้ เกิด
(เป็ นโมฆียะ)
ภัยอันใกล้ จะถึง และร้ ายแรงถึงขนาดที่จะจูงใจให้ ผ้ ถู กู ข่มขู่มีมลู ต้ องกลัว ซึง่ ถ้ า
มิได้ มีการข่มขู่เช่นนัน้ การนันคงจะมิ
้ ได้ กระทาขึ ้น (แต่ถา้ ไม่เข้าสาระสําคัญนี ้ถือว่า
สมบูรณ์ )
8

มาตรา 165 วางหลักไว้ว่า : การขู่ว่าจะใช้ สิทธิตามปกตินิยม ไม่ถือว่าเป็ นการข่มขู่ (ไม่


การขูว่ า่ จะใช้ สทิ ธิ สามารถอ้ างโมฆียะได้ )
ตามปกตินิยม
ถือว่าสมบูรณ์
การใดที่กระทาไปเพราะนับถือยาเกรง ไม่ถือว่าการนันได้ ้ กระทาเพราะ
ถูกข่มขู่ (เช่น บิดาข่มขู่บตุ ร เจ้ าหนี ้ข่มขู่ลกู หนี ้ว่าจะฟ้องศาล)
มาตรา 166 วางหลักไว้ว่า : การข่ มขู่ย่อมทาให้ การแสดงเจตนาเป็ นโมฆียะ แม้
ข่มขูโ่ ดย บุคคลภายนอกจะเป็ นผู้ข่มขู่
บุคคลภายนอกเป็ น
โมฆียะ
มาตรา 168 วางหลักไว้ว่า : การแสดงเจตนาที่กระทาต่ อบุคคลซึ่งอยู่เฉพาะหน้ า ให้ ถือว่ า
การแสดงเจตนาที่ มีผลนับแต่ ผ้ ูรับการแสดงเจตนาได้ ทราบการแสดงเจตนานัน้ ความในข้ อนี ้ให้
กระทาต่อบุคคลซึ่ง
อยู่เฉพาะหน้ า
ใช้ ตลอดถึงการที่บคุ คลหนึ่งแสดงเจตนาไปยังบุคคลอีกคนหนึ่งโดยทางโทรศัพท์
หรื อทางเครื่ องมือสื่อสารอย่ างอื่น หรื อโดยวิธีอ่ ืนซึ่งสามารถติดต่ อถึงกันได้
ในทานองเดียวกัน
มาตรา 169 วางหลักไว้ว่า : การแสดงเจตนาที่กระทาต่ อบุคคลซึ่งมิได้ อยู่เฉพาะหน้ า ให้
การแสดงเจตนาที่ ถือว่ ามีผลนับแต่ เวลาที่การแสดงเจตนานัน้ ไปถึงผู้รับการแสดงเจตนา แต่ถ้า
กระทาต่อบุคคลซึ่ง
มิได้ อยู่เฉพาะหน้ า
ได้ บอกถอนไปถึงผู้รับการแสดงเจตนานันก่ ้ อนหรื อพร้ อมกันกับที่การแสดงเจตนา
(เมื่อผู้แสดงเจตนา นันไปถึ
้ งผู้รับ การแสดงเจตนานัน้ ตกเป็ นอันไร้ ผล
ตาย นิตกิ รรมไม่ไร้ การแสดงเจตนาที่ได้ ส่งออกไปแล้ ว ย่ อมไม่ เสื่อมเสียไป แม้ ภายหลัง
ผล)ยังคงผูกพันอยู่
การแสดงเจตนานันผู ้ ้ แสดงเจตนาจะถึงแก่ ความตาย หรื อถูกศาลสั่งให้ เป็ นคน
ไร้ ความสามารถหรื อเสมือนไร้ ความสามารถ (ดูมาตรา 360 )
มาตรา 172 วางหลักไว้ว่า : โมฆะกรรมนัน้ ไม่ อาจให้ สัตยาบันแก่ กันได้ และผู้มีสว่ นได้ เสีย
ลาภมิควรได้ คนหนึ่งคนใดจะยกความเสียเปล่าแห่งโมฆะกรรมขึ ้นกล่าวอ้ างก็ได้
ถ้ าจะต้ องคืนทรัพย์สนิ อันเกิดจากโมฆะกรรม ให้ นาบทบัญญัติวา่ ด้ วย
ลาภมิควรได้ แห่งประมวลกฎหมายนี ้มาใช้ บงั คับ
9

