You are on page 1of 88

41216 : กฎหมายอาญา

ภาคบทบัญญัติทั่วไป
ความผิด และลหุโทษ
CRIMINAL LAW : General Principles,
Offenses and Petty Offenses

แนวข้อสอบ-อัตนัย
ตัวอย่างและการวิเคราะห์คาถาม
คำถำม :
หนึ่ง ชวน สอง เข้าหุ้นประกอบธุรกิจ ขายเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ โดยออกเงินคนละหนึ่งล้านบาท แต่
เมื่อได้เงินค่าหุ้นแล้ว หนึ่ง หักหลัง สอง เอาเงินหลบหนีไป สองโกรธแค้นหนึ่งมาก จึงติดต่อว่าจ้างสามให้ยิง
หนึ่งโดยจะให้ค่าจ้างสาม 50,000 บาท เมื่อทางานเสร็จ สามทราบการจ้างแล้ว แต่นิ่งเฉยไม่รับปากว่าจะยิง
ต่อมาอีกหนึ่งปีสามจาเป็นต้องใช้เงินจึงตกลงใจที่จะทางานตามที่สองจ้าง แต่จะเปลี่ยนวิธีฆ่าโดยใช้ยาพิษ ไม่
ใช้ปืนยิงสองตามที่จ้างแล้ว สามไปขอยาพิษจากสี่ โดยบอกว่าจะเอาไปเบื่อสุนัขแถวบ้าน สี่เชื่อความที่สาม
บอก จึงให้ยาพิษกับสามไปจานวนหนึ่ง จากนั้น สามก็ไปชวนห้าร่วมทางานด้วยกัน โดยปรึกษาหารือวางแผน
ในการฆ่าหนึ่ง เมื่อตกลงใจแล้ว ห้าจึงไปชวนหนึ่งมากินอาหารที่บ้าน สามแอบอยู่ในครัวและเป็นคนเอายาพิษ
ใส่แก้วสุราของหนึ่งหนึ่งดื่มสุราผสมยาพิษนั้น เป็นเหตุให้หนึ่งถึงแก่ความตายในอีกสามวันต่อมา
จงวินิจฉัยว่า สอง สาม สี่ และห้า จะต้องรับผิดทางอาญาหรือไม่ อย่างไร
ตัวอย่างและการวิเคราะห์คาถาม : แผนผัง
ถึงแก่ความตาย
หนึ่ง
ร่วมกันวางแผนฆ่าโดยใช้ยาพิษ
หักหลัง
1.ไม่รับปาก ชักชวน
สอง จ้างยิงหนึ่ง สาม 2.อีก 1 ปี จึงตกลง ห้า
3. แต่เปลี่ยนเป็นใช้ยาพิษ

ขอยาพิษ

สี่ ไม่ทราบข้อเท็จจริงจึงให้ยาพิษไป
ตัวอย่างและการวิเคราะห์คาถาม : การหาประเด็นและแยกประเด็น
• “เป็นเรื่องเกี่ยวกับกำรกระทำควำมผิดอำญำฐำนตัวกำร ผู้ใช้ และผู้สนับสนุน”
• “คำถำมมีสำมประเด็น”
• 1.) สองมีความผิดเป็นผู้ใช้ในการกระทาความผิดหรือไม่
• 2.) สำมและห้ำมีความผิดฐานเป็นตัวกำรหรือไม่
• 3.) สี่มีความผิดฐานเป็นผู้สนับสนุนในการกระทาความผิดหรือไม่
ตัวอย่างและการวิเคราะห์คาถาม : การเขียนคาตอบ
• “เขียนจำกเหตุไปหำผล” หมายถึง การยกหลักกฎหมายหรือตัวบทกฎหมายที่เกี่ยวข้องขึ้นก่อน แล้วจึงนา
ข้อกฎหมายนั้นมาปรับกับข้อเท็จจริง เพื่อวินิจฉัยประเด็นปัญหาตามคาถามและสรุปเป็นธงคาตอบในที่สุด
• (1) กำรยกหลั ก กฎหมำย ยกหลั ก กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ประเด็ น ต่ า ง ๆ ไม่ จ าเป็ น ต้ อ งใส่ เ ลขมาตรา
ก. กรณีตามปัญหาประมวลกฎหมาย..................................เรื่อง....................................วางหลักไว้ว่า................
ข. กรณีตามปัญหาประมวลกฎหมาย.................................. วางหลักไว้ว่า..........................................................
• (2) กำรวินิจฉัยปัญหำ นาหลักกฎหมายที่ยกมาไปปรับใช้กับข้อเท็จจริงหรือการปรับข้อเท็จจริงตามประเด็น
คาถามเข้ากับหลักกฎหมายเพื่อวินิจฉัยนั่นเอง
• (3) ธงคำตอบ หมายถึงการสรุปคาตอบตามประเด็นต่าง ๆ ในคาถามซึ่งต้องตอบให้ตรงประเด็นและครบทุก
ประเด็น
กฎหมายอาญา : สรุปมาตราเน้น&หน่วยเน้น 2/2564
หน่วยเน้น : 2-5,8,10,13,14
หน่วยที่ 2 ความรับผิดทางอาญา : มาตรา 59, 60, 61, 63
หน่วยที่ 3 การพยายามกระทาความผิด : มาตรา 80, 81, 82
หน่วยที่ 4 เหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษ เหตุลดโทษ : มาตรา 62, 65, 67, 71ว.1, 73, 74
หน่วยที่ 5 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการกระทาความผิด : มาตรา 83, 84, 85, 86, 87, 88, 89
หน่วยที่ 8 ความผิดเกี่ยวกับการปกครองและยุติธรรม : มาตรา 136 ถึง 166
หน่วยที่ 10 ความผิดต่อชีวิตและร่างกาย : มาตรา 288, 289, 290, 291, 292, 293, 294, 295, 296, 297, 298, 299, 300
หน่วยที่ 13 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ : มาตรา 334, 335, 336, 337, 338, 339, 340
หน่วยที่ 14 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ : มาตรา 341, 349, 352, 357, 358, 359, 362, 363, 364, 365
ควำมผิดเรื่องเจตนำในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 1 )
1. ปอ. มำตรำ 60 เจตนำโดยพลำด
“ผู้ใดเจตนาที่จะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ผลของการกระทาเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งโดยพลาดไป ให้ถือว่าผู้นั้นกระทาโดยเจตนาแก่บุคคลซึ่งได้รั บผลร้าย
จากการกระทานั้น...”
2. ปอ. มำตรำ 61 สำคัญผิดในตัวบุคคล
“ผู้ใดเจตนาจะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ได้กระทาต่ออีกบุคคลหนึ่งโดยสาคัญผิด ผู้นั้นจะยกเอาความสาคัญผิดเป็นข้อแก้ตัวว่ามิได้กระทาโดยเจตนาหาได้
ไม่”
3. ปอ. มำตรำ 62 ควำมสำคัญผิดในข้อเท็จจริง (ต้องเทียบกับมำตรำ 59 วรรคสำม)
“ข้อเท็จจริงใด ถ้ามีอยู่จริงจะทาให้การกระทาไม่เป็นความผิด หรือทาให้ผู้กระทาไม่ต้องรับโทษ หรือได้รับโทษน้อยลง แม้ข้อเท็จจริงนั้ นจะไม่มีอยู่จริง
แต่ผู้กระทาสาคัญผิดว่ามีอยู่จริง ผู้กระทาย่อมไม่มีความผิด หรือได้รับยกเว้นโทษ หรือได้รับโทษน้อยลง แล้วแต่กรณี”
4. ปอ. มำตรำ 63 ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรกระทำและผล
“ถ้าผลของการกระทาความผิดใดทาให้ผู้กระทาต้องรับโทษหนักขึ้น ผลของการกระทาความผิดนั้นต้องเป็นผลที่ตามธรรมดาย่อมเกิดขึ้นได้”
กฎหมายอาญา : ภาคบทบัญญัติทั่วไป (แนวข้อสอบ 1 )
คำถำม :
นายสมชาย ต้องการฆ่านายสมศักดิ์ซึ่งเป็นคู่อริของตน นายสมชายเห็นนายดาเจ้าพนักงานตารวจ ซึ่ง
กาลังปฏิบัติหน้าที่เดินมาในความมืดนายสมชายใช้ปืนยิงนายดาโดยคิดว่าเป็นนายสมศักดิ์ นายดาถูกยิงถึงแก่
ความตาย นายสมชายต้องรับผิดทางอาญาจากการกระทาดังกล่าวอย่างไร จงอธิบาย

สมศักดิ์
ต้ องการฆ่า

(ฆ่า)สาคัญผิดในตัวบุคคล ดา
สมชาย
(ตารวจ) ตาย
คิดว่าเป็ นนายสมศักดิ์
กฎหมายอาญา : ภาคบทบัญญัติทั่วไป (แนวข้อสอบ 1 )
แนวคำตอบ :
หลักกฎหมำย
กรณีตามปัญหา ประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 61 ) วางหลักไว้ว่า “ผู้ใดเจตนาจะกระทา
ต่อบุคคลหนึ่ง แต่ได้กระทาต่ออีกบุคคลหนึ่งโดยสำคัญผิด ผู้นั้นจะยกเอาความสาคัญผิดเป็นข้อแก้ตัว
ว่ามิได้กระทาโดยเจตนาหาได้ไม่”
วินิจฉัย
การสาคัญผิดในตัวบุคคล หมายความว่า ผู้กระทาได้กระทาต่อบุคคลซึ่งได้รับผลร้ายโดยเข้าใจ
ว่าผู้ได้รับผลร้ายนั้นเป็นอีกบุคคลหนึ่ง และในกรณีที่ผู้ได้รับผลร้ายเป็นอีกบุคคลที่มีฐานะพิเศษ
ถ้าผู้กระทาไม่รู้ว่าตนได้กระทาต่อผู้มีฐานะพิเศษจะถือว่าผู้กระทามีเจตนากระทาต่อบุคคลผู้มีฐานะ
พิเศษไม่ได้แต่ให้ถือว่ามีเจตนากระทาต่อบุคคลธรรมดา
กฎหมายอาญา : ภาคบทบัญญัติทั่วไป (แนวข้อสอบ 1 )
แนวคำตอบ :
วินิจฉัย
จากข้อเท็จจริงการที่นายสมชายเห็นนายดา(เจ้าพนักงาน)ซึ่งกาลังปฏิบัติหน้าที่เดินมาในความมืดโดย
นายสมชายเข้าใจว่านายดาเป็นนายสมศักดิ์คู่อริของตนจึงใช้ปืน ยิงนายดาโดยสาคัญผิด โดยนายสมชายจะแก้
ตัวว่าไม่ได้มีเจตนากับนายดา(ผู้ได้รับผลร้าย)ไม่ได้ ตาม มาตรา 61 แม้ข้อเท็จจริงนายดาจะเป็นเจ้าพนักงาน
ตารวจซึ่งเป็นผู้ได้รับผลร้ายจากความสาคัญผิดนั้นมีฐานะพิเศษก็ตาม เมื่อนายสมชายไม่รู้ข้อเท็จจริงว่ากาลัง
กระทาต่อเจ้าพนักงานก็ให้ถือว่ามีเจตนากระทาต่อบุคคลธรรมดา
สรุป
นายสมชายต้องรับโทษทางอาญาโดยเจตนาฆ่านายดาโดยสาคัญผิดตามที่ได้วินิจฉัยแล้วข้างต้น
กฎหมายอาญา : ภาคบทบัญญัติทั่วไป (แนวข้อสอบ 1 )
วิเครำะห์ :
ตัวอย่ำง : มำตรำ 60
นาย(ก) ยิง นาย(ข) บังเอิญ นาย(ค) เดินผ่านมากระสุนถูกนาย(ข) และทะลุไปถูกนาย(ค) ด้วย
นาย(ข) และนาย(ค) ถึงแก่ความตาย
ควำมผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 2 )
ปอ.มาตรา 334 ลักทรัพย์ คือ กำรเอำทรัพย์ของผู้อื่นหรือผู้อื่นเป็นเจ้ำของรวมอยู่ด้วยโดยทุจริต เช่น กำรเอำสิ่งของที่ของ
บุคคลอื่นวำงไว้ไปขำย
“ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่น หรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไปโดยทุจริต ผู้นั้นกระทาความผิดฐานลักทรัพย์ ต้องระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 336 วิ่งรำวทรัพย์ คือ กำรลักทรัพย์ของผู้อื่นโดยฉกฉวยเอำไปซึ่งหน้ำ ถือว่ำอุกอำจกว่ำกำรลักทรัพย์ธรรมดำ
เช่น กำรกระชำกสร้อยคอผู้อื่น
“ผู้ใดลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้า ผู้นั้นกระทาความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ ต้องระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 337 กรรโชกทรัพย์ คือ กำรข่มขู่ให้ผู้อื่นให้ทรัพย์แก่ตน
“ผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยใช้กาลังประทุษร้าย หรือโดยขู่เข็ ญว่าจะทาอันตราย
ต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียงหรือทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญหรือของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น ผู้นั้น กระทา ความผิดฐานกรรโชก
ต้องระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 338 รีดเอำทรัพย์ คือ กำรข่มขู่เอำประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สินของผู้อื่น โดยกำรเปิดเผยควำมลับของ
ผู้อื่น หรือบุคคลที่ 3
“ผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่น ให้ยอมให้ หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยขู่เข็ญว่าจะเปิดเผยความลับซึ่ง การเปิดเผยนั้นจะทา
ให้ผู้ถูกขู่เข็ญหรือบุคคลที่สามเสียหาย จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น ผู้นั้นกระทาความผิดฐานรีดเอาทรัพย์ ต้องระวางโทษ...”
ควำมผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 2 )
ปอ.มาตรา 339 ชิงทรัพย์ เป็นกำรลักทรัพย์โดยประทุษร้ำย หรือขู่เข็ญว่ำในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้ำย ถือว่ำรุนแรงกว่ำลัก
ทรัพย์ธรรมดำ เช่นกำรใช้อำวุธจี้บังคับ
“ผู้ใดลักทรัพย์โดยใช้กาลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กาลังประทุษร้าย เพื่อ (๑) ให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือการพาทรัพย์นั้นไป
(๒) ให้ยื่นให้ซึ่งทรัพย์นั้น (๓) ยึดถือเอาทรัพย์นั้นไว้ (๔) ปกปิดการกระทาความผิดนั้น หรือ (๕) ให้พ้นจากการจับกุม ผู้นั้นกระทาความผิดฐานชิงทรัพย์ ต้อง
ระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 340 ปล้นทรัพย์ คือกำรชิงทรัพย์โดยร่วมกันกระทำผิดตั้งแต่3คนขึ้นไป ถือเป็นควำมผิดรุนแรงกว่ำชิงทรัพย์
ควำมผิดต่อทรัพย์ ถ้ำใช้อำวุธ หรือ ทำร้ำย ให้เป็นอันตรำยด้วย จะมีโทษเพิ่มหนักขึ้นตำมลำดับ
“ผู้ใดชิงทรัพย์โดยร่วมกันกระทาความผิดด้วยกันตั้งแต่สามคนขึ้นไป ผู้นั้นกระทาความผิดฐานปล้นทรัพย์ ต้องระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 341 ฉ้อโกงทรัพย์ คือ กำรเอำทรัพย์ของผู้อื่นโดยหลอกลวงให้เขำหลงเชื่อ และส่งมอบทรัพย์สินให้
“ผู้ใดโดยทุจริต หลอกลวงผู้อื่นด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้ง และโดยการหลอกลวงดังว่านั้น ได้ไปซึ่งทรัพย์สินจาก
ผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม หรือทาให้ผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม ทา ถอน หรือทาลายเอกสารสิทธิ ผู้นั้นกระทาความผิดฐานฉ้อโกง ต้องระวางโทษ…”
ปอ.มาตรา 352 ยักยอกทรัพย์ คือกำรที่ผู้กระทำผิดครอบครองทรัพย์ของผู้อื่น หรือผู้อื่นเป็นเจ้ำของร่วมอยู่ด้วย เบียดบังเอำ
ทรัพย์นั้นไป
“ผู้ใดครอบครองทรัพย์ซึ่งเป็นของผู้อื่น หรือซึ่งผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย เบียดบังเอาทรัพย์นั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุ จริต ผู้นั้นกระทาความผิดฐาน
ยักยอก ต้องระวางโทษ...”
ควำมผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 2 )
ปอ.มาตรา 357 รับของโจร คือ กำรที่ผู้กระทำผิดได้ช่วยซ่อนเร้น จำหน่ำย พำเอำไป ซื้อไว้ รับจำนำ หรือรับไว้โดยประกำรใดซึ่ง
ทรัพย์ที่ได้มำโดยกระทำผิด (แต่ถ้ำสืบควำมแล้วพบว่ำ ผู้กระทำผิด ไม่ทรำบว่ำของเป็นของใคร หรือทรัพย์ที่ได้มำผิดกฎหมำย ก็จะไม่มีควำมผิด)
“ผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วยจาหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจานาหรือรับไว้โดยประการใดซึ่งทรัพย์อันได้มาโดยการกระทาความผิด ถ้าความผิ ดนั้นเข้าลักษณะลัก
ทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ กรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฉ้อโกง ยักยอก หรือเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ผู้นั้นกระทาความผิดฐานรับของโจร ต้องระวาง
โทษ..”
ปอ.มาตรา 358 ทำให้เสียทรัพย์ คือ กระทำให้ผู้อื่น หรือผู้อื่นเป็นเจ้ำของร่วมด้วยนั้นเสียหำย
“ผู้ใดทาให้เสียหาย ทาลาย ทาให้เสื่อมค่าหรือทาให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ของผู้อื่นหรือผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย ผู้นั้นกระทาความผิดฐานทาให้เสียทรัพย์ ต้อง
ระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 362 บุกรุก คือควำมผิดที่ผู้กระทำผิดได้เข้ำไปในเคหสถำนของผู้อื่น โดยไม่มีเหตุผลอันควร หรือ มีเหตุผลสมควรแต่
ผู้ให้เข้ำไม่ให้อนุญำต ซึ่งเป็นกำรรบกวนกำรครอบครองอสังหำริมทรัพย์ของผู้อื่น
“ผู้ใดเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่น เพื่อถือการครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นทั้งหมดหรือแต่บางส่วน หรือเข้าไปกระทาการใด ๆ อัน เป็นการรบกวนการ
ครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของเขาโดยปกติสุข ต้องระวางโทษ...”
กฎหมายอาญา : ภาคความผิด (แนวข้อสอบ 2 )
คำถำม :
นายเนตรเป็นนักสะสมของเก่า นายเนตรเข้าไปดูของเก่าในร้านของนายอินทร์ เห็นแจกันใบหนึ่งปิด
ราคาไว้ 20,000 บาท และอีกใบหนึ่งปิดราคาไว้ 10,000 บาท นายเนตรอยากได้แจกันที่ปิดราคาไว้ 20,000
บาท นายเนตรจึง สลับป้ายที่ปิดราคาแจกันทั้งสองใบดังกล่าวแล้วนาแจกันที่ราคา 20,000 บาท ไปให้นาย
อินทร์ห่อและชาระราคาเพียง 10,000 บาท นายอินทร์เห็นป้ายราคาที่ติดอยู่ 10,000 บาท จึงขายให้นาย
เนตรในราคา 10,000 บาท
ดังนี้ นายเนตรต้องรับผิดทางอาญาตามประมวลกฎหมายอาญาในความผิด เกี่ยวกับทรัพย์ฐานใด
หรือไม่ เพราะเหตุใด
แจกัน สลับป้ าย แจกัน
10,000 20,000 ราคาจริง 20,000
แจกัน นาไปให้ ห่อ
นายเนตร นายอินทร์
10,000 และชาระเงิน 10,000 บาท
แจกัน สลับป้ าย แจกัน
20,000 10,000 ไม่ทราบข้ อเท็จจริงจึงขายให้
กฎหมายอาญา : ภาคความผิด (แนวข้อสอบ 2 )
แนวคำตอบ :
หลักกฎหมำย
กรณีตามปัญหา ประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 341) วางหลักไว้ว่า “ผู้ใดโดยทุจริต หลอกลวง
ผู้อื่นด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้ง และโดยการหลอกลวง
ดังว่านั้นได้ไปซึ่งทรัพย์สินจากผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม หรือทาให้ผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม
ทา ถอน หรือทาลายเอกสารสิทธิ ผู้นั้นกระทาความผิดฐานฉ้อโกง ต้องระวางโทษ…”
กฎหมายอาญา : ภาคความผิด (แนวข้อสอบ 2 )
แนวคำตอบ :
วินิจฉัย
จากข้อเท็จจริงตามปัญหา การที่นายเนตรเข้าไปดูของเก่าที่ร้านนายอินทร์ เห็นแจกกันใบหนึ่งปิด
ราคาไว้ 20,000 บาท และอีกใบหนึ่งปิดราคาไว้ 10,000 บาท นายเนตรอยากได้แจกันที่ปิดราคาไว้ 20,000
บาท นายเนตรจึงสลับป้ายที่ปิดราคาแจกันทั้งสองใบดังกล่าว แล้วนาแจกันที่ราคา 20,000 บาทไปให้นาย
อินทร์ห่อและชาระราคาเพียง 10,000 บาท การกระทาดังกล่าวถือว่านายเนตรได้หลอกลวงนายอินทร์ผู้ขาย
ให้ขายผิดราคา ด้วยการแสดงข้อควำมอันเป็นเท็จ และนายเนตรกระทาไปโดยมี เจตนำทุจริตเพื่อแสวงหา
ประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งนายอินทร์ก็ได้ขายให้นายเนตรไปในราคา 10,000 บาท การ
หลอกลวงของนายเนตร ทาให้นายเนตรได้ไปซึ่งทรัพย์สินจากผู้ถูกหลอกลวงคือนายอินทร์
สรุป
ดังนี้ นายเนตรต้องรับผิดทางอาญาฐำนฉ้อโกง ตามหลักกฎหมายดังกล่าวมาข้างต้น
กฎหมายอาญา : ภาคความผิด (แนวข้อสอบ 2 )
วิเครำะห์ :
เรื่องผู้มีส่วนร่วมในกำรกระทำควำมผิด: (แนวข้อสอบ 3 )
ปอ. มำตรำ 83 ตัวกำร
“ในกรณีความผิดใดเกิดขึ้นโดยการกระทาของบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป ผู้ที่ได้ร่วมกระทาความผิดด้วยกันนั้นเป็นตัวการ ”
ปอ. มำตรำ 84 ผู้ใช้
“ผู้ใดก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิดไม่ว่าด้วยการใช้ บังคับ ขู่เข็ญ จ้าง วานหรือยุยงส่งเสริม หรือด้วยวิธีอื่นใด ผู้นั้นเป็นผู้ใช้ให้กระทาความผิด “
ปอ. มำตรำ 85 ผู้ใช้ “โดยกำรโฆษณำหรือประกำศ
“ผู้ใดโฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทาความผิด และความผิดนั้นมีกาหนดโทษไม่ต่ากว่าหกเดือน ผู้นั้นต้องระวางโทษกึ่งหนึ่งของโทษที่
กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้น
ถ้าได้มีการกระทาความผิดเพราะเหตุที่ได้มีการโฆษณาหรือประกาศตามความในวรรคแรก ผู้โฆษณาหรือประกาศต้องรับโทษเสมือนเป็นตัวการ ”
ปอ. มำตรำ 86 ผู้สนับสนุน
“ผู้ใดกระทาด้วยประการใด ๆ อันเป็นการช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวกในการที่ผู้อื่นกระทาความผิดก่อนหรือขณะกระทาความผิด แม้ผู้กระทาคว ามผิดจะ
มิได้รู้ถึงการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกนั้นก็ตาม ผู้นั้นเป็นผู้สนับสนุนการกระทาความผิด...”
กฎหมายอาญา : ภาคบทบัญญัติทั่วไป (แนวข้อสอบ 3 )
• คำถำม :
ส่งเดชเป็นเจ้าพนักงานตารวจกาลังไล่จับคนร้ายที่วิ่งหนี ส่งเดชได้ร้องบอกราษฎรที่อยู่บริเวณนั้น
ช่วยจับคนร้าย โดยร้องสั่งด้วยว่า “จับเป็นไม่ได้ให้จับตำย” ราษฎรจึงวิ่งไปช่วยจับคนร้ายจนถึงแก่ความ
ตาย
ส่งเดชจะต้องรับผิดทางอาญาหรือไม่ อย่างไร
ราษฎร

จับตาย (ปอ.มาตรา 288) 1.ประหาร, จาคุกตลอดชีวิต


1. ไล่จับคนร้าย
ส่งเดช(ตารวจ คนร้ าย ผล 2.โทษไม่ต่ากว่า 6 เดือน
2. ตะโกน “จับเป็นไม่ได้ให้จับตาย”
(ตาย) 3.จาคุก 15 ปี ถึง 20 ปี
จับตาย (ปอ.มาตรา 288)

ราษฎร
กฎหมายอาญา : ภาคบทบัญญัติทั่วไป (แนวข้อสอบ 3 )
แนวคำตอบ :
หลักกฎหมำย
กรณีตามปัญหา ประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 85) วางหลักไว้ว่า
“ผู้ใดโฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทาความผิด และความผิดนั้นมีกาหนดโทษไม่ต่ากว่า
หกเดือน ผู้นั้นต้องระวางโทษกึ่งหนึ่งของโทษที่กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้น
ถ้าได้มีการกระทาความผิดเพราะเหตุที่ได้มีการโฆษณาหรือประกาศตามความในวรรคแรก ผู้โฆษณา
หรือประกาศต้องรับโทษเสมือนเป็นตัวการ ”
กฎหมายอาญา : ภาคบทบัญญัติทั่วไป (แนวข้อสอบ 3 )
แนวคำตอบ :
วินิจฉัย
การกระทาของส่งเดชที่ตะโกนว่า “จับเป็นไม่ได้ให้จับตำย” ราษฎรจึงช่วยวิ่งไปจับคนร้ายจนถึงแก่
ความตาม โดยความผิดที่ส่งเดชได้ใช้ให้ผู้อื่นกระทาเป็นความผิดฐานฆ่าผู้อื่นซึ่งมีกาหนดโทษไม่ตากว่า 6 เดือน
และไม่ใช่คาสั่งที่ส่งเดชในฐานะเป็นเจ้าพนักงานจะสั่งให้ราษฎรกระทาการเช่นนั้นได้ ถือว่าเป็นการประกาศแก่
ราษฎรทั่วไปให้กระทาผิด เมื่อราษฎรได้กระทาตามที่ประกาศ ส่งเดชจึงมีความผิดฐานใช้โดยการประกาศแก่
บุคคลทั่วไปให้กระทาความผิด
สรุป
ส่ง เดชมี ควำมผิด ฐำนผู้ใช้ โดยกำรประกำศหรื อโฆษณำแก่บุ คคลทั่วไปให้ กระทาความผิด และ
เนื่องจากมีการกระทาตามที่ประกาศแล้ว ส่งเดชจึงต้องรับโทษเสมือนตัวกำร
เรื่องผู้มีส่วนร่วมในกำรกระทำควำมผิด: (แนวข้อสอบ 4 )
ปอ. มำตรำ 83 ตัวกำร
“ในกรณีความผิดใดเกิดขึ้นโดยการกระทาของบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป ผู้ที่ได้ร่วมกระทาความผิดด้วยกันนั้นเป็นตัวการ ”
ปอ. มำตรำ 84 ผู้ใช้
“ผู้ใดก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิดไม่ว่าด้วยการใช้ บังคับ ขู่เข็ญ จ้าง วานหรือยุยงส่งเสริม หรือด้วยวิธีอื่นใด ผู้นั้นเป็นผู้ใช้ให้กระทาความผิด “
ปอ. มำตรำ 85 ผู้ใช้ “โดยกำรโฆษณำหรือประกำศ
“ผู้ใดโฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทาความผิด และความผิดนั้นมีกาหนดโทษไม่ต่ากว่าหกเดือน ผู้นั้นต้องระวางโทษกึ่งหนึ่งของโทษที่
กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้น
ถ้าได้มีการกระทาความผิดเพราะเหตุที่ได้มีการโฆษณาหรือประกาศตามความในวรรคแรก ผู้โฆษณาหรือประกาศต้องรับโทษเสมือนเป็นตัวการ ”
ปอ. มำตรำ 86 ผู้สนับสนุน
“ผู้ใดกระทาด้วยประการใด ๆ อันเป็นการช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวกในการที่ผู้อื่นกระทาความผิดก่อนหรือขณะกระทาความผิด แม้ผู้กระทาคว ามผิดจะ
มิได้รู้ถึงการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกนั้นก็ตาม ผู้นั้นเป็นผู้สนับสนุนการกระทาความผิด...”
