You are on page 1of 3

1.

ให้ท่านอธิบายความแตกต่างระหว่างระบบกฎหมาย
Civil Law กับระบบกฎหมาย Common Law

“ ร ะ บ บ ก ฎ ห ม า ย ซี วิ ล ล อ ว์ ( Civil Law) ” อ า จ เ รี ย ก ว่ า
“ ร ะ บ บ ก ฎ ห ม า ย โ ร ม า โ น – เ ย อ ร ม า นิ ค ” ( Romano Germanic)
หรื อ อาจเรี ย กอี ก ว่ า “ระบบประมวลกฎหมาย” ค าว่ า “โรมาโน” หมายถึ ง
กรุงโรม ซึง่ เป็ นเมืองหลวงของประเทศอิตาลี ส่วนคาว่า “เยอรมันนิค” หมายถึง
ช า ว เ ย อ ร มั น
การที่ ต ้งั ชื่ อ ระบบกฎหมายเช่ น นี้ ก็ เ พื่ อ เป็ นเกี ย รติ แ ก่ ป ระเทศอิ ต าลี แ ละ
ป ร ะ เ ท ศ เ ย อ ร มั น เ นื่ อ ง จ า ก
อิ ต า ลี เ ป็ น ป ร ะ เ ท ศ แ ร ก ที่ รื้ อ ฟื้ น ก ฎ ห ม า ย โ ร มั น ใ น อ ดี ต ขึ้ น ม า
ส่วนประเทศเยอรมันเป็ นประเทศทีส ่ องทีไ่ ด้รบ
ั เอากฎหมายระบบกฎหมายนี้มา
ใช้ในประเทศของตน
โดยลักษณะสาคัญของระบบ Civil Law มีดงั นี้
1. ประเทศที่ใ ช้ระบบกฎหมายนี้ จะมี ก ารรวบรวมกฎหมายที่เ รี ย กว่า
“ประมวลกฎหมาย”
2 .
กฎหมายระบบนี้ถือว่ากฎหมายทีเ่ ป็ นลายลักษณ์ อกั ษรมีความสาคัญกว่าคาพิพ
ากษาของศาล และจารี ต ประเพณี กล่ า วคื อ ระบบกฎหมาย Civil Law นี้
ไม่ว่าจะเป็ นการเรียนการสอนกฎหมาย หรือการใช้กฎหมายของนักกฎหมาย
อ า ทิ เ ช่ น ผู้ พิ พ า ก ษ า อั ย ก า ร ฯ ล ฯ
ก็ จ ะ ถื อ ว่ า ก ฎ ห ม า ย ล า ย ลั ก ษ ณ์ อัก ษ ร เ ป็ น เ ก ณ ฑ์ ใ น ก า ร ใ ช้ ก ฎ ห ม า ย
หรือตีความกฎหมาย
3. กฎหมายระบบนี้ ค าพิ พ ากษาของศาลไม่ ใ ช่ ที่ ม าของกฎหมาย
แต่เป็ นเพียงบรรทัดฐานแบบอย่างของการตีความหรือการใช้กฎหมายของศาล
เ ท่ า นั้ น ก ล่ า ว คื อ
เมือ
่ ระบบกฎหมายระบบนี้ถือว่ากฎหมายทีเ่ ป็ นลายลักษณ์ อกั ษรมีความสาคัญก
ว่ า ค า พิ พ า ก ษ า ข อ ง ศ า ล
ก ฎ ห ม า ย ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร จึ ง ถื อ ว่ า เ ป็ น ที่ ม า ข อ ง ก ฎ ห ม า ย
แ ล ะ ก า ร ใ ช้ ก ฎ ห ม า ย ก็ ดี ก า ร ตี ค ว า ม ก ฎ ห ม า ย ก็ ดี
จะต้องถือกฎหมายลายลักษณ์ อกั ษรเป็ นหลัก
ส่ ว น ค า พิ พ า ก ษ า ข อ ง ศ า ล นั้ น
ร ะ บ บ นี้ ไ ม่ ถื อ ว่ า เ ป็ น ก ฎ ห ม า ย ที่ จ ะ ต้ อ ง ใ ช้ ห รื อ ถื อ ต า ม ดั ง นั้ น
ห า ก จ ะ มี ก า ร วิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข า ด ค ดี ใ ด ก็ ต า ม
ศ า ล ส า ม า ร ถ ใ ช้ ก ฎ ห ม า ย ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร วิ นิ จ ฉั ย ไ ด้ เ ล ย
โ ด ย มิ ต้ อ ง ดู ค า พิ พ า ก ษ า ค ดี อื่ น ว่ า วิ นิ จ ฉั ย อ ย่ า ง ไ ร
แม้คดีอืน
่ จะมีขอ
้ เท็จจริงของเหตุการณ์ เหมือนกันก็ตาม
ย ก ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น น า ย ก ขั บ ร ถ ย น ต์ ช น น า ย ข
โดยประมาทถึงแก่ความตาย ศาลในคดีนี้ตดั สินว่า นาย ก มีความผิดทางอาญา
ใ ห้ จ า คุ ก 4 ปี แ ล ะ ป รั บ 1 0 , 0 0 0 บ า ท ใ น เ ว ล า ต่ อ ม า
มี ข้ อ เท็ จ จริ ง อย่ า งเดี ย วกัน เกิ ด ขึ้ น มาอี ก ว่ า นาย ค ขับ รถยนต์ ช น นาย ง
โดยประมาทถึงแก่ความตาย ศาลคดีนาย ค ก็ไม่จาต้องถือตามคดีของนาย ก
กล่า วคือ ศาลไม่จาต้อ งตัด สินว่า นาย ค มี ค วามผิด ทางอาญา ให้จาคุก 4 ปี
แ ล ะ ป รั บ 1 0 , 0 0 0 บ า ท แ ต่ อ ย่ า ง ใ ด
เ พ ร า ะ ศ า ล ใ น ร ะ บ บ นี้ ใ ช้ ก ฎ ห ม า ย ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร ตั ด สิ น
มิใช่ตอ ้ งถือตามคาพิพากษา
4. ระบบนี้ ใช้ในประเทศต่าง ๆ ในยุโรป อาทิ เช่น ฝรั่งเศส โปรตุเกส
เนเธอร์แลนด์ สเปน และประเทศไทย

