You are on page 1of 32

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทัว่ ไป (ครั้งที่ 1)

อ.จักรภพ ศิริภากรกาญจน์
เหตุใดจะต้องศึกษากฎหมาย
• ความไม่ร้ ูกฎหมายไม่เป็ นข้ อแก้ ตวั
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 64 “บุคคลจะแก้ ตวั ว่าไม่ร้ ู
กฎหมายเพื่อให้ พ้นจากความรับผิดในทางอาญาไม่ได้ แต่ถ้าศาลเห็นว่า
ตามสภาพและพฤติการณ์ผ้ กู ระทำความผิดอาจจะไม่ร้ ูวา่ กฎหมาย
บัญญัติวา่ การกระทำนันเป็
้ นความผิด ศาลอาจอนุญาตให้ แสดงพยาน
หลักฐานต่อศาล และถ้ าศาลเชื่อว่าผู้กระทำไม่ร้ ูวา่ กฎหมายบัญญัติไว้
เช่นนัน้ ศาลจะลงโทษน้ อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้ สำหรับความผิดนัน้
เพียงใดก็ได้ ”
• Mala in se (ความผิดในตัวเอง)

• Mala prohibita (ความผิดเพราะกฎหมายห้ าม)


การศึกษาวิชากฎหมาย
• (1) ความจดจำ
• (2) ความเข้ าใจในสิง่ ที่จดจำ
• (3) การรู้จกั นำสิง่ ที่จดจำและเข้ าใจไปใช้ ได้ อย่างถูกต้ อง
บทที่ 1
สั งคมและกฎเกณฑ์ ความประพฤติ
• ปทัสถานทางสังคม (Social Norm)
• (1) วิถีประชา
• (2) จารี ตหรื อกฎศีลธรรม
• (3) กฎหมาย
(1) วิถีประชา
• เป็ นปทัสถานที่คนยอมรับปฏิบตั ิตามโดยทัว่ ไปจนเกิดความเคยชิน