มาตรา 175 วางหลักไว้วา่ : โมฆียะกรรมนัน้ บุคคลต่ อไปนีจ้ ะบอกล้ างเสียก็ได้


ผู้บอกล้ าง (1) ผู้แทนโดยชอบธรรม หรื อผู้เยาว์ซงึ่ บรรลุนิติภาวะแล้ ว แต่ผ้ เู ยาว์จะบอกล้ าง
โมฆียะกรรม ก่อนที่ตนบรรลุนิติภาวะก็ได้ ถ้ าได้ รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรม
(2) บุคคลซึ่งศาลสั่งให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อคนเสมือนไร้
ความสามารถ เมื่อพ้ นจากการเป็ นคนไร้ ความสามารถแล้ ว หรื อผู้
อนุบาล ผู้พิทกั ษ์ เฉพาะคนเสมือนไร้ ความสามารถจะบอกล้ างก่อนที่ตนจะ
พ้ นจากการเป็ นคนเสมือนไร้ ความสามารถก็ได้ ถ้าได้ รับความยินยอมของผู้
พิทกั ษ์
(3) บุคคลผู้แสดงเจตนาเพราะสาคัญผิด หรื อถูกกลฉ้ อฉล หรื อถูกข่มขู่
(4) บุคคลวิกลจริต ผู้กระทานิติกรรมอันเป็ นโมฆียะตามมาตรา 30 ในขณะที่จริ ต
ของบุคคลนั ้นไม่วิกลแล้ ว
ถ้ าบุคคลผู้ทานิติกรรมอันเป็ นโมฆียะถึงแก่ความตายก่อนมีการบอกล้ าง
โมฆียะกรรม ทายาทของบุคคลดังกล่ าวอาจบอกล้ างโมฆียะกรรมนัน้ ได้
มาตรา 176 วางหลักไว้วา่ : โมฆียะกรรมเมื่อบอกล้ างแล้ ว ให้ ถือเป็ นโมฆะ มาตัง้ แต่ เริ่มแรก
ผลของการบอก และให้ ผ้ เู ป็ นคูก่ รณีกลับคืนสูฐ่ านะเดิม ถ้ าเป็ นการพ้ นวิสยั จะให้ กลับคืนเช่นนั ้นได้ ก็ให้
ล้ างโมฆียะ
ได้ รับค่าเสียหายชดใช้ ให้ แทน
ห้ ามมิให้ ใช้ สิทธิเรี ยกร้ องอันเกิดแต่การกลับคืนฐานะเดิมตามวรรคหนึง่ เมื่อพ้ น 1
ปี นับแต่วนั บอกล้ างโมฆียะกรรม
มาตรา 181 วางหลักไว้วา่ : โมฆียะกรรมนัน้ จะบอกล้ างมิได้ เมื่อพ้ นเวลา 1 ปี นับแต่ เวลาที่
เวลาที่อาจให้ อาจให้ สัตยาบันได้ หรื อเมื่อพ้ นเวลา 10 ปี นับแต่ ได้ ทานิตกิ รรมอันเป็ นโมฆียะ
สัตยาบัน นัน้ (เวลาทีอ่ าจให้สตั ยาบันได้หมายถึง )
 1ปี หลังจากผูแ้ ทนโดบชอบธรรมรู้ว่าทํานิ ติกรรม
 1ปี หลังจากผูเ้ ยาว์บรรลุนิติภาวะ
 1ปี หลังจากศาลถอนคําสัง่ ผูไ้ ร้ ผูเ้ สมื อน
มาตรา 188 นิติกรรมใดมีเงื่อนไขอันไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย หรื อขัดต่อความสงบ
ขัดกับกฎหมาย เรี ยบร้ อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชน นิตกิ รรมนัน้ เป็ นโมฆะ
มาตรา 189 วางหลักไว้วา่ : นิติกรรมใดมีเงื่อนไขบังคับก่ อน และเงื่อนไขนัน้ เป็ นการพ้ นวิสัย
เงื่อนไขบังคับก่อน , นิติกรรมนั ้นเป็ นโมฆะ
หลัง
นิติกรรมใดมีเงื่อนไขบังคับหลัง และเงื่อนไขนัน้ เป็ นการพ้ นวิสัย ให้ ถือว่า
นิติกรรมนั ้นไม่ มีเงื่อนไข
10