ควำมผิดต่อตำแหน่งหน้ำที่รำชกำร : (แนวข้อสอบ 4 )
ปอ. มำตรำ 147 เจ้ำพนักงำน “ยักยอกทรัพย์”
“ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซื้อ ทา จัดการหรือรักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์นั้นเป็นของตน หรือเป็นของผู้อื่นโดยทุจริต หรือโดยทุจริตยอมให้ผู้อื่น
เอาทรัพย์นั้นเสีย...”
ปอ. มำตรำ 148 เจ้ำพนักงำน “ไถเงิน”
“ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิ ชอบ ข่มขืนใจหรือจูงใจเพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรือหามาให้ซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดแก่ตนเอง
หรือผู้อื่น...”
ปอ. มำตรำ 149 เจ้ำพนักงำน “รับสินบน”
“ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรือสมาชิกสภาเทศบาล เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด
สาหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ เพื่อกระทาการหรือไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งไม่ว่าการนั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่...”
ปอ. มำตรำ 150 เจ้ำพนักงำน “รับสินบนล่วงหน้ำ”
“ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน กระทาการหรือไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งโดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ซึ่งตนได้เรียก รับ หรือยอมจ ะรับไว้
ก่อนที่ตนได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าพนักงานในตาแหน่งนั้น...”
ปอ. มำตรำ 152 เจ้ำพนักงำน “มีส่วนได้ส่วนเสีย”
“ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จัดการหรือดูแลกิจการใด เข้ามีส่วนได้เสียเพื่อประโยชน์สาหรับตนเองหรือผู้อื่น เนื่องด้วยกิจการนั้น...”
กฎหมายอาญา : ภาคความผิด (แนวข้อสอบ 4 )
คำถำม :
ร.ต.อ.ใหญ่รับราชการตารวจ ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชาให้มีหน้าที่ใช้และดูแลรักษาปืนและ
เครื่องกระสุนทั้งหมดในคลังอาวุธของหน่วยงาน ปรากฏว่า ร.ต.อ.ใหญ่ มีความจาเป็นต้องใช้เงิน จึงได้ตกลง
กันกับนายหนึ่ง เพื่อนสนิทของตน ให้มาร่วมกันนาอาวุธปืนของหน่วยงานไปขายเพื่อนาเงินมาแบ่งปันกัน วัน
ก่อเหตุ ร.ต.อ.ใหญ่ รับหน้าที่เข้าไปนาอาวุธปืนออกมาจากคลังอาวุธ ส่วนนายหนึ่งมีหน้าที่ตัดสายไฟกล้อง
วงจรปิด โดยทั้งคู่สามารถนาเอาอาวุธปืนออกมาได้สาเร็จ
ดังนั้น ร.ต.อ.ใหญ่ และนายหนึ่งมีความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการตามประมวลกฎหมายอาญาฐาน
ใดหรือไม่ เพราะเหตุใด (ไม่ต้องตอบมาตรา 157)
กฎหมายอาญา : ภาคความผิด (แนวข้อสอบ 4 )
แนวคำตอบ :
หลักกฎหมำย
กรณีตามปัญหา ประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 147) วางหลักไว้ว่า “ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มี
หน้าที่ซื้อ ทา จัดการหรือรักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์นั้นเป็นของตน หรือเป็นของผู้อื่นโดยทุจริต หรือโดย
ทุจริตยอมให้ผู้อื่นเอาทรัพย์นั้นเสียต้องระวางโทษ...”
กรณีตามปัญหา ประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 86) วางหลักไว้ว่า “ผู้ใดกระทาด้วยประการใด ๆ
อันเป็นการช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวกในการที่ผู้อื่นกระทาความผิดก่อนหรือขณะกระทาความผิด แม้
ผู้กระทาความผิดจะมิได้รู้ถึงการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกนั้นก็ตาม ผู้นั้นเป็นผู้สนับสนุนการกระทา
ความผิด ต้องระวางโทษ...”
กฎหมายอาญา : ภาคความผิด (แนวข้อสอบ 4 )
แนวคำตอบ :
วินิจฉัย
จากข้อเท็จจริงตามปัญหา การที่ ร.ต.อ.ใหญ่เป็นข้าราชการตารวจ ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา
ให้มีหน้าที่ดูแลรักษาปืนและเครื่องกระสุนทั้งหมดของหน่วยงาน ถือได้ว่า ร.ต.อ.ใหญ่ เป็นเจ้าพนักงานที่มี
หน้าที่ดูแลและครอบครองปืนและเครื่องกระสุนของทางราชการ การที่ ร.ต.อ.ใหญ่ ร่วมกับนายหนึ่ง นาอาวุธ
ปืนของหน่วยงานไปขายเพื่อนาเงินมาแบ่งปันกัน การกระทาเช่นนี้ย่อมถือได้ว่า ร.ต.อ.ใหญ่ ได้เบียดบังเอา
ทรัพย์นั้นไปเป็นของตนโดยทุจริต ดังนั้น ร.ต.อ.ใหญ่ จึงมีความผิดฐานเจ้าพนักงานยักยอกตามหลักกฎหมาย
ดังกล่าวมาข้างต้น
กฎหมายอาญา : ภาคความผิด (แนวข้อสอบ 4 )
แนวคำตอบ :
วินิจฉัย
ส่วนนายหนึ่ง ซึ่งได้ร่วมมือกับ ร.ต.อ.ใหญ่ กระทาในลักษณะที่เป็นตัวการร่วมกันกระทาความผิด แต่
เนื่องจากนายหนึ่งไม่ได้เป็นเจ้าพนักงาน นายหนึ่งจึงไม่มีความผิดฐานเจ้าพนักงานยักยอก แต่การกระทาของ
นายหนึ่งถือว่าเป็นผู้สนับสนุนโดยการให้ความช่วยเหลือให้ความสะดวกแก่เจ้าพนักงานในการกระทาความผิด
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 86 ดังนั้น นายหนึ่งจึงต้องรับผิดฐานเป็นผู้สนับสนุนเจ้าพนักงานยักยอก
สรุป
ร.ต.อ.ใหญ่ มีความผิดฐานเจ้าพนักงานยักยอก ส่วนนายหนึ่งต้องรับผิดฐานเป็นผู้สนับสนุน
เจ้าพนักงานยักยอก
กฎหมายอาญา : ภาคความผิด (แนวข้อสอบ 4 )
วิเครำะห์ :
ปอ. มำตรำ 83 ตัวกำร
“ในกรณีความผิดใดเกิดขึ้นโดยการกระทาของบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป ผู้ที่ได้ร่วมกระทาความผิดด้วยกันนั้น
เป็นตัวการ ”
ปอ. มำตรำ 86 ผู้สนับสนุน
“ผู้ใดกระทาด้วยประการใด ๆ อันเป็นการช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวกในการที่ผู้อื่นกระทาความผิดก่อน
หรือขณะกระทาความผิด แม้ผู้กระทาความผิดจะมิได้รู้ถึงการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกนั้นก็ตาม ผู้นั้น
เป็นผู้สนับสนุนการกระทาความผิด...”
เหตุยกเว้นโทษเหตุยกเว้นควำมผิด: (แนวข้อสอบ 5 )
ปอ. มำตรำ 67 จำเป็น
“ผู้ใดกระทาความผิดด้วยความจาเป็น”
(1) เพราะอยู่ในที่บังคับ หรือภายใต้อานาจซึ่งไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือขัดขืนได้ หรือ
(2) เพราะเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพ้นจากภยันตรายที่ใกล้จะถึงและไม่สามารถหลีกเลี่ยงให้พ้นโดยวิธีอื่นใดได้ เมื่อภยันตรายนั้นตนมิได้ก่ อให้เกิดขึ้นเพราะ
ความผิดของตน
ถ้าการกระทานั้นไม่เป็นการเกินสมควรแก่เหตุแล้ว ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ
ปอ. มำตรำ 68 ป้องกัน
“ผู้ใดจาต้องกระทาการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่นให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยัน ตรายที่ใกล้จะถึง
ถ้าได้กระทาพอสมควรแก่เหตุ การกระทานั้นเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด”
ปอ. มำตรำ 82 บันดำลโทสะ
“ผู้ใดพยายามกระทาความผิด หากยับยั้งเสียเองไม่กระทาการให้ตลอด หรือกลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทานั้นบรรลุผล ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสาหรั บการพยายาม
กระทาความผิดนั้น แต่ถ้าการที่ได้กระทาไปแล้วต้องตามบทกฎหมายที่บัญญัติเป็นความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษสาหรับความผิดนั้น ๆ”
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 5 )
คำถำม :
บุตรชายของหาญถูกงูเห่ากัดตอนกลางคืน ในละแวกนั้นกล้าคนเดียวที่มีรถยนต์ หาญไปเรียกกล้า
ว่าจ้างให้ขับรถยนต์พาบุตรชายของตนไปส่งโรงพยาบาล แต่กล้าปฏิเสธ แม่หาญจะขอร้องอย่างใดกล้าก็ไม่ยอม
หาญจึงใช้มีดจี้บังคับ กล้าให้ขับรถ มิฉะนั้นจะแทงกล้า กล้าจึงจาต้องขับรถยนต์พาบุตรชายของหาญไปส่ง
โรงพยาบาล หาญต้องรับผิดทางอาญาหรือไม่
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 5 )
แนวตอบ :
กรณีตามปัญหาประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 67 ) วางหลักไว้ว่า ผู้กระทาความผิดด้วยความจาเป็น
เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพ้นจากภยันตรายที่ใกล้จะถึงและไม่สามารถหลีกเลี่ยงให้พ้นโดยวิธีอื่นใดได้ เมื่อภยันตราย
นั้นตนมิได้ก่อให้เกิดขึ้นเพราะความผิดของตน ถ้าได้กระทาไปพอสมควรแก่เหตุ กฎหมายยกเว้นโทษให้
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 5 )
แนวตอบ :
จากข้ อ เท็ จจริ ง ในปั ญหา การที่ ห าญใช้มี ดจี้ บั ง คั บ กล้า ให้ ขั บ รถยนต์ พ าบุ ตรของตนซึ่ง ถู ก งู เ ห่ ากั ด ไปส่ ง ที่
โรงพยาบาล เห็นได้ว่า เป็นกรณีที่หาญกระทาผิดด้วยความจาเป็น เพราะละแวกนั้นมีกล้าคนเดียวที่มีรถยนต์ การที่หาญ
ทาผิดเช่นนั้น ก็เพื่อจะช่วยบุตรของตนให้พ้นจากภยันตรายเนื่องจากถูก งูเห่ากัด ทั้งภยันตรายนี้ก็ใกล้จะถึงด้วย เพราะ
หากนาบุตรชายส่งโรงพยาบาลไม่ทันบุตรก็ถึงแก่ความตาย ภยันตรายที่จะเกิดขึ้นกับบุตรของหาญ เมื่อเปรียบเทียบกับ
ความผิดที่หาญใช้มีดจี้บังคับกล้าแล้ว ก็เห็นได้ว่า หาญได้กระทาไปพอสมควรแก่เหตุ
การกระทาของหาญจึงเป็นการกระทาผิดด้วยความจาเป็น หาญไม่ต้องรับผิดทางอาญา (หมายความว่า
กฎหมายยกเว้นโทษให้)
คดีอำญำเรื่องกำรพยำยำมกระทำควำมผิด : (แนวข้อสอบ 6 )
ปอ. มำตรำ 80 พยำยำมกระทำควำมผิด
“ผู้ใดลงมือกระทาความผิดแต่กระทาไปไม่ตลอด หรือกระทาไปตลอดแล้วแต่การกระทานั้นไม่บรรลุผล ผู้นั้นพยายามกระทาความผิด ...”