• หากบุคคลใดละเมิดวิถีประชาก็เพียงได้ รับคำติฉินนินทาว่าประพฤติ
ปฏิบตั ิในทางไม่ชอบไม่ควรเท่านัน้
(2) จารี ตหรื อกฎศีลธรรม
• คนในสังคมนันถื
้ อว่าแนวความประพฤติดงั กล่าวเป็ นสิง่ ที่ถกู ต้ องดีงาม
และผู้ละเมิดนันเป็
้ นคนผิดหรื อคนชัว่
(3) กฎหมาย
• เป็ นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่กำหนดให้ คนในสังคมปฏิบตั ิตาม มี
องค์กรที่ควบคุมมิให้ คนในสังคมฝ่ าฝื น และมีการลงโทษผู้ฝ่าฝื น
พัฒนาการของกฎหมาย
• (1) ยุคกฎหมายจารี ตประเพณี
• ในสังคมก่อนที่มนุษย์จะเข้ ามารวมกลุม่ กันเป็ นสังคมเมือง
• (2) ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย
• พัฒนาไปสูส่ งั คมเมือง มีการติดต่อสื่อสาร ทำมาค้ าขายระหว่างสังคม
• (3) ยุคกฎหมายบัญญัติ
• สังคมมีความซับซ้ อนขึ ้น ความขัดแย้ งในสังคมมีมากขึ ้น
บทที่ 2
ลักษณะของกฎหมาย
• กฎหมาย?
• (1) สำนักกฎหมายธรรมชาติ ( The Natural Law Theory)
• (2) สำนักกฎหมายฝ่ ายบ้ านเมือง (The Positive Law
Theory)
• (3) สำนักกฎหมายประวัติศาสตร์ (The Historical School
of Law)
• (1) สำนักกฎหมายธรรมชาติ ( The Natural Law Theory)
• ซิเซโร (Cicero)
กฎหมายที่แท้ จริ ง คือเหตุผลที่ถกู ต้ องสอดคล้ องกับธรรมชาติ แผ่ซา่ นไปทุก
สิง่ ทุกอย่าง สม่ำเสมอเป็ นนิรันดร ก่อให้ เกิดหน้ าที่ที่จะต้ องทำโดยคำสัง่ หรื อ
ห้ ามมิให้ กระทำความชัว่ โดยข้ อห้ าม เป็ นหน้ าที่อนั ศักดิ์สทิ ธิ์ที่จะต้ องไม่
บัญญัติกฎหมายให้ ขดั แย้ งกับกฎหมายนี ้ เราไม่อาจยกเลิกหรื อ ทำให้
กฎหมายนี ้เสื่อมทรามลงได้ อันที่จริ งแล้ วไม่วา่ วุฒิสภาหรื อมวลชนก็ไม่มี
อำนาจที่จะปลดปล่อยเราให้ พ้นจากกฎหมายนี ้ และเราไม่ จำเป็ นต้ องพึง่
บุคคลหรื อสิง่ อื่นใดนอกจากตัวเราเองที่จะเป็ นผู้แสดงออกว่ากฎหมายนัน้
เป็ นอย่างไร หรื อตีความว่ากฎหมายนันมี ้ ความหมายอย่างไร กฎหมายไม่
เป็ นอย่างหนึง่ ที่กรุงโรม และเป็ นอีกอย่างหนึง่ ที่กรุงเอเธนส์ เป็ นอย่างหนึง่ ใน
สมัยนี ้แต่เป็ นอีกอย่างหนึง่ ในสมัยต่อมา แต่จะยังคงเป็ นกฎหมายอันเดียวชัว่
นิรันดรไม่เปลี่ยนแปลง โดยและผูกพันบังคับทุกชาติ ทุกภาษา ทุกยุคทุกสมัย
กฎหมายธรรมชาติมีลกั ษณะพิเศษ 3 ประการ คือ
1.ใช้ ได้ โดยไม่จำกัดเวลา คือ กฎหมายธรรมชาติยอ่ มใช้ ได้ เสมอไม่มี
วันยกเลิกหรื อล่วงสมัย
2.ใช้ ได้ โดยไม่จำกัดสถานที่ คือ กฎหมายธรรมชาติใช้ ได้ ทกุ แห่งไม่
จำกัดว่าจะต้ องใช้ ได้ เฉพาะในรัฐใดหรื อสถานที่ใดเท่านัน้
3.อยูเ่ หนือรัฐ คือ กฎหมายธรรมชาติยอ่ มมีความยุติธรรมเป็ นที่สดุ
ฉะนัน้ กฎหมายของรัฐจะขัดหรื อแย้ งต่อกฎหมายธรรมชาติไม่ได้
• คำประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1776 ความตอนหนึง่
ว่า
• “เมื่อปรากฏว่ามีความจำเป็ นที่ประชาชาติหนึง่ จำต้ องเลิกล้ มความ
สัมพันธ์ทางการเมืองที่เคยมีกบั ประชาชนอีกชาติหนึง่ เพื่อที่จะแยกทาง
เดินเป็ นอิสระเท่าเทียมกับชาติทงหลายในโลกตามสิ
ั้ ทธิในกฎหมาย
ธรรมชาติ และกฎของพระผู้เป็ นเจ้ า ดังนันจึ
้ งจำต้ องประกาศสาเหตุซงึ่
ทำให้ ตดั สินใจประกาศเอกราชเพื่อให้ มนุษยชาติทงหลายได้
ั้ รับรู้ไว้ ”
(2) สำนักกฎหมายฝ่ ายบ้านเมือง (The Positive
Law Theory)
• นักปรัชญาเมธีที่มีอิทธิพลของสำนักกฎหมายฝ่ ายบ้ านเมือง คือ จอห์น
ออสติน (John Austin) ได้ สรุปไว้ วา่ กฎหมาย คือ คำสัง่ คำบัญชา
ของรัฐาธิปัตย์ ซึง่ กำหนดมาตรฐานความประพฤติให้ กบั ผู้อยูใ่ ต้ อำนาจ
ปกครองของตน ซึง่ หากไม่ปฏิบตั ิตามแล้ วจะต้ องได้ รับโทษ
(3) สำนักกฎหมายประวัติศาสตร์ (The Historical
School of Law)
• ซาวิญยี่ (Savigny) เป็ นผู้นำ เห็นว่า “กฎหมายโดยแท้ จริ ง หาใช่เป็ น
เพียงแค่อะไรสักอย่างที่ผ้ มู ีอำนาจตรากฎหมายสามารถเขียนขึ ้นได้
ตามใจปรารถนาโดยพลการ ทว่ากฎหมายเป็ นผลผลิตของพลังภายใน
สังคมที่ทำงานของมันอย่างเงียบ ๆ และมีรากเหง้ าที่หยัง่ ลึกอยูใ่ น
ประวัติศาสตร์ ของประชาชาติ โดยมีกำเนิดและเติบโตเรื่ อยมาจาก
ประสบการณ์และหลักความประพฤติทวั่ ไปของประชาชน”
ระบบกฎหมาย
• 1. ระบบกฎหมายซีวิลลอว์ (Civil Law)