มาตรา 360 วางหลักไว้วา่ : บทบัญญัติแห่งมาตรา 169 วรรคสองนัน้ ท่ านมิให้ ใช้ บังคับ ถ้ า


ข้ อยกเว้ นในมาตรา หากว่าขัดกับเจตนาอันผู้เสนอได้ แสดง หรื อหากว่าก่อนจะสนองรับนัน้ คู่กรณีอีก
169
ฝ่ ายหนึ่งได้ ร้ ู อยู่แล้ วว่ าผู้เสนอตายหรื อตกเป็ นผู้ไร้ ความสามารถ
มาตรา 361 วางหลักไว้วา่ : อันสัญญาระหว่างบุคคลซึง่ อยู่ห่างกันโดยระยะทางนัน้ ย่อมเกิดเป็ น
สัญญาระหว่าง สัญญาขึ ้นแต่เวลาเมื่อคาบอกกล่าวสนองไปถึงผู้เสนอ
บุคคลซึ่งอยู่ห่างกัน
โดยระยะทาง
ถ้ าตามเจตนาอันผู้เสนอได้ แสดง หรื อตามปกติประเพณีไม่จาเป็ นจะต้ องมี
คาบอกกล่าวสนองไซร้ ท่านว่าสัญญานันเกิ ้ ดเป็ นสัญญาขึ ้นในเมื่อมีการอันใด
อันหนึ่งขึ ้น อันจะพึงสันนิษฐานได้ วา่ เป็ นการแสดงเจตนาสนองรับ
(ตัวอย่าง นายอ้วนสัง่ ก๋วยเตี ๋ยวแม่คา้ แล้ว แม่ค้าลงมื อทําให้โดยไม่มีคําพูดแต่
อย่างใด ย่อมหมายความว่าสัญญาในการซื ้อขายนัน้ เกิ ดขึ้ นแล้ว )
มาตรา 456 วางหลักไว้วา่ : การซือ้ ขายอสังหาริ มทรั พย์ ถ้ ามิได้ ทาเป็ นหนังสือและจด
การซื ้อขาย ทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ เป็ นโมฆะ วิธีนี ้ให้ ใช้ ถึงซื ้อขายเรื อมีระวางตังแต่

อสังหาริมทรัพย์
5 ตันขึ ้นไป ทังซื ้ ้อขายแพและสัตว์พาหนะด้ วย
สัญญาจะขายจะซื ้อ หรื อคามัน่ ในการซื ้อขายทรัพย์สนิ ตามที่ระบุไว้ ใน
วรรคหนึ่ง ถ้ ามิได้ มีหลักฐานเป็ นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ ายผู้ต้อง
รับผิดเป็ นสาคัญ หรื อได้ วางประจาไว้ หรื อได้ ชาระหนี ้บางส่วนแล้ ว จะฟ้องร้ องให้
บังคับคดีหาได้ ไม่
บทบัญญัติที่กล่าวมาในวรรคก่อนนี ้ ให้ ใช้ บังคับถึงสัญญาซือ้ ขาย
สังหาริ มทรั พย์ ซ่ งึ ตกลงกันเป็ นราคาสองหมื่นบาท หรื อกว่ านัน้ ขึน้ ไปด้ วย
11