ปอ. มำตรำ 81 พยำยำม ไม่บรรลุผลอย่ำงแน่แท้
“ผู้ใดกระทาการโดยมุ่งต่อผลซึ่งกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด แต่การกระทานั้นไม่สามารถจะบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ เพราะเหตุปัจจัยซึ่งใช้ใ นการกระทา
หรือเหตุแห่งวัตถุที่มุ่งหมายกระทาต่อ ให้ถือว่าผู้นั้นพยายามกระทาความผิด...
ถ้าการกระทาดังกล่าวในวรรคแรกได้กระทาไปโดยความเชื่ออย่างงมงาย ศาลจะไม่ลงโทษก็ได้ ”
ปอ. มำตรำ 82 ผลของกำรยับยั้ง กลับใจ แก้ไข ของผู้กระทำ
“ผู้ใดพยายามกระทาความผิด หากยับยั้งเสียเองไม่กระทาการให้ตลอด หรือกลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทานั้นบรรลุผล ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสาหรั บการ
พยายามกระทาความผิดนั้น แต่ถ้าการที่ได้กระทาไปแล้วต้องตามบทกฎหมายที่บัญญัติเป็นความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษสาหรับความผิดนั้น ๆ ”
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 6 )
คำถำม :
นายพันเป็นหมอผีเชี่ยวชาญทางคาถาอาคม มีผู้มาว่าจ้างให้นายพันใช้อาคมฆ่านายปอ นายพันจึงทาพิธีเรียกผี
พรายให้ไปหักคอนายปอ ระหว่างที่นายพันทาพิธีเรียกผีพรายอยู่นั้น นายปอขับรถยนต์ไปต่างจังหวัดและเกิดอุบัติเหตุ
ขับรถชนต้นตะเคียนข้างทาง นายปอคอหักตาย ให้วินิจฉัยความผิดทางอาญาของนายพัน
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 6 )
แนวตอบ :
กรณีตามปัญหาประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 81 ) วางหลักไว้ว่า ผู้ที่กระทาการโดยมุ่งต่อผลที่กฎหมายถือ
เป็นความผิดแต่การกระทานั้นไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ เพราะเหตุปัจจัยซึ่งใช้ในการกระทา หรือเหตุแห่งวัตถุที่
มุ่งหมายกระทาต่อ กฎหมายถือว่าเป็นการพยายามกระทาความผิด ถ้าการกระทาดังกล่าวเป็นไปด้วยความเชื่ออย่างงม
งาย ศาลจะไม่ลงโทษก็ได้
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 6 )
แนวตอบ :
จากข้อเท็จจริงในปัญหา การที่นายพันทาพิธีเรียกผีพรายให้ไปหักคอนายปอ แสดงว่านายพันได้
กระทาไปโดยมุ่งหมายให้นายปอตาย ซึ่งหากผลเช่นนั้นเกิดขึ้นย่อมเป็นการผิดกฎหมายแต่วิธีการที่นายพัน
กระทาคือเรียกผีพรายไปหักคอ เป็น วิธีการที่ไม่อาจบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ คือปัจจัยที่ใช้ในการกระทาไม่อาจ
ทาให้บรรลุผล
ฉะนั้น การกระทาของนายพันจึงมีความผิดฐานพยายามฆ่าคน แต่การเรียกผีพรายไปหักคอคน เห็น
ได้ว่า เป็นการกระทาที่ไม่มีเหตุผล เป็นความงมงายของผู้กระทา ถือได้ว่านายพันได้ กระทาลงไปด้วยความงม
งาย ฉะนั้นกรณีนี้ศาลจะไม่ลงโทษนายพันก็ได้
ควำมผิดเรื่องเจตนำในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 7 )
ปอ. มำตรำ 59 วรรค 1 บุคคลจะรับผิดในทางอาญาเมื่อกระทาโดยเจตนา
“บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทาโดยเจตนา เว้นแต่จะได้กระทาโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ต้องรับผิดเมื่อได้กร ะทาโดย
ประมาท หรือเว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ได้กระทาโดยไม่มีเจตนา”
ปอ. มำตรำ 59 วรรค 2 เจตนาประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล
“กระทาโดยเจตนา ได้แก่กระทาโดยรู้สานึกในการที่กระทาและในขณะเดียวกันผู้กระทาประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทานั้น”
ปอ. มำตรำ 59 วรรค 3 การกระทาต้องรู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบความผิด
“ถ้าผู้กระทามิได้รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของความผิด จะถือว่าผู้กระทาประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทานั้นมิได้”
ปอ. มำตรำ 59 วรรค 4 การกระทาโดยประมาท
“กระทาโดยประมาท ได้แก่กระทาความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทาโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและ
พฤติการณ์ และผู้กระทาอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”
ปอ. มำตรำ 59 วรรค 5 การงดเว้นการกระทา
การกระทา ให้หมายความรวมถึงการให้เกิดผลอันหนึ่งอันใดขึ้นโดยงดเว้นการที่จักต้องกระทาเพื่อป้องกันผลนั้นด้วย
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 7 )
คำถำม :
มะโรงเอาปืนพกออกมาทาความสะอาด เสร็จแล้วจึงยกปืนเล็งไปยังมะเส็งเพื่อล้อเล่น โดยเข้าใจว่าปืน
ไม่มีกระสุนเหลืออยู่ในลูกโม่และเหนี่ยวไกปืน บังเอิญมีกระสุนค้างอยู่ในปืนลูกโม่ 1 นัด ปืนจึงลั่นขึ้น กระสุน
ปืนถูกมะเส็งตาย มะโรงถูกดาเนินคดีในข้อหาฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา จงวินิจฉัยว่าข้อหานี้ถูกต้องหรือไม่
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 7 )
แนวตอบ :
กรณีตามปัญหาประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 59 วรรค 2 ) วางหลักไว้ว่า การกระทาโดยเจตนา
หมายถึงการกระทาที่ผู้กระทาประสงค์ต่อผลของการกระทา หรือเล็งเห็นผลของการกระทานั้น
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 7 )
แนวตอบ :
กรณีตามปัญหา การที่มะโรงเล็งปืนไปที่มะเส็งเพื่อล้อเล่น แสดงว่ามะโรงไม่ได้มีเจตนาฆ่า มะเส็ง
ดังนั้นการดาเนินคดีกับมะโรงในข้อหาฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา จึงไม่ถูกต้อง เพราะมะโรงไม่ได้มีเจตนาดังที่กล่าว
มาแล้ว
อย่างไรก็ตาม การกระทาของมะโรงถือเป็นการกระทาโดยประมาทได้ ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 59 วรรค 4 การกระทาโดยประมาท หมายถึง “การกระทาความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่การ
กระทาโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นว่านั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์และผู้กระทา
อาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 7 )
แนวตอบ :
จากข้ อ เท็ จ จริ ง ในปั ญ หา มะโรงเอาปื น เล็ ง ไปที่ ม ะเส็ ง เพื่ อ ล้ อ เล่ น มะโรงถื อ อาวุ ธ ควรจะต้ อ ง
ระมัดระวังโดยตรวจตราดูก่อนว่า ปืนมีลูกกระสุนหลงเหลืออยู่หรือไม่ก่อนจะเหนี่ยวไกปืน การที่มะโรงไม่ใช้
ความระมัดระวังเช่นนี้จึงเป็นการผิดวิสัยของผู้ถืออาวุธปืน ทั้งมะโรงก็อาจใช้ความระมัดระวังนั้นได้ แต่ก็มิได้ใช้
การกระทาของมะโรงจึงเป็นการกระทาโดยประมาท เมื่อกระสุนปืนลั่นถูกมะเส็งตายก็เป็นการกระทา
ให้ผู้อื่นตายโดยประมาท
ควำมผิดเรื่องเจตนำในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 8 )
ปอ. มำตรำ 60 เจตนำโดยพลำด
“ผู้ใดเจตนาที่จะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ผลของการกระทาเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งโดยพลาดไป ให้ถือว่าผู้นั้นกระทาโดยเจตนาแก่บุคคลซึ่งได้รั บผลร้าย
จากการกระทานั้น...”
ปอ. มำตรำ 61 สำคัญผิดในตัวบุคคล
“ผู้ใดเจตนาจะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ได้กระทาต่ออีกบุคคลหนึ่งโดยสาคัญผิด ผู้นั้นจะยกเอาความสาคัญผิดเป็นข้อแก้ตัวว่ามิได้กระทาโดยเจตนาหาได้
ไม่”
ปอ. มำตรำ 62 ควำมสำคัญผิดในข้อเท็จจริง (ต้องเทียบกับมำตรำ 59 วรรคสำม)
“ข้อเท็จจริงใด ถ้ามีอยู่จริงจะทาให้การกระทาไม่เป็นความผิด หรือทาให้ผู้กระทาไม่ต้องรับโทษ หรือได้รับโทษน้อยลง แม้ข้อเท็จจริงนั้ นจะไม่มีอยู่จริง
แต่ผู้กระทาสาคัญผิดว่ามีอยู่จริง ผู้กระทาย่อมไม่มีความผิด หรือได้รับยกเว้นโทษ หรือได้รับโทษน้อยลง แล้วแต่กรณี”
ปอ. มำตรำ 63 ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรกระทำและผล
“ถ้าผลของการกระทาความผิดใดทาให้ผู้กระทาต้องรับโทษหนักขึ้น ผลของการกระทาความผิดนั้นต้องเป็นผลที่ตามธรรมดาย่อมเกิดขึ้นได้”
ควำมผิดในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 8 )
ปอ. มำตรำ 71
“ความผิดตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๓๔ ถึงมาตรา ๓๓๖ วรรคแรก และมาตรา ๓๔๑ ถึงมาตรา
๓๖๔ นั้น ถ้าเป็นการกระทาที่สามีกระทาต่อภริยา หรือภริยากระทาต่อสามี ผู้กระทาไม่ต้องรับโทษ
ความผิดดังระบุมานี้ ถ้าเป็นการกระทาที่ผู้บุพกำรีกระทาต่อผู้สืบสันดำน ผู้สืบสันดานกระทาต่อผู้
บุพการี หรือพี่หรือน้องร่วมบิดำมำรดำเดียวกันกระทาต่อกัน แม้กฎหมายมิได้บัญญัตใิ ห้เป็นความผิดอันยอม
ความได้ ก็ให้เป็นควำมผิดอันยอมควำมได้ และนอกจากนั้น ศำลจะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกาหนดไว้
สาหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้ ”
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 8 )
คำถำม :
นายเล็กไปเที่ยวงานวัด เห็นร่มและรองเท้าของนางแดงสวยมาก เกิดความอยากได้ นายเล็กสบโอกาส
เมื่อนางแดงเข้าไปกราบพระพุทธรูปในพระอุโบสถ โดยวางร่มและรองเท้าไว้หน้าประตูพระอุโบสถรวมกับ
ของคนอื่น ๆ นายเล็กจึงเดินไปที่ประตูพระอุโบสถ หยิบร่มคันหนึ่งและรองเท้าอีกคู่หนึ่งโดยนายเล็กคิดว่า
เป็นร่มและรองเท้าของนางแดง แต่ปรากฏว่า ร่มคันนั้นเป็นของนางสายภริยานายเล็กเอง และรองเท้าก็เป็น
ของนางมียายของนายเล็ก ซึ่งนางสายและนางมีได้เข้าไปในพระอุโบสถก่อนหน้านางแดง จงวินิจฉัยว่านาย
เล็กต้องรับผิดทางอาญาหรือไม่
คิดว่ าเป็ นของ “นางแดง”
ร่ม ความจริง : เป็ นของนางสายภริยานายเล็ก
โขมย
นายเล็ก นางแดง
คิดว่ าเป็ นของ “นางแดง”
รองเท้ า ความจริง : เป็ นของนางมียายของนายเล็ก
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 8 )
แนวตอบ :
กรณีตามปัญหาประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 61) วางหลักไว้ว่า ในกรณีที่ผู้กระทาเจตนากระทา
ต่อบุคคลหนึ่ง แต่ได้กระทาต่ออีกบุคคลหนึ่งโดยสาคัญผิด ผู้สาคัญผิดจะยกมาแก้ตัวว่ามิได้กระทาผิดโดย
เจตนาไม่ได้
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 8)
แนวตอบ :
จากข้อเท็จจริงในปัญหา การที่นายเล็กลักร่มและรองเท้าโดยคิดว่าเป็นของนางแดงและความจริงร่ม
เป็นของนางสายและรองเท้าเป็นของนางมี จึงเป็นการกระทาโดยสาคัญผิดในตัวเจ้าของทรัพย์ นายเล็กจะ
ปฏิเสธว่าไม่ได้กระทาโดยเจนาไม่ได้ ต้องถือว่านายเล็กได้กระทาโดยมีเจตนาลักร่มของนางสายและลักรองเท้า
ของนางมี
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 71 วางหลักไว้ว่า ความผิดฐานลักทรัพย์ ถ้าสามีกระทาต่อภริยา
หรือ ภริยากระทาต่อสามี ผู้กระทาได้รับการยกเว้นโทษ และความผิดนี้ถ้าบุพการีได้กระทาต่อผู้สืบสันดาลหรือ
ผู้สืบสันดานกระทาต่อบุพการีกฎหมายให้เป็นความผิดอันยอมความได้และศาลจะลงโทษผู้กระทาผิดน้อยกว่า
ที่กฎหมายกาหนดไว้เพียงใดก็ได้
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 8)
สรุป :
ฉะนั้นในประเด็นที่นายเล็กลักร่มของนางสายเมื่อนางสายเป็นภริยาของนายเล็ก ก็เป็นกรณีที่สามีลัก
ทรัพย์ของภริยา นำยเล็กจึงไม่ต้องรับโทษในกำรลักร่มของนำงสำย ส่วนประเด็นที่นายเล็กลักรองเม้าของ
นางมี เมื่อนางมีเป็นยายของนายเล็ก นางมีจึงเป็นบุพการีของนายเล็ก กรณีนี้จึงเป็นเรื่องนายเล็กลักทรัพย์
บุพการีของตน ซึ่งกฎหมายให้เป็นความผิดอันยอมความได้ และศาลจะลงโทษน้อยเพียงใดก็ได้ นำยเล็กจึง
ต้องรับผิดทำงอำญำฐำนลักทรัพย์นำงมี
คดีอำญำเรื่องกำรพยำยำมกระทำควำมผิด : (แนวข้อสอบ 9 )
ปอ. มำตรำ 80 พยำยำมกระทำควำมผิด
“ผู้ใดลงมือกระทาความผิดแต่กระทาไปไม่ตลอด หรือกระทาไปตลอดแล้วแต่การกระทานั้นไม่บรรลุผล ผู้นั้นพยายามกระทาความผิด ...”