ร ะ บ บ ก ฎ ห ม า ย ค อ ม ม อ น ล อ ว์ ( Common Law)
นัน ้ แบบมาจากประเทศอังกฤษซึ่งลักษณะเฉพาะของระบบกฎหมายคอม
้ มีตน
มอน ลอว์ คือ
1. ระบบนี้ไม่มีการรวบรวมกฎหมายในลักษณะประมวลกฎหมาย
2. คาพิพากษาของศาลมีความสาคัญมากกว่ากฎหมายลายลักษณ์ อกั ษร
กล่ า วคื อ ระบบกฎหมาย นี้ ไม่ ว่ า จะเป็ นการเรี ย นการสอนกฎ หมาย
หรื อ การใช้ ก ฎหมายของนัก กฎหมาย อาทิ เ ช่ น ผู้ พิ พ ากษา อัย การ ฯลฯ
ก็ จ ะถื อ ว่ า ค าพิ พ ากษาที่ เ คยวิ นิ จ ฉัย เอาไว้ เ ป็ นเกณฑ์ ใ นการใช้ ก ฎหมาย
หรือตีความกฎหมาย
3. ค าพิ พ ากษาในระบบ Common Law เป็ นบ่ อ เกิ ด ของกฎหมาย
ศาลต้องผูกพันพิพากษาคดีตามแนวบรรทัดฐานคาพิพากษาที่ได้มีมาแต่เดิม
ตามหลัก “ข้อเท็จจริงอย่างเดียวกัน ย่อมต้องได้รบ
ั การปฏิบตั อ
ิ ย่างเดียวกัน”
ย ก ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น น า ย ก ขั บ ร ถ ย น ต์ ช น น า ย ข
โดยประมาทถึงแก่ความตาย ศาลในคดีนี้ตดั สินว่า นาย ก มีความผิดทางอาญา
ใ ห้ จ า คุ ก 4 ปี แ ล ะ ป รั บ 1 0 , 0 0 0 บ า ท ใ น เ ว ล า ต่ อ ม า
มี ข้ อ เท็ จ จริ ง อย่ า งเดี ย วกัน เกิ ด ขึ้ น มาอี ก ว่ า นาย ค ขับ รถยนต์ ช น นาย ง
โดยประมาทถึง แก่ค วามตาย ศาลคดีน าย ค ก็ จ าต้อ งถื อ ตามคดีข องนาย ก
กล่าวคือ ศาลต้องตัดสินว่า นาย ค มีความผิดทางอาญา ให้จาคุก 4 ปี และปรับ
1 0 , 0 0 0 บ า ท ต า ม แ น ว ค า พิ พ า ก ษ า ข อ ง ค ดี แ ร ก เ พ ร า ะ
ระบบนี้ถือว่าคาพิพากษาถือเป็ นกฎหมายนั่นเอง
4. เ ป็ น ร ะ บ บ ก ฎ ห ม า ย ใ ช้ ใ น ป ร ะ เ ท ศ อั ง ก ฤ ษ
สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และประเทศทีเ่ คยอยูใ่ นเครื
อจักรภพของอังกฤษ เป็ นต้น

You might also like