สัญญา

มาตรา 150 วางหลักไว้วา่ : การใดมีวัตถุประสงค์ เป็ นการต้ องห้ ามชัดแจ้ งโดยกฎหมาย เป็ น
นิตกิ รรมต้ องห้ าม การพ้ นวิสัยหรื อเป็ นการขัดต่ อความสงบเรี ยบร้ อยหรื อศีลธรรมอันดีของ
ชัดแจ้ งโดย ประชาชน การนัน้ เป็ นโมฆะ
กฎหมาย เป็ น (คู่สญ
ั ญาทีท่ ํานิ ติกรรมจะต้องร่ วมรู้ถึงวัตถุประสงค์ของนิ ติกรรมตัง้ แต่ทํานิ ติกรรม การ
โมฆะ
ทํานิ ติกรรมนัน้ จึงจะตกเป็ นโมฆะ)
มาตรา 152 วางหลักไว้วา่ : การใดมิได้ ทาให้ ถูกต้ องตามแบบที่กฎหมายบังคับไว้ การนัน้
ไม่ถกู ต้ องตามแบบ เป็ นโมฆะ
มาตรา 168 วางหลักไว้วา่ : การแสดงเจตนาที่กระทาต่ อบุคคลซึ่งอยู่เฉพาะหน้ า ให้ ถือว่ ามี
การแสดงเจตนาที่ ผลนับแต่ ผ้ รู ั บการแสดงเจตนาได้ ทราบการแสดงเจตนานัน้ ความในข้ อนี ้ให้ ใช้
กระทาต่อบุคคลซึ่ง
ตลอดถึงการที่บคุ คลหนึง่ แสดงเจตนาไปยังบุคคลอีกคนหนึง่ โดยทางโทรศัพท์ หรื อ
อยู่เฉพาะหน้ า นิติ
ทางเครื่ องมือสื่อสารอย่ างอื่น หรื อโดยวิธีอ่ นื ซึ่งสามารถติดต่ อถึงกันได้ ใน
กรรมทางโทรศัพท์
มีผล
ทานองเดียวกัน
มาตรา 169 วางหลักไว้วา่ : การแสดงเจตนาที่กระทาต่ อบุคคลซึ่งมิได้ อยู่เฉพาะหน้ า ให้ ถือ
เมื่อผู้แสดงเจตนา ว่ ามีผลนับแต่ เวลาที่การแสดงเจตนานัน ้ ไปถึงผู้รับการแสดงเจตนา แต่ถ้าได้ บอก
ตาย นิตกิ รรมไม่ไร้ ถอนไปถึงผู้รับการแสดงเจตนานั ้นก่ อนหรื อพร้ อมกัน กับที่การแสดงเจตนานั ้นไปถึง
ผล
ยังคงผูกพันอยู่
ผู้รับ การแสดงเจตนานัน้ ตกเป็ นอันไร้ ผล
การแสดงเจตนาที่ได้ ส่งออกไปแล้ ว ย่ อมไม่ เสื่อมเสียไป แม้ ภายหลังการ
แสดงเจตนานั ้นผู้แสดงเจตนาจะถึงแก่ ความตาย หรื อถูกศาลสั่งให้ เป็ นคนไร้
ความสามารถหรื อเสมือนไร้ ความสามารถ (ดูมาตรา 360 ประกอบด้ วย)
มาตรา 354 วางหลักไว้วา่ : คาเสนอจะทาสัญญาอันบ่ งระยะเวลาให้ ทาคาสนองนัน้ ท่านว่าไม่
คาเสนอบ่ง อาจจะถอนได้ ภายในระยะเวลาที่บง่ ไว้
ระยะเวลาให้ ทาคา
สนอง
มาตรา 355 วางหลักไว้วา่ : บุคคลทาคาเสนอไปยังผู้อื่นซึง่ อยู่ห่างกันโดยระยะทาง และมิได้ บ่ง
คาเสนออยู่ห่างกันระยะเวลาให้ คาสนอง จะถอนคาเสนอของตนเสียในเวลาอันควรคาดหมายว่าจะได้
โดยระยะทาง
รับคาบอกกล่าวสนองนั ้น ท่ านว่ าหาอาจจะถอนได้ ไม่
มาตรา 356 วางหลักไว้วา่ : คาเสนอทาแก่ บุคคลผู้อยู่เฉพาะหน้ า โดยมิได้ บ่งระยะเวลาให้ ทา
คาเสนอเฉพาะหน้ า คาสนองนั ้น เสนอ ณ ที่ใดเวลาใดก็ย่อมจะสนองรับได้ แต่ ณ ที่นั ้นเวลานั ้น ความข้ อนี ้
และทางโทรศัพท์
ท่านให้ ใช้ ตลอดถึงการที่บคุ คลคนหนึง่ ทาคาเสนอไปยังบุคคลอีกคนหนึง่ ทางโทรศัพท์
ด้ วย
12