ปอ. มำตรำ 81 พยำยำม ไม่บรรลุผลอย่ำงแน่แท้
“ผู้ใดกระทาการโดยมุ่งต่อผลซึ่งกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด แต่การกระทานั้นไม่สามารถจะบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ เพราะเหตุปัจจัยซึ่งใช้ใ นการกระทา
หรือเหตุแห่งวัตถุที่มุ่งหมายกระทาต่อ ให้ถือว่าผู้นั้นพยายามกระทาความผิด...
ถ้าการกระทาดังกล่าวในวรรคแรกได้กระทาไปโดยความเชื่ออย่างงมงาย ศาลจะไม่ลงโทษก็ได้ ”
ปอ. มำตรำ 82 ผลของกำรยับยั้ง กลับใจ แก้ไข ของผู้กระทำ
“ผู้ใดพยายามกระทาความผิด หากยับยั้งเสียเองไม่กระทาการให้ตลอด หรือกลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทานั้นบรรลุผล ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสาหรั บการ
พยายามกระทาความผิดนั้น แต่ถ้าการที่ได้กระทาไปแล้วต้องตามบทกฎหมายที่บัญญัติเป็นความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษสาหรับความผิดนั้น ๆ ”
ควำมผิดเรื่องเจตนำในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 9 )
ปอ. มำตรำ 60 เจตนำโดยพลำด
“ผู้ใดเจตนาที่จะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ผลของการกระทาเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งโดยพลาดไป ให้ถือว่าผู้นั้นกระทาโดยเจตนาแก่บุคคลซึ่งได้รั บผลร้าย
จากการกระทานั้น...”
ปอ. มำตรำ 61 สำคัญผิดในตัวบุคคล
“ผู้ใดเจตนาจะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ได้กระทาต่ออีกบุคคลหนึ่งโดยสาคัญผิด ผู้นั้นจะยกเอาความสาคัญผิดเป็นข้อแก้ตัวว่ามิได้กระทาโดยเจตนาหาได้
ไม่”
ปอ. มำตรำ 62 ควำมสำคัญผิดในข้อเท็จจริง (ต้องเทียบกับมำตรำ 59 วรรคสำม)
“ข้อเท็จจริงใด ถ้ามีอยู่จริงจะทาให้การกระทาไม่เป็นความผิด หรือทาให้ผู้กระทาไม่ต้องรับโทษ หรือได้รับโทษน้อยลง แม้ข้อเท็จจริงนั้ นจะไม่มีอยู่จริง
แต่ผู้กระทาสาคัญผิดว่ามีอยู่จริง ผู้กระทาย่อมไม่มีความผิด หรือได้รับยกเว้นโทษ หรือได้รับโทษน้อยลง แล้วแต่กรณี”
ปอ. มำตรำ 63 ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรกระทำและผล
“ถ้าผลของการกระทาความผิดใดทาให้ผู้กระทาต้องรับโทษหนักขึ้น ผลของการกระทาความผิดนั้นต้องเป็นผลที่ตามธรรมดาย่อมเกิดขึ้นได้”
ควำมผิดเรื่องเจตนำในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 9 )
ปอ. มำตรำ 59 วรรค 1 บุคคลจะรับผิดในทางอาญาเมื่อกระทาโดยเจตนา
“บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทาโดยเจตนา เว้นแต่จะได้กระทาโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ต้องรับผิดเมื่อได้กร ะทาโดย
ประมาท หรือเว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ได้กระทาโดยไม่มีเจตนา”
ปอ. มำตรำ 59 วรรค 2 เจตนาประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล
“กระทาโดยเจตนา ได้แก่กระทาโดยรู้สานึกในการที่กระทาและในขณะเดียวกันผู้กระทาประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทานั้น”
ปอ. มำตรำ 59 วรรค 3 การกระทาต้องรู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบความผิด
“ถ้าผู้กระทามิได้รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของความผิด จะถือว่าผู้กระทาประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทานั้นมิได้”
ปอ. มำตรำ 59 วรรค 4 การกระทาโดยประมาท
“กระทาโดยประมาท ได้แก่กระทาความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทาโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและ
พฤติการณ์ และผู้กระทาอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”
ปอ. มำตรำ 59 วรรค 5 การงดเว้นการกระทา
การกระทา ให้หมายความรวมถึงการให้เกิดผลอันหนึ่งอันใดขึ้นโดยงดเว้นการที่จักต้องกระทาเพื่อป้องกันผลนั้นด้วย
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 9 )
คำถำม :
นายโตใช้ปืนยิงสุนัขของนายอ้วน แต่ไม่ถูก กระสุนปืนไปถูกนายใหญ่ซึ่งนั่งคุยกับนายอ้วนอยู่ในบ้าน
ถึงแก่ความตาย ดังนี้นายโตต้องรับผิดทางอาญาหรือไม่
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 9 )
แนวตอบ :
กรณีตามปัญหาประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 60) วางหลักไว้ว่า ผู้ที่เจตนากระทาต่อบุคคลหนึ่ง
แต่ผลของการกระทาเกิดแก่อีกคนโดยพลาดไป กฎหมายถือว่าผู้นั้นได้กระทาโดยเจตนาแก่บุคคลซึ่งได้รับ
ผลร้ายจากการกระทาโดยพลาดนี้
จากข้อเท็จจริงในปัญหานายโตใช้ปืนยิงสุนัขของนายอ้วน แต่ไม่ถูก กระสุนปืนไปถูกนายใหญ่ซึ่งนั่งคุย
อยู่กับนายอ้วนถึงแก่ความตาย การกระทาของนายโตเป็นการกระทาโดยเจตนาต่อทรัพย์คือสุนัข แต่ผลของ
การกระทาไปเกิดแก่บุคคลคือนายใหญ่ จึงมิใช่การกระทาโดยพลาดตามหลักกฎหมายข้างต้น ไม่ถือว่านายโต
ได้กระทาโดยเจนาต่อนายใหญ่
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 9 )
แนวตอบ :
การที่นายโตใช้ปืนยิงสุนัขของนายอ้วนนายโตมีเจตนาทาให้ทรัพย์ของนายอ้วนเสียหาย หรือทาลาย
ทรัพย์นายอ้วน แต่ผลไม่เกิดขึ้นตามเจตนาของนายโต นายโตจึงต้องรับผิดทางอาญาฐานพยายามกระทาให้
ทรัพย์ของผู้อื่นเสียหาย เพราะนายโตได้ลงมือกระทาความผิด และกระทาไปตลอดแล้ว แต่การกระทาไม่
บรรลุผลตามเจตนา ซึ่งการกระทาเช่นนี้ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 80 ถือว่าเป็นการพยายามกระทา
ความผิดนายโตจึงต้องรับผิดทางอาญาในการกระทานี้
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 9)
แนวตอบ :
ส่วนที่กระสุนไปถูกนายใหญ่ถึงแก่ความตายนั้น เป็นกรณีที่ นายโตไม่ได้มีเจตนาฆ่านายใหญ่ แต่การ
กระทาของนายโตเห็นได้ว่าเป็นการกระทาที่ ปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลที่อยู่ ในภาวะที่ใช้อาวุธ
ร้ายแรงควรมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และนายโตก็อาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้แต่กลับไม่ใช้ความ
ระมัดระวังให้เพียงพอ ซึ่ง ปอ.มาตรา 59 วรรค 4 ถือว่าเป็นการกระทาโดยประมาท ฉะนั้นการที่กระสุนปืน
ถูกนายใหญ่ตาย จึงเกิดจากการกระทาโดยประมาทของนายโต นายโตจึงต้องรับผิดทางอาญาฐานกระทา
โดยประมาทให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
สรุป :
ความผิดทั้งสองกรณีของนายโตเป็นการกระทากรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท ซึ่งต้องรับโทษตาม
บทหนัก ฉะนั้นนายโตจึงต้องรับโทษเฉพาะกรณีทาให้บุคคลคลอื่นถึงแก่ความตายโดยประมาท
เรื่องผู้มีส่วนร่วมในกำรกระทำควำมผิด: (แนวข้อสอบ 11 )
ปอ. มำตรำ 83 ตัวกำร
“ในกรณีความผิดใดเกิดขึ้นโดยการกระทาของบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป ผู้ที่ได้ร่วมกระทาความผิดด้วยกันนั้นเป็นตัวการ ”
ปอ. มำตรำ 84 ผู้ใช้
“ผู้ใดก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิดไม่ว่าด้วยการใช้ บังคับ ขู่เข็ญ จ้าง วานหรือยุยงส่งเสริม หรือด้วยวิธีอื่นใด ผู้นั้นเป็นผู้ใช้ให้ กระทาความผิดผู้ใช้ต้องรับโทษ
เสมือนตัวการ “
ปอ. มำตรำ 85 ผู้ใช้ “โดยกำรโฆษณำหรือประกำศ
“ผู้ใดโฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทาความผิด และความผิดนั้นมีกาหนดโทษไม่ต่ากว่าหกเดือน ผู้นั้นต้องระวางโทษกึ่งหนึ่งของโทษ
ที่กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้น
ถ้าได้มีการกระทาความผิดเพราะเหตุที่ได้มีการโฆษณาหรือประกาศตามความในวรรคแรก ผู้โฆษณาหรือประกาศต้องรับโทษเสมือนเป็นตัวการ ”
ปอ. มำตรำ 86 ผู้สนับสนุน
“ผู้ใดกระทาด้วยประการใด ๆ อันเป็นการช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวกในการที่ผู้อื่นกระทาความผิดก่อนหรือขณะกระทาความผิด แม้ผู้กระทาความผิดจะ
มิได้รู้ถึงการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกนั้นก็ตาม ผู้นั้นเป็นผู้สนับสนุนการกระทาความผิด...”
คดีอำญำเรื่องกำรพยำยำมกระทำควำมผิด : (แนวข้อสอบ 11 )
ปอ. มำตรำ 80 พยำยำมกระทำควำมผิด
“ผู้ใดลงมือกระทาความผิดแต่กระทาไปไม่ตลอด หรือกระทาไปตลอดแล้วแต่การกระทานั้นไม่บรรลุผล ผู้นั้นพยายามกระทาความผิด ...”
ปอ. มำตรำ 81 พยำยำม ไม่บรรลุผลอย่ำงแน่แท้
“ผู้ใดกระทาการโดยมุ่งต่อผลซึ่งกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด แต่การกระทานั้นไม่สามารถจะบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ เพราะเหตุปัจจัยซึ่งใช้ใ นการกระทา
หรือเหตุแห่งวัตถุที่มุ่งหมายกระทาต่อ ให้ถือว่าผู้นั้นพยายามกระทาความผิด...
