You are on page 1of 5

กฎหมายคืออะไร

กฎหมายคือข ้อบังคับของรัฐ ทีบ ่ ญ


ั ญัตข ิ นึ้ เพือ ้
่ ใชควบคุ มพฤติกรรม
ของพลเมือง มีลก ั ษณะเป็ นกฎเกณฑ์ เพือ ่ ให ้เกิดความสงบเรียบร ้อยใน
สงั คม หากใครฝ่ าฝื น จะถูกลงโทษ
กฎหมายสำค ัญอย่างไร
กฎหมายมีความสำคัญต่อสงั คมในด ้านต่างๆ ดังนี้
1. กฎหมายสร ้างความเป็ นระเบียบและความสงบเรียบร ้อยให ้กับ
สงั คมและประเทศชาติ 
เมือ่ อยูร่ วมกันเป็ นสงั คมทุกคนจำเป็ นต ้องมีบรรทัดฐาน ซงึ่ เป็ น
แนวทางปฏิบต ั ยิ ด ึ ถือเพือ่ ความสงบเรียบร ้อย ความเป็ นปึ กแผ่นของกลุม ่
2. กฎหมายเกีย ่ วข ้องกับการดำเนินชวี ต ิ ของมนุษย์
พลเมืองไทยทุกคนต ้องปฏิบต ั ติ นตามข ้อบังคับของกฎหมาย ถ ้า
ใครฝ่ าฝื นไม่ปฏิบต ั ต
ิ ามต ้องได ้รับโทษ กฎหมายจะเกีย ่ วข ้องกับการ
ดำรงชวี ต ิ ของเราตัง้ แต่เกิดจนกระทั่งตาย
  3. กฎหมายก่อให ้เกิดความเป็ นธรรมในสงั คม
คนเราทุกคนย่อมต ้องการความยุตธิ รรมด ้วยกันทัง้ สน ิ้ การทีจ ่ ะ
ตัดสน ิ ว่าการกระทำใดถูกต ้องหรือไม่นัน ้ ย่อมต ้องมีหลักเกณฑ์ ฉะนัน ้
กฎหมายจึงเป็ นกฎเกณฑ์สำคัญทีเ่ ป็ นหลักของความยุตธิ รรม
  4. กฎหมายเป็ นหลักในการพัฒนาคุณภาพชวี ต ิ ของประชาชน
การกำหนดนโยบายพัฒนาประเทศให ้เจริญก ้าวหน ้าไปในทางใด
หรือคุณภาพของพลเมืองเป็ นอย่างไร จำเป็ นต ้องมีกฎหมายออกมาใช ้
บังคับ เพือ ่ ให ้ได ้ผลตามเป้ าหมายของการพัฒนาทีก ่ ำหนดไว ้ ดังจะเห็น
ได ้จากการทีก ่ ฎหมายได ้กำหนดให ้บุคคลมีสท ิ ธิได ้รับการศก ึ ษาขัน
้ พืน ้
ฐานไม่น ้อยกว่า 12 ปี โดยรัฐเป็ นผู ้จัดการศก ึ ษาให ้แก่ประชาชนอย่างทั่ว
ถึงและมีคณ ุ ภาพโดยไม่เก็บค่าใชจ่้ ายนัน ้ ย่อมสง่ ผลให ้ คุณภาพด ้าน
การศก ึ ษาของประชาชนสูงขึน ้ หรือการทีก ่ ฎหมายกำหนดให ้ประชาชน
ทุกคนมีหน ้าทีพ ่ ทิ ักษ์ปกป้ อง และสบ ื สานศล ิ ปวัฒนธรรมของชาติ
ภูมปิ ั ญญาท ้องถิน ่ รวมถึงการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่
แวดล ้อม ย่อมทำให ้สงั คมและสภาพความเป็ นอยูข ่ องประชาชนมี
มาตรฐานดีขน ึ้