มาตรา 357 วางหลักไว้วา่ : คาเสนอใดเขาบอกปั ดไปยังผู้เสนอแล้ วก็ดี หรื อ มิได้ สนองรั บ


คาเสนอสิ ้นความ ภายในเวลาที่กาหนดดังกล่าว คาเสนอนันท่ ้ านว่าเป็ นอันสิน้ ความผูกพันแต่ นัน้
ผูกพัน
ไป
มาตรา 358 วางหลักไว้วา่ :ถ้ าคาบอกกล่าวสนองมาถึงล่วงเวลา แต่เป็ นที่เห็นประจักษ์ วา่ คา
คาสนองมาถึง บอกกล่าวนันได้้ สง่ โดยทางการซึง่ ตามปกติควรจะมาถึงภายในเวลากาหนดไซร้ ผู้
ล่วงเวลา
เสนอต้ องบอกกล่าวแก่ค่กู รณีอีกฝ่ ายหนึ่งโดยพลันว่าคาสนองนันมาถึ ้ งเนิ่นช้ า เว้ น
แต่จะได้ บอกกล่าวเช่นนันก่ ้ อนแล้ ว
ถ้ าผู้เสนอละเลยไม่บอกกล่าวดังว่ามาในวรรคต้ น ท่านให้ ถือว่าคาบอก
กล่าวสนองนันมิ ้ ได้ ลว่ งเวลา
มาตรา 359 วางหลักไว้วา่ :คาสนองมาถึงล่ วงเวลา ท่านให้ ถือว่าคาสนองนันกลายเป็ ้ นคา
คาสนองล่วงเวลา เสนอขึน้ ใหม่
เป็ นคาเสนอขึ ้น
คาสนองนัน้ อันมีข้อความเพิ่มเติม มีข้อจากัด หรื อมีข้อแก้ ไขอย่ าง
ใหม่
อื่นประกอบด้ วยนัน้ ท่ านให้ ถือว่ าเป็ นคาบอกปั ดไม่ รับ ทัง้ เป็ นคาเสนอขึน้
ใหม่ ด้วยในตัว
มาตรา 360 วางหลักไว้วา่ : บทบัญญัติแห่งมาตรา 169 วรรคสองนัน้ ท่ านมิให้ ใช้ บังคับ ถ้ า
ข้ อยกเว้ นในมาตรา หากว่าขัดกับเจตนาอันผู้เสนอได้ แสดง หรื อหากว่าก่อนจะสนองรับนัน้ คู่กรณีอีก
169 วรรคสอง
ฝ่ ายหนึ่งได้ ร้ ู อยู่แล้ วว่ าผู้เสนอตายหรื อตกเป็ นผู้ไร้ ความสามารถ
มาตรา 361 วางหลักไว้วา่ : อันสัญญาระหว่ างบุคคลซึ่งอยู่ห่างกันโดยระยะทางนัน้ ย่ อม
สัญญาระหว่ าง เกิดเป็ นสัญญาขึน้ แต่ เวลาเมื่อคาบอกกล่ าวสนองไปถึงผู้เสนอ
บุคคลซึ่งอยู่ห่าง
กันโดยระยะทาง ถ้ าตามเจตนาอันผู้เสนอได้ แสดง หรื อตามปกติประเพณีไม่ จาเป็ น
จะต้ องมีคาบอกกล่ าวสนองไซร้ ท่ านว่ าสัญญานัน้ เกิดเป็ นสัญญาขึน้ ในเมื่อ
มีการอันใดอันหนึ่งขึน้ อันจะพึงสันนิษฐานได้ ว่าเป็ นการแสดงเจตนาสนอง
รั บ(ตัวอย่าง นายอ้วนสัง่ ก๋วยเตี ๋ยวแม่คา้ แล้ว แม่ค้าลงมื อทําให้โดยไม่มีคําพูดแต่
อย่างใด ย่อมหมายความว่าสัญญาในการซื ้อขายนัน้ เกิ ดขึ้ นแล้ว )
มาตรา 362 วางหลักไว้วา่ : บุคคลออกโฆษณาให้คามั่นว่ าจะให้ รางวัล แก่ผ้ ซู งึ่ กระทาการ
คามั่นว่ าจะให้ อันใด ท่านว่าจาต้ องให้ รางวัลแก่บคุ คลใดๆ ผู้ได้ กระทาการอันนัน้ แม้ ถึงมิใช่วา่ ผู้
รางวัล
นันจะได้
้ กระทาเพราะเห็นแก่รางวัล
คามั่น เป็ นคําเสนอลอยฝ่ ายเดี ยวไม่ตอ้ งการคําสนอง
13