ถ้าการกระทาดังกล่าวในวรรคแรกได้กระทาไปโดยความเชื่ออย่างงมงาย ศาลจะไม่ลงโทษก็ได้ ”
ปอ. มำตรำ 82 ผลของกำรยับยั้ง กลับใจ แก้ไข ของผู้กระทำ
“ผู้ใดพยายามกระทาความผิด หากยับยั้งเสียเองไม่กระทาการให้ตลอด หรือกลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทานั้นบรรลุผล ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสาหรั บการ
พยายามกระทาความผิดนั้น แต่ถ้าการที่ได้กระทาไปแล้วต้องตามบทกฎหมายที่บัญญัติเป็นความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษสาหรับความผิดนั้น ๆ ”
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 11 )
คำถำม :
นายสมต้องการทาร้ายนายเล็ก แต่ไม่กล้าทาเอง เพราะกลัวความผิด จึงไปหลอกนายใหญ่ว่านายเล็ก
ลวนลามทาอนาจารภรรยานายใหญ่ในร้านอาหาร ซึ่งไม่เป็นความจริง นายใหญ่ได้ฟังก็โกรธมาก หยิบปืนพก
เหน็บสะเอวเดินไปบ้านนายเล็ก พอเจอนายเล็ก นายใหญ่ก็ชักปืนยิงนายเล็ก ทันที แต่บังเอิญ ปืนไม่มีลูก
กระสุน นายเล็กจึงไม่เป็นอันตราย ถ้าท่านเป็นศาล จะตัดสินกรณีนี้อย่างไร
เล็กไม่เป็ นอันตราย
ปื นไม่มีลูกกระสุ น
นายเล็ก
ต้องการฆ่า
นายใหญ่
หลอกใหญ่
หลอกว่าเล็กลวนลามภรรยาใหญ่ 1. ใหญ่หลงเชื่อ
2. ใหญ่ชกั ปื นยิงเล็ก
นายสม
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 11 )
แนวตอบ :
กรณีตามปัญหาประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 84) วางหลักไว้ว่า ผู้ใดก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิดไม่
ว่าด้วยการใช้ บังคับ ขู่เข็ญ จ้าง วานหรือยุยงส่งเสริม หรือด้วยวิธีอื่นใด ผู้นั้นเป็นผู้ใช้ให้กระทาความผิด ผู้ใช้
ต้องรับโทษเสมือนตัวการ
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 11 )
แนวตอบ :
ตามข้อเท็จจริงในปัญหา การที่นายสมหลอกนายใหญ่ว่า นายเล็กลวนลามภรรยานายใหญ่ ทาให้นาย
ใหญ่โกรธจึงไปทาร้ายนายเล็ก นั้น ถือได้ว่า นายสมเป็นผู้ก่อให้นายใหญ่กระทาความผิด เพราะการหลอก
เช่ นนั้ นเป็นเหตุให้นายใหญ่ตัดสินใจจะยิงนายเล็ก นายสมจึ ง ต้องรับผิดทางอาญาฐานเป็นผู้ใช้ให้กระทา
ความผิด
การที่นายใหญ่ใช้ปืนยิงนายเล็ก แต่บังเอิญไม่มีกระสุนนั้น การกระทาของนายใหญ่จึงเป็นการกระทา
ที่เป็นไปไม่ได้อย่างเด็ดขาด ถึงจะยิงอย่างไร ก็ไม่ทาให้นายเล็กตายได้แน่นอน
ประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 81) วางหลักไว้ว่า ผู้ใดกระทาความผิดแต่การกระทานั้นไม่สามารถ
บรรลุผลได้อย่างแน่แท้ เพราะเหตุปัจจัยซึ่งใช้ในการกระทา หรือเหตุที่วัตถุ ถุที่มุ่งหมายกระทาต่อ ให้ถือว่า
เป็นการพยายามกระทาความผิด แต่ลงโทษไม่เกินกึ่งหนึ่งของความผิดนั้น การที่ใช้ปืนไม่มีลูกกระสุนยิง เป็น
การกระทาผิดที่ไม่สามารถบรรลุผลได้แน่แท้เพราะเหตุปัจจัยที่ใช้กระทา นายใหญ่จึงต้องรับผิดฐานพยายาม
ฆ่ า ผู้ อื่ น แต่ จ ะได้ รั บ โทษไม่ เ กิ น กึ่ ง หนึ่ ง ของความผิ ด นายสมซึ่ ง เป็ น ผู้ ใ ช้ ใ ห้ ก ระท าความผิ ด ก็ รั บ โทษ
เช่นเดียวกับนายใหญ่
ควำมผิดต่อตำแหน่งหน้ำที่รำชกำร : (แนวข้อสอบ 12 )
ปอ. มำตรำ 147 เจ้ำพนักงำน “ยักยอกทรัพย์”
“ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซื้อ ทา จัดการหรือรักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์นั้นเป็นของตน หรือเป็นของผู้อื่นโดยทุจริต หรือโดยทุจริตยอมให้ผู้อื่น
เอาทรัพย์นั้นเสีย...”
ปอ. มำตรำ 148 เจ้ำพนักงำน “ไถเงิน”
“ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิ ชอบ ข่มขืนใจหรือจูงใจเพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรือหามาให้ซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดแก่ตนเอง
หรือผู้อื่น...”
ปอ. มำตรำ 149 เจ้ำพนักงำน “รับสินบน”
“ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรือสมาชิกสภาเทศบาล เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด
สาหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ เพื่อกระทาการหรือไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งไม่ว่าการนั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่...”
ปอ. มำตรำ 150 เจ้ำพนักงำน “รับสินบนล่วงหน้ำ”
“ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน กระทาการหรือไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งโดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ซึ่งตนได้เรียก รับ หรือยอมจ ะรับไว้
ก่อนที่ตนได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าพนักงานในตาแหน่งนั้น...”
ปอ. มำตรำ 152 เจ้ำพนักงำน “มีส่วนได้ส่วนเสีย”
“ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จัดการหรือดูแลกิจการใด เข้ามีส่วนได้เสียเพื่อประโยชน์สาหรับตนเองหรือผู้อื่น เนื่องด้วยกิจการนั้น...”
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 12 )
คำถำม :
นายทองเป็นผู้อานวยการโรงเรียนรัฐบาลมีชื่อเสียงแห่งหนึ่ง นายเทพได้นาบุตรชายของตนมาสอบเข้า
โรงเรียนนั้น ในขณะที่รอฟังผลสอบ นายเทพร้อนใจกลัวว่าบุตรของตนจะสอบไม่ผ่าน จึงไปพบนายทองซึ่ง
เป็นผู้มีอานาจรับนักเรียนโดยตรง และขอร้องให้นายทองช่วยบุตรชายของตนให้สอบผ่าน โดยเสนอจะซื้อ
รถจักรยานยนต์ให้บุตรชายของนายทอง 1 คัน นายทองอยากให้บุตรชายของตนมีรถใช้ จึง ตอบตกลงจะช่วย
บุตรของนายเทพให้สอบผ่านและจะรับรถจักรยานยนต์ไว้ แต่เมื่อนายเทพกลับไปแล้วนายทองเกิดมีมโนธรรม
เห็นว่าการช่วยบุตรของนายเทพอาจทาให้เกิดความไม่ยุติธรรมกับเด็กอื่นได้ จึงรีบโทรศัพท์ไปบอกนายเทพว่า
ไม่สามารถช่วยบุตรของนายเทพได้และไม่ขอรับรถจักรยานยนต์ด้วย กรณีดังกล่าว นายทองจะมีความผิดทาง
อาญาฐานใดหรือไม่เพราะเหตุใด
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 12 )
แนวตอบ :
กรณีตามปัญหาประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 149) วางหลักไว้ว่า “ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ฯลฯ
เรียกรับหรือยอมจะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดสาหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิ ชอบ เพื่อกระทาการหรือไม่
กระทาการอย่างใดในตาแหน่ง ไม่ว่าการนั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่ ต้องระวางโทษ ฯลฯ”
จากข้อเท็จจริงตามปัญหา การที่นายเทพได้นาบุตรชายของตนมาสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาลมีชื่อเสียง
แห่งหนึ่ง ซึ่งนายทองเป็นผู้อานวยการและเป็นผู้มีอานาจในการรับนักเรียนโดยตรงซึ่งนายเทพเกรงว่าบุตรชาย
ของตนจะสอบเข้าไม่ได้ จึงขอให้นายทองช่วยบุตรชายของตนโดยสอบได้ โดยเสนอจะซื้อรถจักรยานยนต์ให้
บุตรชายของนายทอง 1 คัน และนายทองก็ตอบตกลงจะช่วยบุตรชายของนายเทพ ให้สอบผ่านและจะรับ
รถจักรยานยนต์ไว้ให้บุตรชายของตน การกระทาดังกล่าวถือว่านายทองเป็น เจ้าพนักงานยอมจะรับทรัพย์สิน
แล้ว แม้ว่านายทองจะมิได้รับไว้เพื่อตนเอง แต่รับไว้เพื่อบุตรชายของตนก็ตาม ก็ถือว่าเป็นการยอมจะรับไว้เพื่อ
ผู้อื่น และการจะยอมรับทรัพย์สินนั้นก็ทาโดยมีมูลเหตุจูงใจเพื่อกระทาการในตาแหน่งโดยมิ ชอบด้วยหน้าที่คือ
เพื่อช่วยให้บุตรของนายเทพสอบผ่าน
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 12 )
แนวตอบ :
แม้ ว่ า ในภายหลั ง นายทองเกิ ด มี ม โนธรรมและโทรศั พ ท์ ไ ปบอกเลิ ก การช่ ว ยเหลื อ และยกเลิ ก การจะรั บ
รถจักรยานยนต์ก็ตาม ก็ไม่ทาให้นายทองพ้นผิดไปได้ เพราะความผิดได้สาเร็จตั้งแต่ยอมจะรับทรัพย์สินแล้ว
แนวสรุป :
กรณีดังกล่าวจึงถือว่านายทองมี ควำมผิดฐำนเจ้ำพนักงำนยอมจะรับทรัพย์สิน ตามบทกฎหมาย
ดังกล่าวมาแล้วข้างต้นแล้ว
ควำมผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 13 )
ปอ.มาตรา 334 ลักทรัพย์ คือ กำรเอำทรัพย์ของผู้อื่นหรือผู้อื่นเป็นเจ้ำของรวมอยู่ด้วยโดยทุจริต เช่นกำรเอำสิ่งของที่ของ
บุคคลอื่นวำงไว้ไปขำย
“ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่น หรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไปโดยทุจริต ผู้นั้นกระทาความผิดฐานลักทรัพย์ ต้องระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 336 วิ่งรำวทรัพย์ คือ กำรลักทรัพย์ของผู้อื่นโดยฉกฉวยเอำไปซึ่งหน้ำ ถือว่ำอุกอำจกว่ำกำรลักทรัพย์ธรรมดำ
เช่น กำรกระชำกสร้อยคอผู้อื่น
“ผู้ใดลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้า ผู้นั้นกระทาความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ ต้องระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 337 กรรโชกทรัพย์ คือ กำรข่มขู่ให้ผู้อื่นให้ทรัพย์แก่ตน
“ผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยใช้กาลังประทุษร้าย หรือโดยขู่เข็ ญว่าจะทาอันตราย
ต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียงหรือทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญหรือของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น ผู้นั้น กระทา ความผิดฐานกรรโชก
ต้องระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 338 รีดเอำทรัพย์ คือ กำรข่มขู่เอำประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สินของผู้อื่น โดยกำรเปิดเผยควำมลับของ
ผู้อื่น หรือบุคคลที่ 3
“ผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่น ให้ยอมให้ หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยขู่เข็ญว่าจะเปิดเผยความลับซึ่ง การเปิดเผยนั้นจะทา
ให้ผู้ถูกขู่เข็ญหรือบุคคลที่สามเสียหาย จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น ผู้นั้นกระทาความผิดฐานรีดเอาทรัพย์ ต้องระวางโทษ...”
ควำมผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 13 )
ปอ.มาตรา 339 ชิงทรัพย์ เป็นกำรลักทรัพย์โดยประทุษร้ำย หรือขู่เข็ญว่ำในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้ำน ถือว่ำรุนแรงกว่ำลัก
ทรัพย์ธรรมดำ เช่นกำรใช้อำวุธจี้บังคับ
“ผู้ใดลักทรัพย์โดยใช้กาลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กาลังประทุษร้าย เพื่อ (๑) ให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือการพาทรัพย์นั้นไป
(๒) ให้ยื่นให้ซึ่งทรัพย์นั้น (๓) ยึดถือเอาทรัพย์นั้นไว้ (๔) ปกปิดการกระทาความผิดนั้น หรือ (๕) ให้พ้นจากการจับกุม ผู้นั้นกระทาความผิดฐานชิงทรัพย์ ต้อง
ระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 340 ปล้นทรัพย์ คือกำรชิงทรัพย์โดยร่วมกันกระทำผิดตั้งแต่3คนขึ้นไป ถือเป็นควำมผิดรุนแรงกว่ำชิงทรัพย์
ควำมผิดต่อทรัพย์ 4 ข้อ ด้ำนบนนี้ ถ้ำใช้อำวุธ หรือ ทำร้ำย ให้เป็นอันตรำยด้วย จะมีโทษเพิ่มหนักขึ้นตำมลำดับ
“ผู้ใดชิงทรัพย์โดยร่วมกันกระทาความผิดด้วยกันตั้งแต่สามคนขึ้นไป ผู้นั้นกระทาความผิดฐานปล้นทรัพย์ ต้องระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 341 ฉ้อโกงทรัพย์ คือ กำรเอำทรัพย์ของผู้อื่นโดยหลอกลวงให้เขำหลงเชื่อ และส่งมอบทรัพย์สินให้
“ผู้ใดโดยทุจริต หลอกลวงผู้อื่นด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้ง และโดยการหลอกลวงดังว่านั้น ได้ไปซึ่งทรัพย์สินจาก
ผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม หรือทาให้ผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม ทา ถอน หรือทาลายเอกสารสิทธิ ผู้นั้นกระทาความผิดฐานฉ้อโกง ต้องระวางโทษ…”
ปอ.มาตรา 352 ยักยอกทรัพย์ คือกำรที่ผู้กระทำผิดครอบครองทรัพย์ของผู้อื่น หรือผู้อื่นเป็นเจ้ำของร่วมอยู่ด้วย เบียดบังเอำ
ทรัพย์นั้นไป
“ผู้ใดครอบครองทรัพย์ซึ่งเป็นของผู้อื่น หรือซึ่งผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย เบียดบังเอาทรัพย์นั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุ จริต ผู้นั้นกระทาความผิดฐาน
ยักยอก ต้องระวางโทษ...”
ควำมผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 13 )
ปอ.มาตรา 357 รับของโจร คือ กำรที่ผู้กระทำผิดได้ช่วยซ่อนเร้น จำหน่ำย พำเอำไป ซื้อไว้ รับจำนำ หรือรับไว้โดยประกำรใดซึ่ง
ทรัพย์ที่ได้มำโดยกระทำผิด (แต่ถ้ำสืบควำมแล้วพบว่ำ ผู้กระทำผิด ไม่ทรำบว่ำของเป็นของใคร หรือทรัพย์ที่ได้มำผิดกฎหมำย ก็
จะไม่มีควำมผิด)
“ผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วยจาหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจานาหรือรับไว้โดยประการใดซึ่งทรัพย์อันได้มาโดยการกระทาความผิด ถ้าความผิ ดนั้นเข้าลักษณะลัก
ทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ กรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฉ้อโกง ยักยอก หรือเจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ผู้นั้นกระทาความผิดฐา นรับของโจร ต้องระวาง
โทษ..”