ระบบของกฎหมาย
กฎหมาย มี 2 ระบบ คือ ระบบกฎหมายลายลักษณ์อก ั ษร และระบบ
ไม่เป็นลายลักษณ์อก
ั ษรหรือเรียกอีกอย่างว่า ระบบจารีตประเพณี
ระบบลายลักษณ์อก ั ษร ( Civil law System) ประเทศไทยใชระบบ ้
นีเ้ ป็ นหลัก กระบวนการจัดทำกฎหมายมีขน ั ้ ตอนทีเ่ ป็ นระบบ มีการจด
บันทึก มีการกลัน ่ กรองของฝ่ ายนิตบ ิ ญั ญัตค ิ อื รัฐสภา มีการจัดหมวดหมู่
กฎหมายของตัวบทและแยกเป็ นมาตรา เมือผ่ ่ านการกลัน ่ กรองจากรัฐสภา
แล ้ว จะประกาศใชเป็ ้ นกฎหมายโดยราชกิจจานุเบกษา กฎหมายลาย
ลักษณ์อก ั ษรนี้ ได ้แก่ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัต ิ พระราชกำหนด พระ
ราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง
ระบบไม่เป็ นลายลักษณ์อก ั ษรหรือจารีตประเพณี ( Common Law
System) เป็ นกฎหมายทีม ่ ไิ ด ้มีการจัดทำเป็ นลายลักษณ์อก ั ษร ไม่มก ี าร
จัดเป็ นหมวดหมู่ และไม่มม ี าตรา หากแต่เป็ นบันทึกความจำตาม
ขนบธรรมเนียมประเพณีทใี่ ชกั้ นต่อๆมา ตัง้ แต่บรรพบุรษ ุ รวมทัง้ บันทึกคำ
พิพากษาของศาลทีพ ่ พ
ิ ากษาคดีมาแต่ดงั ้ เดิม ประเทศทีใ่ ชกฎหมาย ้
จารีตประเพณีหรือไม่เป็ นลายลักษณ์อก ั ษร ไดแก่ ้ ประเทศอังกฤษและประเทศ
ทังหลายในเครื
้ อจักรภพของอังกฤษ

ประเภทของกฎหมาย
1.แบ่งตามลักษณะการใชกฎหมาย ้
                การแบ่งประเภทกฎหมายตามลักษณะการใช กฎหมาย ้  ต ้อง
คำนึงถึงบทบาทและหน ้าที ่  การนำเอากฎหมายไปใช เป็ ้ นหลัก ซงึ่ แบ่ง
ได ้เป็ น 2 ประเภท คือ กฎหมายสารบัญญัต ิ และกฎหมายวิธส ี บัญญัต ิ
กฎหมายสารบัญญัต ิ คือ กฎหมายทีบ ่ ญ
ั ญัตถ ิ งึ สท ิ ธิและหน ้าทีข ่ อง
บุคคล กำหนด ข ้อบังคับความประพฤติของบุคคลทัง้ ในทางแพ่งและใน
ทางอาญา โดยเฉพาะในทางอาญา คือ ประมวลกฎหมายอาญา จะ
บัญญัตล ิ ก ั ษณะการกระทำอย่างใดเป็ นความผิดระบุองค์ประกอบความ
ผิดและกำหนดโทษไว ้ว่า จะต ้องรับ โทษอย่า งไร และในทางแพ่ง คือ
ประ มวลกฎหมา ย แ พ ง่ แล ะ พา ณ ช ิ ย ์  จะ กำหนดสา ร ะ ส ำ ค ญ ั ข อง
บทบัญญัตวิ า่ ด ้วยนิตส ั พันธ์ระหว่างบุคคลในฐานะต่างๆ ตามกฎหมาย
ิ ม
เชน ่ นิตก ิ รรม หนี้ สญ ั ญา เอกเทศสญ ั ญา เป็ นต ้น
กฎหมายวิธส ี บัญญัต ิ คือ กฎหมายทีบ ่ ญั ญัตถ ิ งึ วิธก ี ารปฏิบ ต ั ดิ ้วย
การนำเอากฎหมายสารบัญญัตไิ ปใชไปปฏิ ้ บต ั นิ ั่นเอง เชน ่ ไปดำเนินคดี
ในศาลหร อ ื เร ย
ี กว่า  กฎหมายว ธิ พ ี จ ิ ารณาความก็ไ ด ้  กฎหมายว ธิ ี
สบัญ ญัต  ิ    จะกำหนดระเบีย บ ระบบ ขัน ้ ตอนในการใช ้ เช น ่ กำหนด
อำนาจเจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐในการดำเนินคดีอาญาต่อผู ้ต ้องหา วิธก ี ารร ้อง
ทุกข์ วิธก ี ารสอบสวนวิธก ี ารนำคดีทมี่ ปี ั ญหาฟ้ องต่อศาล วิธก ี ารพิจารณา
คดีตอ ่ สูคดี้ ในศาลรวมทัง้ การบังคับคดีตามคำสงั่ หรือคำพิพากษาของ
ศาล เป็ นต ้น กฎหมายวิธส ี บัญญัต ิ จะกำหนดไว ้ในประมวลกฎหมายวิธ ี
พิจารณา    ความอาญา ประมวลกฎหมายวิธพ ี จิ ารณาความแพ่งเป็ นหลัก
2.แบ่งตามบทบัญญัตใิ นกฎหมายทีม ่ ค
ี วามสม ั พันธ์กบั ประชาชน
กฎหมายมหาชน เป็ นกฎหมายท รี่ ัฐ ตราออกใช กำหนดความ ้
สมั พัน ธ์ร ะหว่า งรัฐ กับ ประชาชนการบร ห ิ ารประเทศ รัฐ มีฐ านะเป็ นผู ้
ปกครองประชาชนด ้วยการออกกฎหมายและให ้ประชาชนปฏิบ ต ั ต
ิ าม
กฎหมาย เพือ ิ ความสงบเรีย บร ้อยแก่ส งั คม จ งึ ตรากฎหมาย
่ ให ้เก ด
ประเภทมหาชนซงึ่ เกีย ่ วข ้องกับประชาชนเป็ นส ว่ นรวมทัง้ ประเทศ และ
ทุกคนต ้องปฏิบต ั ต
ิ ามกฎหมายการไม่ปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายจะมีผลกระทบ
ต่อบุคคลของประเทศเป็ นสว่ นรวม จึงเรียกว่า กฎหมายมหาชน กฎหมาย
ประเภทนี้ ได ้แก่ กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง เชน ่ พระราช
บัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายอาญา เป็ นต ้น
กฎหมายเอกชน เป็ นกฎหมายทีก ่ ำหนดความส ม ั พัน ธ์ร ะหว่า ง
เอกชนกับเอกชน ด ้วย กันเอง เป็ นความสม ั พันธ์ในเรือ่ งสท ิ ธิและหน ้าที่
ระหว่า งคูส ่ ญั ญา คือ เอกชนด ้วยกัน เอง รัฐ ไม่ไ ด ้เข ้าไปยุง่ เกีย ่ วด ้วย
เพราะไม่มผ ี ลกระทบต่อส งั คมสว่ นรวม  จึงให ้ประชาชนมีอส ิ ระกำหนด
ความสม ั พัน ธ์ร ะหว่างกันภายในกรอบของกฎหมายเพือ ่ คุ ้มครองความ
เสมอภาคมิใ ห ้เอาเปรีย บต่อ กัน จนเก ด ิ ความไม่เ ป็ นธรรมข น ึ้ ต่อ    การ
ดำรงชวี ต ิ ประจำวัน กฎหมายเอกชน ได ้แก่ กฎหมายแพ่งทัง้ หลายตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เป็ นต ้น