• 2. ระบบกฎหมายคอมมอนลอว์ (Common Law)


Civil Law
• ระบบกฎหมายลายลักษณ์อกั ษร หรื อ ระบบประมวลกฎหมาย
Common Law
• ระบบกฎหมายจารี ตประเพณี
ลักษณะของกฎหมายในปัจจุบัน
• 1.กฎหมายต้ องมีลักษณะเป็ นกฎเกณฑ์
หมายความว่า กฎหมายต้ องเป็ นข้ อบังคับที่เป็ นมาตรฐานที่ใช้ วดั
และใช้ กำหนดความประพฤติของสมาชิกของสังคมได้ วา่ ถูกหรื อผิด
ทำได้ หรื อทำไม่ได้ ตัวอย่าง กฎเกณฑ์ เช่น ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 334 บัญญัติวา่ “ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรื อที่ผ้ อู ื่นเป็ นเจ้ าของ
รวมอยูด่ ้ วยไปโดยทุจริต ผู้นนกระทำความผิ
ั้ ดฐานลักทรัพย์ ต้ องระวาง
โทษจำคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกินหกพันบาท” บทบัญญัตินี ้เป็ นข้ อ
กำหนดความประพฤติของมนุษย์วา่ การลักทรัพย์ของผู้อื่นนันเป็ ้ นสิง่ ที่
ผิด ไม่ควรทำ
2. กฎหมายต้ องกำหนดความประพฤติของบุคคล
• ความประพฤติในที่นี ้ได้ แก่ การเคลื่อนไหวหรื อไม่เคลื่อนไหวร่างกาย
ภายใต้ การควบคุมของจิตใจ ตัวอย่างเช่น
• (1) นายดำยิงนายแดงโดยรู้วา่ การยิงนายแดงเช่นนี ้จะทำให้ นายแดง
ตาย
• (2) นายขาวมีหน้ าที่ต้องเสียภาษี แต่นิ่งเฉยไม่ยอมยื่นแบบแสดง
รายการเสียภาษี
• (3) ขณะนายฟ้ านอนอยู่ นายฟ้ าละเมอขึ ้นมาทำร้ ายนายเหลือง
3. กฎหมายต้ องมีสภาพบังคับ
• สภาพบังคับ (sanction) ส่วนใหญ่แล้ วมักเข้ าใจว่ากฎหมายมี
สภาพบังคับที่เป็ นผลร้ ายเท่านัน้ แต่กฎหมายมีทงสภาพบั
ั้ งคับที่เป็ นผล
ร้ ายและผลดี
• สภาพบังคับที่เป็ นผลร้ าย
• เช่น โทษอาญาต่าง ๆ เป็ นเรื่ องที่ผกู พันกับความกลัวผลร้ าย
• สภาพบังคับของกฎหมายอาญานันกำหนดไว้ ้ ในประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 18 ว่า “โทษสำหรับลงแก่ผ้ กู ระทำความผิด มีดงั นี ้
• (1) ประหารชีวิต
• (2) จำคุก
• (3) กักขัง
• (4) ปรับ
• (5) ริบทรัพย์สนิ ”
สภาพบังคับของกฎหมายแพ่ง
• (1) กำหนดให้ การกระทำที่ฝ่าฝื นกฎหมายนันตกเป็ ้ นโมฆะ เช่น
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 บัญญัติวา่ “การซื ้อ
ขายอสังหาริ มทรัพย์ ถ้ ามิได้ ทำเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้ าหน้ าที่ไซร้ ท่านว่าเป็ นโมฆะ...”
• (2) กำหนดให้ การกระทำที่ฝ่าฝื นกฎหมายนันตกเป็ ้ นโมฆียะ ตัวอย่าง
เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 21 บัญญัติวา่ “ผู้เยาว์
จะทำนิติกรรมใด ๆ ต้ องได้ รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรม
ก่อน การใด ๆ ที่ผ้ เู ยาว์ได้ ทำลงปราศจากความยินยอมเช่นว่านันเป็
้ น
โมฆียะ เว้ นแต่จะบัญญัติไว้ เป็ นอย่างอื่น”
• (3) การบังคับให้ ชำระหนี ้ เมื่อบุคคลใดเป็ นลูกหนี ้ บุคคลนันก็ ้ ต้อง