ปอ.มาตรา 358 ทำให้เสียทรัพย์ คือ กระทำให้ผู้อื่น หรือผู้อื่นเป็นเจ้ำของร่วมด้วยนั้นเสียหำย
“ผู้ใดทาให้เสียหาย ทาลาย ทาให้เสื่อมค่าหรือทาให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ของผู้อื่นหรือผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย ผู้นั้นกระทาความผิดฐานทาให้เสียทรัพย์ ต้อง
ระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 362 บุกรุก คือควำมผิดที่ผู้กระทำผิดได้เข้ำไปในเคหสถำนของผู้อื่น โดยไม่มีเหตุผลอันควร หรือ มีเหตุผลสมควรแต่
ผู้ให้เข้ำไม่ให้อนุญำต ซึ่งเป็นกำรรบกวนกำรครอบครองอสังหำริมทรัพย์ของผู้อื่น
“ผู้ใดเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่น เพื่อถือการครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นทั้งหมดหรือแต่บางส่วน หรือเข้าไปกระทาการใด ๆ อัน เป็นการรบกวนการ
ครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของเขาโดยปกติสุข ต้องระวางโทษ...”
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 13 )
คำถำม :
นายดาดีกับนายขาวผ่องร่วมกันออกเงินคนละครึ่งซื้อรถตู้มาคันหนึ่ง เพื่อให้คนเช่าไปทัศนาจรโดยตก
ลงกันให้นายดาดีเป็นผู้ครอบครองดูแลรถยนต์ทั้งหมด ส่วนนายขาวผ่องเป็นเพียงผู้รับผลประโยชน์เท่านั้น
ต่อมานายขาวผ่องได้แอบเข้าไปเอารถยนต์คันดังกล่าวที่บ้านของนายดาดี แล้วนาไปยกให้ภรรยาน้อยของตน
กรณีดังกล่าวนายขาวผ่องจะต้องรับผิดทางอาญากรณีใดบ้างหรือไม่เพราะเหตุใด

ดาดี

รถจอดในบ้าน“ดาดี” ขาวผ่องนารถมาให้
ออกเงินคนละครึ่ งซื้อรถตู ้ “ภรรยาน้ อย”
ตกลงให้ “ดาดี” เป็ นผูค้ รอบครอง

แอบเข้าไปเอารถ
ขาวผ่อง ในบ้าน“ดาดี”
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 13 )
แนวตอบ :
กรณีตามปัญหาประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 334) วางหลักไว้ว่า การเอาไปซึ่งทรัพย์ของผู้อื่น
หรือผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยโดยทุจริต
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 13 )
แนวตอบ :
จากข้อเท็จจริงตามปัญหา การที่นายดาดีกับนายขาวผ่องร่วมกันออกเงินคนละครึ่งซื้อรถตู้มาคันหนึ่ง
เพื่อให้คนเช่าไปทัศนาจรโดยตกลงกันให้นายดาดีเป็นผู้ครอบครองดูแลรถยนต์ทั้งหมด จะเห็นว่ารถยนต์คัน
ดังกล่าวเป็นของนายดาดีกับนายขาวผ่องเป็นเจ้าของรวมกัน แต่นายดาดีเป็นผู้ครอบครองรถยนต์อยู่ เมื่อ
นายขาวผ่องได้แอบเข้าไปเอารถยนต์ คันดังกล่าวที่บ้านของนายดาดี แล้วนาไปยกให้ภริยาน้อย ถือว่าการ
กระทาของนายขาวผ่องเป็นการเอาทรัพย์ที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไปจากการครอบครองของผู้อื่น โดย
ทุจริต ดังนั้นนายขาวผ่องจึงมีความผิดฐานลักทรัพย์
ควำมผิดต่อชีวิตและร่ำงกำย : (แนวข้อสอบ 14 )
ปอ. มำตรำ 288 ผู้ใดฆ่ำผู้อื่น (ฆ่ำมีเหตุฉกรรจ์)
“ผู้ใดฆ่าผู้อื่น ต้องระวางโทษประหารชีวิต จาคุกตลอดชีวิต หรือจาคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงยี่สิบปี ”
ปอ. มำตรำ 290 (เจตนำทำร้ำย ผลคือ ตำย)
“ผู้ใดมิได้มีเจตนาฆ่า แต่ทาร้ายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ผู้นั้นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี ”
ปอ. มำตรำ 291 (ประมำท คน “สำหัส”)
“ผู้ใดกระทาโดยประมาท และการกระทานั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษ...”
ปอ. มำตรำ 292
“ผู้ใดกระทาด้วยการปฏิบัติอันทารุณ หรือด้วยปัจจัยคล้ายคลึงกันแก่บุคคลซึ่งต้องพึ่งตน ในการดารงชีพหรือในการอื่นใด เพื่อให้บุคคลนั้ นฆ่า
ตนเอง ถ้าการฆ่าตนเองนั้นได้เกิดขึ้นหรือได้มีการพยายามฆ่าตนเอง ต้องระวางโทษ”
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 14 )
คำถำม :
นายบุญยืนนั่งกินหมากอยู่ในห้องนั่งเล่น นายบุญยืนต้องการจะหยอกล้อภรรยา จึงเอากรรไกรหนีบ
หมากขว้างไปที่ประตู แต่กรรไกรไปถูกประตูและกระดอนไปถูกภรรยา กรรไกรบาดเท้าภรรยาทาให้เส้น
โลหิตใหญ่ขาดโลหิตไหลไม่หยุดถึงแก่ความตาย ดังนี้นายบุญยืนจะมีความผิดทางอาญาฐานใดหรือไม่เพราะ
เหตุใด
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 14 )
แนวตอบ :
กรณีตามปัญหา ประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 291) วางหลักไว้ว่า ผู้ใดกระทาโดยประมาท
และการกระทานั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษ...
จากข้อเท็จจริงตามปัญหา การที่นายบุญยืนต้องการหยอกล้อภรรยาของตน โดยเอากรรไกรหนีบ
หมากขว้างไปที่ประตู แต่กรรไกรไปถูกประตูและกระดอนไปถูกภรรยาทาให้เส้นโลหิตใหญ่ขาดโลหิตไหลไม่
หยุดถึงแก่ความตายนั้นเห็นได้ว่านายบุญยืนไม่มีเจตนาทาร้ายหรือเจตนาฆ่าภรรยาแต่อย่างใด
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 14 )
แนวตอบ :
ตามที่ข้อเท็จจริงบอกว่าต้องการหยอกล้อภรรยาเท่านั้น การที่นายบุญยืนเอากรรไกรหนีบหมากขว้างไปที่
ประตูนั้นเป็นการกระทาโดยประมาท คือ ขาดความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจะพึงมีตามวิสัยและ
พฤติการณ์ เมื่อการกระทาโดยประมาทของนายบุญยืนทาให้ภรรยาถึงแก่ความตายเช่นนี้ นายบุญยืนจึงต้อง
รับผิดฐานกระทาโดยประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ควำมผิดต่อชีวิตและร่ำงกำย : (แนวข้อสอบ 15 )
ปอ. มำตรำ 293
“ผู้ใดช่วยหรือยุยงเด็กอายุยังไม่เกินสิบหกปี หรือผู้ซึ่งไม่สามารถเข้าใจว่าการกระทาของตนมีสภาพหรือสาระสาคัญอย่างไร หรือไม่สามารถบังคับการ
กระทาของตนได้ ให้ฆ่าตนเอง ถ้าการฆ่าตนเองนั้นได้เกิดขึ้นหรือได้มีการพยายามฆ่าตนเอง ต้องระวางโทษ...”
ปอ. มำตรำ 294
“ผู้ใดเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้ระหว่างบุคคลตั้งแต่สามคนขึ้นไป และบุคคลหนึ่งบุคคลใดไม่ว่าจะเป็นผู้ที่เข้าร่วมในการนั้นหรือไม่ ถึงแก่ความตายโดย
การกระทาในการชุลมุนต่อสู้นั้น ต้องระวางโทษ...
ถ้าผู้ที่เข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้นั้นแสดงได้ว่า ได้กระทาไปเพื่อห้ามการชุลมุนต่อสู้นั้น หรือเพื่อป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ ”
ปอ. มำตรำ 295
“ผู้ใดทาร้ายผู้อื่น จนเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจของผู้อื่นนั้น ผู้นั้นกระทาความผิดฐานทาร้ายร่างกาย ต้องระวางโทษ...”
ปอ. มำตรำ 296
“ผู้ใดกระทาความผิดฐานทาร้ายร่างกาย ถ้าความผิดนั้น มีลักษณะประการหนึ่งประการใดดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๘๙ ต้องระวางโทษ..”
ปอ. มำตรำ 297
“ผู้ใดกระทาความผิดฐานทาร้ายร่างกาย จนเป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทาร้ายรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษ...”
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 15 )
คำถำม :
นายศักดิ์อายุ 15 ปี รู้ตัวว่าตนเป็นโรคเอดส์ จึงไปปรึกษานายศรี ซึ่งเป็นพี่ชายร่วมบิดาแต่ต่างมารดา
กัน นายศรีต้องการให้นายศักดิ์ตาย จะได้ไม่มาแย่งมรดกตน จึงยุยงว่าถ้านายศักดิ์อยู่ต่อไปก็จะต้องอยู่อย่าง
ทนทุกทรมานอับอายขายหน้า เพราะอาการของโรคจะต้องกาเริบขึ้นเรื่อย ๆ จนผู้อื่นรู้ นายศักดิ์กลุ้มใจมาก
จึงคิดฆ่าตัวตาย นายศรีได้ไปหายาพิษอย่างแรงมาให้ แล้วนายศรีก็จากไป นายศักดิ์ได้กินยาพิษดังกล่าว แต่
ยาพิษมีปริมาณน้อยเกินไป นายศักดิ์จึงไม่ตาย กรณีดังกล่าว นายศรีจะมีความผิดฐานใดหรือไม่ เพราะเหตุใด
กฎหมายอาญา : (แนวข้อสอบ 15 )
แนวตอบ :
ป.อ. มาตรา 293 วางหลักไว้ว่า “ผู้ใดช่วยหรือยุยงเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปี ...ให้ฆ่าตนเองนั้น
ได้เกิดขึ้นหรือได้มีการพยายามฆ่าตนเองต้องระวางโทษ ฯลฯ”
จากข้อเท็จจริงตามปัญหา การที่ นายศักดิ์อายุ 15 ปี รู้ตัวว่าตนเองเป็นโรคเอดและได้ม า
ปรึกษานายศรีซึ่งเป็นพี่ชายต่างมารดากัน นายศรีอยากให้นายศักดิ์ตายจะได้ไม่มาแย่งมรดกตน จึงยุ
ยงว่าถ้านายศักดิ์มีชีวิติอยู่ต่อไปก็จะต้องอยู่อย่างทนทุกข์ทรมานอับอายขายหน้า จนกระทั่งนายศักดิ์
ตั ด สิ น ใจฆ่ า ตั ว ตาย การกระท าของนายศรี ถื อ ว่ า เป็ น การยุ ย งเด็ ก อายุ ไ ม่ เ กิ น 16 ปี ใ ห้ ฆ่ า ตนเอง
นอกจากนี้นายศรียังได้จัดหายาพิษมาให้นายศักดิ์อีก ซึ่งเป็นการช่วยเด็กอายุยังไม่เกินสิบหกปีให้ฆ่า
ตนเอง แม้ว่านายศักดิ์จะไม่ตายเมื่อกินยาพิษนั้นไปแล้ว เนื่องจากปริมาณยาน้อยเกินไปก็ถือได้ว่ามี
การพยายามฆ่าตนเองแล้ว นายศรีจึงมีความผิดฐานช่วยหรือยุยงเด็กอายุยังไม่เกินสิบหกปีให้ฆ่าตนเอง
ตามบทกฎหมาย ดังกล่าวมาข้างต้น
ควำมผิดต่อชีวิตและร่ำงกำย : (แนวข้อสอบ 18 )
ปอ. มำตรำ 349
“ผู้ใดเอาไปเสีย ทาให้เสียหาย ทาลาย ทาให้เสื่อมค่าหรือทาให้ไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์อันตนจานาไว้แก่ผู้อื่น ถ้าได้กระทาเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่
ผู้รับจานา ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ”
ปอ. มำตรำ 350
“ผู้ใดเพื่อมิให้เจ้าหนี้ของตนหรือของผู้อื่นได้รับชาระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ซึ่งได้ใช้หรือจะใช้สิทธิเรียกร้องทางศาลให้ชาระหนี้ ย้ายไปเสีย ซ่อน
เร้น หรือโอนไปให้แก่ผู้อื่นซึ่งทรัพย์ใดก็ดี แกล้งให้ตนเองเป็นหนี้จานวนใดอันไม่เป็นความจริงก็ดี ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ ”
ปอ. มำตรำ 351
“ความผิดในหมวดนี้เป็นความผิดอันยอมความได้ ”
ควำมผิดต่อชีวิตและร่ำงกำย : (แนวข้อสอบ 18 )
คำถำม :
นายน้อยกู้เงินจากนายจุกไป 1,000 บาท เพื่อจะไปลงทุนขายกล้วยแขก นายน้อยได้จานาสายสร้อย
ทองคาไว้ให้แก่นายจุก 1 เส้น เมื่อนายน้อยนาเงินไปลงทุนขายกล้วยแขกปรากฏว่าขาดทุนจนหมด นายน้อยเห็น
นายจุกใส่สายสร้อยของนายน้อยเดินมา จึงแอบเอากรรไกรตัดสายสร้อยนั้นจากคอนายจุกโดยนายจุกไม่รู้ตัว แล้ว
นาไปขายเอาเงินไปลงทุนขายส้มตา นายน้อยเกิดโชคดีขายได้กาไร นายน้อยจึงนาเงินไปใช้หนี้นายจุกจนหมดนาย
จุกรับชาระหนี้ไว้โดยไม่รู้ว่านายน้อยเป็นคนลักสายสร้อยนั้นไป กรณีดังกล่าว นายน้อยจะมีความผิดทางอาญาฐาน
ใดหรือไม่ เพราะเหตุใด
ควำมผิดต่อชีวิตและร่ำงกำย : (แนวข้อสอบ 18 )
แนวตอบ :
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 349 วางหลักไว้ว่า
“ผู้ใดเอาไปเสีย ทาให้เสียหาย ทาลาย ทาให้เสื่อมค่าหรือทาให้ไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์อันตนจานาไว้แก่ผู้อื่น ถ้าได้
กระทาเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้รับจานา มีควำมผิดฐำนโกงเจ้ำหนี้”
จากข้อเท็จจริงตามปัญหา การที่นายน้อยกู้เงินจากนายจุกไป 1,000 บาท โดยนายน้อยได้จานาสร้อย
ทองคาไว้ให้นายจุก 1 เส้น แต่เมื่อนายน้อยนาไปลงทุนขายกล้วยแขกปรากฏว่าขาดทุนจนหมด เมื่อนายน้อยเห็น
นายจุกใส่สายสร้อยของตนเดินมา จึงแอบเอากรรไกรตัดสายสร้อยนั้นจากคอนายจุกโดยนายจุกไม่รู้ตัว แล้วนาไป
ขาย การกระทาดังกล่าวย่อมเกิดความเสียหาย แก่ผู้รับจานาคือนายจุก แน่นอน เพราะผู้รับจานาจะไม่มีทรัพย์ใด
ยึดถือไว้เป็นประกัน นายน้อยจึงมีความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ ถึงแม้ว่านายน้อยจะนาเงินที่ขายสร้อยไปลงทุนขาย
ส้มตาและขายได้กาไรดี จึงนาเงินมาใช้หนี้คืนนายจุกจนหมดในภายหลังก็ตาม ก็ไม่ทาให้พ้นความผิดไปได้
ดังนั้น นายน้อยจึงมีความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ตามบทกฎหมายดังกล่าวข้างต้น
คดีอำญำเรื่องกำรพยำยำมกระทำควำมผิด : (แนวข้อสอบ 24 )
ปอ. มำตรำ 80 พยำยำมกระทำควำมผิด
“ผู้ใดลงมือกระทาความผิดแต่กระทาไปไม่ตลอด หรือกระทาไปตลอดแล้วแต่การกระทานั้นไม่บรรลุผล ผู้นั้นพยายามกระทาความผิด ...”