มาตรา 363 วางหลักไว้วา่ : เมื่อยังไม่มีใครทาการสาเร็จดังบ่งไว้ นนอยู


ั ้ ่ตราบใด ผู้ให้ คามั่นจะ
ถอนคามั่น ถอนคามั่นของตนเสียโดยวิธีเดียวกับที่โฆษณานันก็ ้ ได้ เว้ นแต่จะได้ แสดงไว้ ใน
โฆษณานันว่ ้ าจะไม่ถอน
ถ้ าผู้ให้ คามัน่ ได้ กาหนดระยะเวลาให้ ด้วยเพื่อทาการอันบ่งนันไซร้ ้ ท่านให้
สันนิษฐานไว้ ก่อนว่าผู้ให้ คามัน่ ได้ สละสิทธิที่จะถอนคามัน่ นันเสี ้ ยแล้ ว
มาตรา 369 วางหลักไว้วา่ : สัญญาต่ างตอบแทนนัน้ คู่สญ ั ญาฝ่ ายหนึ่งจะไม่ยอมชาระหนี ้
สัญญาต่ างตอบ จนกว่าอีกฝ่ ายหนึ่งจะชาระหนี ้หรื อขอปฏิบตั ิการชาระหนี ้ก็ได้ แต่ความข้ อนี ้ท่านมิ
แทน
ให้ ใช้ บงั คับ ถ้ าหนี ้ของคู่สญ ั ญาอีกฝ่ ายหนึ่งยังไม่ถึงกาหนด
มาตรา 370 วางหลักไว้วา่ : ถ้ าสัญญาต่ างตอบแทน มีวตั ถุที่ประสงค์เป็ นการก่ อให้ เกิดหรื อ
ทรัพย์ สูญหรือ โอนสิทธิในทรั พย์ เฉพาะสิ่ง และทรั พย์ นัน้ สูญหรื อเสียหายไปด้ วยเหตุอย่างใด
เสียหาย
อย่างหนึ่งอันจะโทษลูกหนี(้ ผู้ขาย)มิได้ ไซร้ ท่ านว่ าการสูญหรื อเสียหายนัน้ ตก
เป็ นพับแก่ เจ้ าหนี ้ (ผู้ซื ้อ)
(เช่น สัญญาที ่จะขายสิ นค้าให้กบั ผูซ้ ื ้อแต่เกิ ดไฟไหม้สินค้าเสียหายก่อน ผูข้ าย
สามารถคิ ดเงิ นกับผูซ้ ื ้อได้)ทรั พย์ เฉพาะสิ่ง เป็ นทรัพย์ ที่ระบุเลื อกแล้วเช่น รถคัน
ไหนสีอะไรเป็ นต้น
มาตรา 371 วางหลักไว้วา่ : บทบัญญัติที่กล่าวมาในมาตราก่อนนี ้ ท่านมิให้ ใช้ บงั คับ ถ้ าเป็ น
สัญญาต่ างตอบ สัญญาต่ างตอบแทนที่มีเงื่อนไขบังคับก่ อนและทรั พย์ อันเป็ นวัตถุแห่ ง
แทนที่มีเงื่อนไข
บังคับก่ อน สัญญานัน้ สูญหรื อทาลายลงในระหว่ างที่เงื่อนไขยังไม่ สาเร็ จ
ถ้ าทรั พย์ นัน้ เสียหายเพราะเหตุอย่ างใดอย่ างหนึ่งอันจะโทษเจ้ าหนี ้ (ผู้
ซือ้ )มิได้ และเมื่อเงื่อนไขนันส ้ าเร็จแล้ ว เจ้ าหนี จ้ ะเรี ยกให้ ชาระหนี ้โดยลดส่วนอัน
ตนจะต้ องชาระหนี ้ตอบแทนนันลงหรื ้ อเลิกสัญญานันเสี ้ ยก็ได้ แล้ วแต่จะเลือก แต่
ในกรณีท่ ตี ้ นเหตุเสียหายเกิดเพราะฝ่ ายลูกหนี(้ ผู้ขาย)นัน้ ท่ านว่ าหา
กระทบกระทั่งถึงสิทธิของเจ้ าหนีท้ ่ จี ะเรี ยกค่ าสินไหมทดแทนไม่
14

