You are on page 1of 14

หลักนิติธรรม

(Rule of Law)
หลักนิตธิ รรม (Rule of Law)

“...หลักนิติธรรม หมายถึง หลักการปกครองที่บุคคลทั้งหลาย สถาบันและ


หน่วยงาน ไม่ว่าจะเป็นสาธารณะหรือเอกชนรวมไปถึงรัฐ ความรับผิดชอบทาง
กฎหมายที่ได้มีการประกาศอย่างเป็นการทั่วไป มีการบังคับใช้อย่างเสมอกันและ
สอดคล้องกับธรรมเนียมและมาตรฐานของสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ หลัก
ดังกล่าวนี้จะต้องมีมาตรการเพื่อเป็นการประกันการเครารพและปฏิบัติต่อหลักการ
ความสูงสุดของกฎหมาย ความเท่าเทียมกันทางกฎหมาย มีความโปร่งใสและ
ยุติธรรมในการใช้กฎหมาย การแบ่งแยกอานาจ การมีส่วนร่วมในกระบวนการ
ตัดสินใจ ความชัดเจนแน่นอนของกฎหมาย หลีกเลี่ยงการเลือกปฏิบัติ ความ
โปร่งใสของกฎหมายและกระบวนการทางกฎหมาย”

(S/2004/616)
Report of the Secretary-General on the Rule of Law and
Transitional Justice in Conflict and Post-Conflict Societies
ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 113 ผู้ใดใช้กำลังประทุษร้ำย หรือขู่เข็ญว่ำจะใช้กำลังประทุษร้ำย เพื่อ


(1) ล้มล้ำงหรือเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ
(2) ล้มล้ำงอำนำจนิติบัญญัติ อำนำจบริหำร หรืออำนำจตุลำกำรแห่งรัฐธรรมนูญ หรือให้
ใช้อำนำจดังกล่ำวแล้วไม่ได้ หรือ
(3) แบ่งแยกรำชอำณำจักรหรือยึดอำนำจปกครองในส่วนหนึ่งส่วนใดแห่งรำชอำณำจักร
ผู้นั้นกระทำควำมผิดฐำนเป็นกบฏ ต้องระวำงโทษประหำรชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิต
ประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 114 ผู้ใดสะสมกำลังพลหรืออำวุธ ตระเตรียมกำรอื่นใด หรือสมคบกัน เพื่อเป็น


กบฏ หรือกระทำควำมผิดใด ๆ อันเป็นส่วนของแผนกำร เพื่อเป็นกบฏ หรือยุยงรำษฎรให้
เป็นกบฎหรือรู้ว่ำมีผู้จะเป็นกบฎ แล้วกระทำกำรใดอันเป็นกำรช่วยปกปิดไว้ ต้องระวำง
โทษจำคุกตั้งแต่สำมปีถึงสิบห้ำปี
ประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 115 ผู้ใดยุยงทหำรหรือตำรวจให้หนีรำชกำร ให้ละเลยไม่กระทำกำรตำมหน้ำที่


หรือให้ก่อกำรกำเริบ ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินห้ำปี
ถ้ำควำมผิดนั้นได้กระทำลงโดยมุ่งหมำยจะบ่อนให้วินัยและสมรรถภำพของกรมกองทหำร
หรือตำรวจเสื่อมทรำมลง ผู้กระทำต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินสิบปี
ประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 116 ผู้ใดกระทำให้ปรำกฎแก่ประชำชนด้วยวำจำ หนังสือหรือวิธีอื่นใดอันมิใช่


เป็นกำรกระทำภำยในควำมมุ่งหมำยแห่งรัฐธรรมนูญ หรือมิใช่เพื่อแสดงควำมคิดเห็นหรื
อติชมโดยสุจริต
(1) เพื่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงในกฎหมำยแผ่นดินหรือรัฐบำล โดยใช้กำลังข่มขืนใจหรือ
ใช้กำลังประทุษร้ำย
(2) เพื่อให้เกิดควำมปั่นป่วนหรือกระด้ำงกระเดื่องในหมู่ประชำชนถึงขนำดที่จะก่อควำม
ไม่สงบขึ้นในรำชอำณำจักร หรือ
(3) เพื่อให้ประชำชนล่วงละเมิดกฎหมำยแผ่นดินต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินเจ็ดปี
รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550

มาตรา ๓ วรรค 2
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตาม
รัฐธรรมนูญ และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550
มาตรา ๖๘
บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอานาจในการปกครองประเทศโดย
วิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ มิได้
ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทาการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทาดังกล่าวย่อม
มีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคาร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้
เลิกการกระทาดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดาเนินคดีอาญาต่อผู้กระทาการดังกล่าว
ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้พรรคการเมืองใดเลิกกระทาการตามวรรคสอง ศาล
รัฐธรรมนูญอาจสั่งยุบพรรคการเมืองดังกล่าวได้
ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคาสั่งยุบพรรคการเมืองตามวรรคสาม ให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของ
หัวหน้าพรรคการเมืองและกรรมการบริหารของพรรคการเมืองที่ถูกยุบในขณะที่กระทาความผิดตามวรรค
หนึ่งเป็นระยะเวลาห้าปีนับแต่วันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคาสั่งดังกล่าว
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550

มาตรา ๗๐ บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบ


ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้

มาตรา ๗๑ บุคคลมีหน้าที่ป้องกันประเทศ รักษาผลประโยชน์ของชาติ และปฏิบัติตามกฎหมาย

มาตรา ๗๒ บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง.......
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550
มาตรา ๑๑๒
การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาในแต่ละจังหวัด ให้ใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้งและ
ให้มีสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดละหนึ่งคน โดยให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งออกเสียงลงคะแนน
เลือกตั้งผู้สมัครรับเลือกตั้งได้หนึ่งเสียงและให้ใช้วิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ
เพื่อประโยชน์ในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งสามารถหาเสียง
เลือกตั้งได้ก็แต่เฉพาะที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ของวุฒิสภา
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการเลือกตั้งและการหาเสียงเลือกตั้งของสมาชิก
วุฒิสภาให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550

มาตรา 126 วรรค 3


สมาชิกคนหนึ่งย่อมมีเสียงหนึ่งในการออกเสียงลงคะแนน ถ้ามีคะแนน
เสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้
ขาด
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550

มาตรา 291 (1) วรรค 1


ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎรมีจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา
มีจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้ง
สองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจานวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน
ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย

You might also like