ปอ. มำตรำ 81 พยำยำม ไม่บรรลุผลอย่ำงแน่แท้
“ผู้ใดกระทาการโดยมุ่งต่อผลซึ่งกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด แต่การกระทานั้นไม่สามารถจะบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ เพราะเหตุปัจจัยซึ่งใช้ใ นการกระทา
หรือเหตุแห่งวัตถุที่มุ่งหมายกระทาต่อ ให้ถือว่าผู้นั้นพยายามกระทาความผิด...
ถ้าการกระทาดังกล่าวในวรรคแรกได้กระทาไปโดยความเชื่ออย่างงมงาย ศาลจะไม่ลงโทษก็ได้ ”
ปอ. มำตรำ 82 ผลของกำรยับยั้ง กลับใจ แก้ไข ของผู้กระทำ
“ผู้ใดพยายามกระทาความผิด หากยับยั้งเสียเองไม่กระทาการให้ตลอด หรือกลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทานั้นบรรลุผล ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสาหรั บการ
พยายามกระทาความผิดนั้น แต่ถ้าการที่ได้กระทาไปแล้วต้องตามบทกฎหมายที่บัญญัติเป็นความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษสาหรับความผิดนั้น ๆ ”
ควำมผิดต่อชีวิตและร่ำงกำย : (แนวข้อสอบ 24 )
คำถำม :
ก. ต้องการฆ่า ข. ก.จึงยกปืนขึ้นจ้องเล็งจะยิง ข. เห็นชายคนหนึ่งแต่งชุดสีกากีเดินมา ก. คิดว่าชายคนนั้น
เป็นตารวจ จึงเลิกยิง ข. แต่ก่อนจากไป ก. ได้ใช้ด้ามปืนตีศีรษะ ข. หนึ่งที เป็นแผลโลหิตไหล ความจริงปรากฏว่า
ชายคนนั้นเป็นบุรุษไปรษณีย์แก่ ๆ ซึ่งถ้าหาก ก. ยิง ข. บุรุษไปรษณีย์คนนั้นก็คงจะจับ ก. ไม่ได้ ก. จะต้องรับผิด
เพียงใดหรือไม่
กรณีจะเป็นอย่างไรถ้าปรากฏว่า ก่อนจะลั่นไกยิง ข. เห็นพระภิกษุเดินมา ก. ไม่อยากทาบาปต่อหน้าพระ
จึงเลิกยิง โดยตั้งใจว่าวันหน้าค่อยมายิง ข. ใหม่
ควำมผิดต่อชีวิตและร่ำงกำย : (แนวข้อสอบ 24 )
แนวตอบ :
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 80 วรรค 1 วางหลักไว้ว่า
“ผู้ใดลงมือกระทาความผิดแต่กระทาไปไม่ตลอด หรือกระทาไปตลอดแล้วแต่การกระทานั้นไม่บรรลุผล ผู้
นั้นพยายามกระทาความผิด”
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 82 วางหลักไว้ว่า
“ผู้ใดพยายามกระทาความผิด หากยับยั้งเสียเองไม่กระทาการให้ตลอด หรือกลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทา
นั้นบรรลุผล ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสาหรับการพยายามกระทาความผิดนั้น...”
ควำมผิดต่อชีวิตและร่ำงกำย : (แนวข้อสอบ 24 )
แนวตอบ :
พิจารณาตามหลักเรื่องพยายามตาม มาตรา 80 และ 82 จะเห็นได้ว่า การที่ ก. ยกปืนขึ้นจ้องจะยิง ข.
ก. ได้ลงมือกระทาความผิดแล้ว แต่กระทาไปไม่ตลอด (ตามมาตรา 80) เพราะมีเหตุมาขัดขวาง คือ เข้าใจผิด
ว่าบุรุษไปรษณีย์เป็นตารวจ การยับยั้งไม่ใช่เกิดโดยสมัครใจของตนเองตามมาตรา 82 ก. จึงมีความผิดฐาน
พยายามฆ่าผู้อื่น ส่วนการที่ ก. ตีศีรษะ ข. ด้วยด้ามปืนนั้น จึงมีความผิดฐานทาร้ายร่างกายอีกกระทงหนึ่งด้วย
สาหรับกรณีที่ ก. เห็นพระภิกษุเดินมา ก. จึงไม่อยากทาบาป ต่อหน้าพระภิกษุ จึงเลิกยิงในขณะนั้น
แต่ก็ยังตั้งใจจะมายิงในวันหน้า ดังนี้จะเห็นได้ว่า ก. สามารถจะกระทาความผิดให้ตลอดได้แต่ ยุติการกระทา
ของตนเสีย โดยความสมัครใจของตนเอง เพราะกลัวบาป จึงมีความผิดฐานพยายามฆ่าผู้อื่น แต่ไม่ต้องรับโทษ
ตาม ปอ. มาตรา 82
ควำมผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 26 )
ปอ.มาตรา 339 ชิงทรัพย์ เป็นกำรลักทรัพย์โดยประทุษร้ำย หรือขู่เข็ญว่ำในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้ำน ถือว่ำรุนแรงกว่ำลัก
ทรัพย์ธรรมดำ เช่นกำรใช้อำวุธจี้บังคับ
“ผู้ใดลักทรัพย์โดยใช้กาลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กาลังประทุษร้าย เพื่อ (๑) ให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือการพาทรัพย์นั้นไป
(๒) ให้ยื่นให้ซึ่งทรัพย์นั้น (๓) ยึดถือเอาทรัพย์นั้นไว้ (๔) ปกปิดการกระทาความผิดนั้น หรือ (๕) ให้พ้นจากการจับกุม ผู้นั้นกระทาความผิดฐานชิงทรัพย์ ต้อง
ระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 340 ปล้นทรัพย์ คือกำรชิงทรัพย์โดยร่วมกันกระทำผิดตั้งแต่3คนขึ้นไป ถือเป็นควำมผิดรุนแรงกว่ำชิงทรัพย์
ควำมผิดต่อทรัพย์ 4 ข้อ ด้ำนบนนี้ ถ้ำใช้อำวุธ หรือ ทำร้ำย ให้เป็นอันตรำยด้วย จะมีโทษเพิ่มหนักขึ้นตำมลำดับ
“ผู้ใดชิงทรัพย์โดยร่วมกันกระทาความผิดด้วยกันตั้งแต่สามคนขึ้นไป ผู้นั้นกระทาความผิดฐานปล้นทรัพย์ ต้องระวางโทษ...”
ปอ.มาตรา 341 ฉ้อโกงทรัพย์ คือ กำรเอำทรัพย์ของผู้อื่นโดยหลอกลวงให้เขำหลงเชื่อ และส่งมอบทรัพย์สินให้
“ผู้ใดโดยทุจริต หลอกลวงผู้อื่นด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้ง และโดยการหลอกลวงดังว่านั้น ได้ไปซึ่งทรัพย์สินจาก
ผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม หรือทาให้ผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม ทา ถอน หรือทาลายเอกสารสิทธิ ผู้นั้นกระทาความผิดฐานฉ้อโกง ต้องระวางโทษ…”
ปอ.มาตรา 352 ยักยอกทรัพย์ คือกำรที่ผู้กระทำผิดครอบครองทรัพย์ของผู้อื่น หรือผู้อื่นเป็นเจ้ำของร่วมอยู่ด้วย เบียดบังเอำ
ทรัพย์นั้นไป
“ผู้ใดครอบครองทรัพย์ซึ่งเป็นของผู้อื่น หรือซึ่งผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย เบียดบังเอาทรัพย์นั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุ จริต ผู้นั้นกระทาความผิดฐาน
ยักยอก ต้องระวางโทษ...”
ควำมผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 26 )
คำถำม :
นายบูรพาโทรศัพท์สั่งซื้อหนังสือคาอธิบายกฎหมายอาญาภาคพิเศษจากสานักพิมพ์ของนายพายัพโดยตกลง
จ่ายค่าหนังสือด้วยวิธีโอนเงินเข้าบัญชีของนายพายัพ เมื่อหนังสือพิมพ์เสร็จ นายพายัพจึงให้นายดาลูกจ้างใน
สานักพิมพ์นาหนังสือไปส่งให้นายบูรพา ที่บ้านเลขที่ 35/69 ตามที่นายบูรพาแจ้งไว้ นายดาไปพบนายประจิมซึ่งอยู่
บ้านเลขที่ 35/96 นายดาเข้าใจว่านายประจิมเป็นนายบูรพาจึงมอบหนังสือนั้นให้ไป นายประจิมก็ทราบดีว่า นายดา
เข้าใจผิด เพราะตนไม่ได้สั่งหนังสือ แต่เห็นว่าเป็นลาภลอย จึงรับหนังสือนั้นไว้ใช้เสียเอง
ท่ า นเห็ น ว่ า นายประจิ ม ต้ อ งลั บ ผิ ด ทางอาญาฐานใดบ้ า งหรื อ ไม่ เพราะเหตุ ใ ด จงยกตั ว บทกฎหมาย
ประกอบการวินิจฉัย
ควำมผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 26 )
แนวตอบ :
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 352 วางหลักไว้ว่า
“ผู้ใดครอบครองทรัพย์ซึ่งเป็นของผู้อื่น หรือซึ่งผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย เบียดบังเอาทรัพย์นั้นเป็นของ
ตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริต ผู้นั้นกระทาความผิดฐานยักยอก ต้องระวางโทษ...
ถ้าทรัพย์นั้นได้ตกมาอยู่ในความครอบครองของผู้กระทาความผิด เพราะผู้อื่นส่งมอบให้โดยสาคัญผิดไปด้วย
ประการใด หรือเป็นทรัพย์สินหายซึ่งผู้กระทาความผิดเก็บได้ ผู้กระทาต้องระวางโทษ...”
ควำมผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในคดีอำญำ : (แนวข้อสอบ 26 )
แนวตอบ :
ตามปัญหาหารที่นายพายัพให้นายดาลูกจ้างนาหนังสือไปส่งให้นายบูรพาที่บ้านเลขที่ 35/69 แต่นายดากลับ
นาไปส่งให้นายประจิมซึ่งอยู่บ้านเลขที่ 35/96 ถือว่าหนังสือนั้นได้ตกมาอยู่ในครอบครองของนายประจิม เพราะ
นายดาส่งให้โดยสาคัญผิด และเมื่อนายประจิมได้ครอบครองหนังสือ เล่มนั้นแล้ว แทนที่จะรีบส่งคืนสานักพิมพ์ กลับ
เอาหนังสือนั้นไว้ใช้เสียเอง ถือว่านายประจิมได้ครอบครองทรัพย์ของผู้อื่นและเบียดบังเอาทรัพย์คือหนังสือนั้นเป็น
ของตนโดยทุจริต
นายประจิมจึงมีควำมผิดฐำนยักยอกทรัพย์ที่มีผู้ส่งมอบให้โดยสาคัญผิด ตามบทกฎหมายดังกล่าวมาข้างต้น

You might also like