มาตรา 372 วางหลักไว้วา่ : ถ้ าการชาระหนีต้ กเป็ นพ้ นวิสัยเพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะ


ชาระหนี ้พ้ นวิสยั โทษฝ่ ายใดก็ไม่ได้ ไซร้ ท่ านว่ าลูกหนีม้ ีสิทธิจะรั บชาระหนีต้ อบแทนไม่ (ไม่ได้ รับ
(จาพวกสัญญาจ้ าง
ผลตอบแทน)
ทาของ)
ถ้ าการชาระหนีต้ กเป็ นพ้ นวิสัยเพราะเหตุอย่ างใดอย่ างหนึ่ง อัน
จะโทษเจ้ าหนี(้ ผู้จ้าง)ได้ ลูกหนี(้ ผู้รับจ้ าง)ก็หาเสียสิทธิท่ จี ะรั บชาระหนีต้ อบ
แทนไม่ แต่วา่ ลูกหนี ้ได้ อะไรไว้ เพราะการปลดหนี ้ก็ดี หรื อใช้ คณ ุ วุฒคิ วามสามารถ
ของตนเป็ นประการอื่นเป็ นเหตุให้ ได้ อะไรมา หรื อแกล้ งละเลยเสียไม่ขวนขวายเอา
อะไรที่สามารถจะทาได้ ก็ดี มากน้ อยเท่าไร จะต้ องเอามาหักกับจานวนอันตนจะ
ได้ รับชาระหนี ้ตอบแทน วิธีเดียวกันนี ้ท่านให้ ใช้ ได้ ตลอดถึงกรณีที่การชาระหนี ้อัน
อีกฝ่ ายหนึ่งยังค้ างชาระอยู่นนตกเป็
ั้ นพ้ นวิสยั เพราะพฤติการณ์อนั ใดอันหนึ่งซึง่ ฝ่ าย
นันมิ
้ ต้องรับผิดชอบ ในเวลาเมื่ออีกฝ่ ายหนึ่งผิดนัดไม่รับชาระหนี ้
EX. นายสวัสดิ์ เช่ารถจากนายสมศักดิ์ โดยได้ชําระค่าเช่าไว้ล่วงหน้าแล้ว แต่พอ
วันมารับรถปรากฎว่าฟ้าผ่ารถยนต์ คนั ที ่ตอ้ งกายเช่าเสียหาย ทําให้การชําระหนี ้ตก
เป็ นพ้นวิ สยั อันจะโทษฝ่ ายใดไม่ได้ ดังนัน้ ลูกหนี ้มีสิทธิ จะรับชําระหนี ้ตอบแทนไม่
แปลว่านายสมศักดิ์ ไม่มีสิทธิ ที่จะได้รบั ค่าเช่ารถจากนายสวัสดิ์
มาตรา 373 วางหลักไว้วา่ : ความตกลงทาไว้ ล่วงหน้ าเป็ นข้ อความยกเว้ นมิให้ ลูกหนีต้ ้ อง
ตกลงทาไว้ รั บผิดเพื่อกลฉ้ อฉลหรื อความประมาทเลินเล่ ออย่ างร้ ายแรงของตนนัน้
ล่วงหน้ า ท่ านว่ าเป็ นโมฆะ
มาตรา 374 วางหลักไว้วา่ : ถ้ าคู่สัญญาฝ่ ายหนึ่งทาสัญญาตกลงว่ าจะชาระหนีแ้ ก่
สัญญาตกลงว่าจะ บุคคลภายนอกไซร้ ท่ านว่ าบุคคลภายนอกมีสิทธิจะเรี ยกชาระหนีจ้ าก
ชาระหนี ้แก่ ลูกหนีโ้ ดยตรงได้
บุคคลภายนอก
ในกรณีดังกล่ าวมาในวรรคต้ นนัน้ สิทธิของบุคคลภายนอกย่ อมเกิด
มีขนึ ้ ตัง้ แต่ เวลาที่แสดงเจตนาแก่ ลูกหนี ้ ว่ าจะถือเอาประโยชน์ จากสัญญา
นัน้
มาตรา 377 วางหลักไว้วา่ : เมื่อเข้ าทาสัญญา ถ้ าได้ ให้ สงิ่ ใดไว้ เป็ นมัดจา ท่ านให้ ถือว่ าการที่
มัดจาถือว่าทา ให้ มัดจานัน้ ย่ อมเป็ นพยานหลักฐานว่ าสัญญานัน้ ได้ ทาขึน้ แล้ ว อนึ่งมัดจานี ้
สัญญาแล้ ว
ย่อมเป็ นประกันการที่จะปฏิบตั ิตามสัญญานันด้ ้ วย
15