มีหน้ าที่ตามกฎหมายที่ต้องชำระหนี ้ ถ้ าลูกหนี ้ไม่ยอมชำระหนี ้ เจ้ าหนี ้
ย่อมมีสทิ ธิเรี ยกร้ องให้ ลกู หนี ้ชำระหนี ้ได้ ดังที่ประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา 194 บัญญัติไว้ วา่ “ด้ วยอำนาจแห่งมูลหนี ้ เจ้ าหนี ้
ย่อมมีสทิ ธิเรี ยกให้ ลกู หนี ้ชำระหนี ้ได้ ”
• (4) การริ บมัดจำ ในบางครัง้ เมื่อมีการตกลงทำสัญญากัน เพื่อให้ มี
หลักประกันว่าจะมีการปฏิบตั ิตามสัญญากัน อาจมีการตกลงให้ วาง
มัดจำไว้ มัดจำนี ้ถ้ าผู้วางเป็ นฝ่ ายผิดสัญญา อีกฝ่ ายหนึง่ มีสทิ ธิริบได้
ดังที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 378 บัญญัติวา่
“มัดจำนันถ้
้ ามิได้ ตกลงกันไว้ เป็ นอย่างอื่น ท่านให้ เป็ นไปดังกล่าวต่อไป
นี ้ คือ
• (1) ให้ สง่ คืนหรื อจัดเอาเป็ นการใช้ เงินบางส่วนในเมื่อชำระหนี ้
• (2) ให้ ริบ ถ้ าฝ่ ายที่วางมัดจำละเลยไม่ชำระหนี ้
• (3) ให้ สง่ คืน ถ้ าฝ่ ายที่รับมัดจำละเลยไม่ชำระ”
• (5) เรี ยกเบี ้ยปรับ ในบางครัง้ คูส่ ญั ญาไม่แน่ใจว่าอีกฝ่ ายหนึง่ จะ
ปฏิบตั ิตามสัญญาได้ จึงมีการกำหนดเบี ้ยปรับขึ ้นไว้ สำหรับให้ ฝ่ายที่ผิด
สัญญาต้ องใช้ ให้ แก่อีกฝ่ ายหนึง่ เบี ้ยปรับจึงเท่ากับการกำหนดค่าเสีย
หายจากการผิดสัญญาไว้ ลว่ งหน้ า เรื่ องเบี ้ยปรับนี ้ประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์มาตรา 379 บัญญัติวา่ “ถ้ าลูกหนี ้สัญญาแก่เจ้ าหนี ้
ว่าจะใช้ เงินจำนวนหนึง่ เป็ นเบี ้ยปรับเมื่อตนไม่ชำระหนี ้ก็ดีหรื อไม่ชำระ
หนี ้ให้ ถกู ต้ องสมควรก็ดี เมื่อลูกหนี ้ผิดนัดก็ให้ ริบเบี ้ยปรับ”
สภาพบังคับที่เป็ นผลดี
• เช่น สิทธิที่จะได้ รับการยกเว้ นภาษีอากร
4. กฎหมายต้ องมีกระบวนการทีแ่ น่ นอน
• (1) ในคดีอาญา เมื่อมีการกระทำความผิดอาญาเกิดขึ ้น จะต้ องแจ้ ง
ให้ เจ้ าพนักงานตำรวจทราบเพื่อจะได้ ดำเนินการสอบสวนหาตัวผู้กระทำ
ความผิด เมื่อได้ ตวั ผู้กระทำความผิดและสอบสวนเสร็ จแล้ วต้ องส่ง
สำนวนให้ พนักงานอัยการเพื่อให้ พนักงานอัยการเป็ นโจทก์ฟ้องขอให้
ศาลลงโทษผู้กระทำผิด เมื่อศาลพิจารณาเสร็จแล้ วจะลงโทษผู้กระทำ
ผิดก็จะส่งเรื่ องให้ กรมราชทัณฑ์เป็ นผู้บงั คับตามคำพิพากษา
• (2) ในคดีแพ่ง เมื่อมีการก่อให้ เกิดหนี ้ในทางแพ่งขึ ้นไม่วา่ จะเพราะ
เหตุผิดสัญญาหรื อทำละเมิดก็ต้องมีการใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องโดยฟ้องยังศาล
เมื่อศาลพิจารณาเสร็ จสัง่ ให้ ลกู หนีชำ
้ ระหนี ้ให้ แก่เจ้ าหนี ้ ถ้ าลูกหนี ้ไม่
ชำระหนี ้ตามคำพิพากษา เจ้ าหนี ้ก็สามารถร้ องขอต่อกรมบังคับคดีเพื่อ
ให้ ยดึ ทรัพย์ของลูกหนี ้นำขายทอดตลาด เอาเงินมาใช้ ให้ เจ้ าหนี ้ได้

You might also like