กฎหมายไทยมาจากไหน
ประเทศไทยเป็ นระบบกฎหมายลายลักษณ์อก ั ษรหรือทีเ่ รียกว่า
Civil Law ดังนัน ้ สงิ่ ทีจ ่ ะมาใชบั้ งคับเป็ นกฎหมายย่อมต ้องมีการถูกเขียน
หรือตีตราขึน ้ เป็ นลายลักษณ์อก ั ษรเสย ี ก่อนจากรัฐ
รัฐแต่ละรัฐย่อมมีอำนาจอธิปไตยเป็ นของตนเอง ในประเทศไทย

แบ่งการใชอำนาจอธิ ปไตยออกเป็ น 3 อำนาจ
1.อำนาจนิตบ ิ ญ
ั ญัต ิ ใชอำนาจผ่ ้ านทางรัฐสภา มีหน ้าทีต ่ รากฎหมาย
2.อำนาจบริหาร ใชอำนาจผ่ ้ านทางรัฐบาล มีหน ้าทีบ ่ ริหารประเทศ
3.อำนาจตุลาการใชอำนาจผ่ ้ านทางศาล มีหน ้าทีย ่ ตุ ขิ ้อพิพาท
โดยหลักแล ้วอำนาจในการตรากฎหมายจะเป็ นอำนาจของฝ่ าย
นิตบ
ิ ญ
ั ญัต ิ แต่ในบางกรณีรัฐบาลอาจใชอำนาจตรากฎหมายได ้ ้ โดย
รัฐบาลอาศย ั อำนาจจากรัฐธรรมนูญ เชน ่ กรณีตราพรก.
ั ข
ลำด ับศกดิ ์ องกฎหมาย
การมีลำดับศก ั ดิข
์ องกฎหมายเป็ นแนวความคิดทางกฎหมายของ
ฝรั่งเศส ซงึ่ กำหนดลำดับชน ั ้ ระหว่างกฎหมายประเภทต่างๆ ซงึ่ ทำให ้ผู ้มี
อำนาจในการตรากฎหมายทีม ่ ศ ั ดิด
ี ก ์ ้อยกว่าต ้องเคารพและไม่ สามารถ
ตรากฎหมายทีล ่ ะเมิดกฎหมายทีม ่ ศ ั ดิส
ี ก ์ งู กว่าได ้
1.รัฐธรรมนูญ
2.พระราชบัญญัตป ิ ระกอบรัฐธรรมนูญ
3.พระราชบัญญัต ิ
4.พระราชกำหนด
5.พระราชกฤษฎีกา
6.กฎกระทรวง
7.ข ้อบัญญัตท ิ ้องถิน่ ได ้แก่ ข ้อบัญญัตก ิ รุงเทพมหานคร และข ้อบัญญัต ิ
เมืองพัทยา