มาตรา 378 วางหลักไว้วา่ : มัดจานัน้ ถ้ ามิได้ ตกลงกันไว้ เป็ นอย่างอื่น ท่านให้ เป็ นไป
มัดจา ดังต่อไปนี ้
1. ให้ ส่งคืน หรื อจัดเอาเป็ นการใช้ เงินบางส่วนในเมื่อชาระหนี ้
2. ให้ ริบ ถ้ าฝ่ ายที่วางมัดจาละเลยไม่ชาระหนี ้ หรื อการชาระหนี ้ตกเป็ นพ้ น
วิสยั
3. ให้ ส่งคืน ถ้ าฝ่ ายที่รับมัดจาละเลยไม่ชาระหนี ้ หรื อการชาระหนี ้ตกเป็ นพ้ น
วิสยั
มาตรา 379 วางหลักไว้วา่ : ถ้ าลูกหนีส้ ัญญาแก่ เจ้ าหนีว้ ่ าจะใช้ เงินจานวนหนึ่งเป็ นเบีย้ ปรั บ
เบี ้ยปรับเป็ นเงิน เมื่อตนไม่ ชาระหนีก้ ็ดี หรื อไม่ ชาระหนีใ้ ห้ ถูกต้ องสมควรก็ดี เมื่อลูกหนี ้ผิดนัด
อย่างเดียว
ก็ให้ ริบเบี ้ยปรับ ถ้ าการชาระหนี ้อันจะพึงทานันได้้ แก่งดเว้ นการอันใดอันหนึ่ง หาก
ทาการการอันนันฝ่ ้ าฝื นมูลหนี ้เมื่อใด ก็ให้ ริบเบี ้ยปรับเมื่อนัน้
มาตรา 380 วางหลักไว้วา่ : ถ้ าลูกหนีไ้ ด้ สัญญาไว้ ว่าจะให้ เบีย้ ปรั บเมื่อตนไม่ ชาระหนี ้
เจ้ าหนี ้จะเรี ยกเอา เจ้ าหนีจ้ ะเรี ยกเอาเบีย้ ปรั บอันจะพึงริ บนัน้ แทนการชาระหนีก้ ็ได้ แต่ ถ้า
เบี ้ยปรับแทนการ เจ้ าหนีแ้ สดงต่ อลูกหนีว้ ่ าจะเรี ยกเอาเบีย้ ปรั บฉะนัน้ แล้ วก็เป็ นอันขาดสิทธิ
ชาระหนี ้ก็ได้
เรี ยกร้ องชาระหนีอ้ ีกต่ อไป

You might also like