โทษทางแพ่ง โทษทางอาญา
ื การชดใชค่้ าเสย
โทษทางแพ่ง ก็คอ ี หายให ้แก่ผู ้เสย
ี หาย ซงึ่ เรียก
ิ ไหมทดแทน”
ว่า “ค่าสน
โทษทางอาญามี 5 ขัน้ (สถาน) ได ้แก่ประหารชวี ติ จำคุก กักขัง

ปรับ ริบทรัพย์สน

ศาลไทย
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปั จจุบน ั คือ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศก ั ราช 2550) มาตรา 197 ถึง
มาตรา 228 กำหนดศาลไทยมี 4 ประเภท ดังต่อไปนี้
1. ศาลรัฐธรรมนูญ
ศาลรัฐธรรมนูญ (constitutional court) เป็ นศาลสูงทีม ่ อ
ี ำนาจ
พิจารณาพิพากษาเกีย ่ วกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ โดยมีอำนาจหลักทีจ ่ ะ
วินจิ ฉั ยว่า กฎหมายใดมีปัญหาเรือ ่ งความชอบด ้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่
เชน่ ขัดกับสท ิ ธิและเสรีภาพตามทีร่ ัฐธรรมนูญรับรองไว ้หรือไม่
2. ศาลยุตธิ รรม
ศาลยุตธิ รรม (The Court of Justice) เป็ นศาลทีม
่ อ
ี ำนาจพิจารณา
พิพากษาคดีทงั ้ ปวง เชน ่ คดีแพ่ง คดีอาญา โดยศาลยุตธิ รรมได ้แก่ ศาล
จังหวัด ศาลแพ่ง ศาลอาญา ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน
ศาลภาษี อากร ศาลทรัพย์สน ิ ทางปั ญญาและการค ้าระหว่างประเทศ ศาล
ล ้มละลาย เป็ นต ้น
3. ศาลปกครอง
ศาลปกครอง (Administrative court) เป็ นศาลชำนัญพิเศษด ้าน
กฎหมายปกครอง โดยเฉพาะด ้านข ้อพิพาทเกีย ้
่ วกับการใชอำนาจรั ฐ จัด
ตัง้ ขึน
้ เพือ
่ สร ้างความมั่นใจว่า ราชการเป็ นไปตามกฎหมาย
4. ศาลทหาร

ลำด ับชนศาล ั้
ปกติแล ้วระบบกฎหมายไทยจะมีอยู่ 3 ชน ั ้ ศาล คือ ศาลชน ั ้ ต ้น ศาล
อุทธรณ์ ศาลฎีกา
นอกจากนีบ ้ างศาลมีการแบ่งทีแ ่ ตกต่างออกไปเชน ่ ศาลปกครอง มี 2
ชน ั ้ ศาลได ้แก่ ศาลปกครองชน ั ้ ต ้น ศาลปกครองสูงสุด
โดยแต่ละครัง้ ทีม ่ เี รือ
่ งขึน ่ าลนัน
้ สูศ ้ จะต ้องเริม ่ ต ้นยืน
่ ฟ้ องทีศ ่ าล
ลำดับแรกสุดของแต่ละประเภทศาลเสมอ เชน ่ ศาลยุตธิ รรม ต ้องยืน ่ ฟ้ อง
ศาลชน ั ้ ต ้นก่อน เมือ ่ ศาลชน ั ้ ต ้นพิพากษาแล ้ว หากไม่พอใจจึงจะมีสท ิ ธิ
ยืน
่ ฟ้ องอุทธรณ์ได ้ และหากไม่พอใจคำพิพากษาอุทธรณ์จงึ จะมีสท ิ ธิยน ื่
ฟ้ องฎีกาได ้ เป็ นเชน ่ นีเ้ พือ่ ให ้คำฟ้ องทีย ่ นื่ มาได ้ผ่านกระบวนพิจารณา
ของศาลในชน ั ้ ศาลนัน้ ๆก่อน จึงจะเลือ ่ นผ่านไปศาลลำดับชน ั ้ สูงกว่าได ้

You might also like