You are on page 1of 5

หลังจากที่พระราชบัญญัติค้ มุ ครองเด็ก พ.ศ.

๒๕๔๖ มีผลใช้ บงั คับ เมื่อศึกษาพบว่ากฎหมาย ฉบับนี ้มีบทบัญญัติที่


เป็ นปั ญหาในการบังคับใช้ อยู่ คือ แม้ จะมีการกาหนดอานาจและหน้ าที่ของคณะกรรมการคุ้มครองเด็ก พระราชบัญญัติ
คุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖ มาตรา ๑๗ แต่บ่อยครัง้ พบว่าเจ้ าหน้ าที่รัฐไม่ปฏิบตั ิหน้ าที่ตามที่กฎหมายกาหนด ตามมาตรา 85 ที่
บัญญัติว่า
“ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ องปฏิบตั ิหน้ าที่ราชการให้ เป็ นไปตาม กฎหมาย ระเบียบของทางราชการ มติ
คณะรัฐมนตรี และนโยบายของรัฐบาล โดยไม่ให้ เสียหายแก่ราชการ
การปฏิบตั ิหน้ าที่ราชการโดยจงใจไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบาย
ของรัฐบาล อันเป็ นเหตุให้ เสียหายแก่ราชการ อย่างร้ ายแรง เป็ นความผิดวินัยอย่างร้ ายแรง”

เมื่อมีการละเลยหน้ าที่ของข้ าราชการในพระราชบัญญัติค้ มุ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 กาหนดเพียงความรับผิดของ


ผู้ปกครองที่มีการลงโทษผู้ปกครองตามมาตรา 78 ที่มีอัตราโทษจาคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทังจ ้ า
ทังปรั
้ บ อีกทัง้ การกาหนดบทลงโทษในลักษณะโทษทางอาญาซึ่งใช้ แก่ ผู้ปกครองเพียงเพราะเหตุแห่งการละเลยหรือบกพร่อง
ต่อหน้ าที่ แต่มิได้ มีบทบัญญัติใดในพระราชบัญญัติค้ ุมครองเด็ก พ.ศ. 2546 ที่กาหนดโทษหากเจ้ าหน้ าที่รัฐไม่ปฏิบตั ิหน้ าที่
ตามที่กฎหมายกาหนด ดังนั ้นทางผู้จดั จึงเห็นสมควรที่จะเสนอข้ อกฎหมายโดยอ้ างอิงจากพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้ าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติความรับผิด ทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ (ฉบับที่ ๒๑)
พ.ศ. ๒๕๕๕ มาตรา ๓ (๕๑) กาหนดให้ สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา เป็ นหน่วยงานของรัฐ ตามนัยมาตรา ๔ แห่ง
พระราชบัญญัติความรับผิด ทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เพื่อให้ เจ้ าหน้ าที่ของสานักงานเลขาธิการวุฒิสภาซึ่งปฏิบตั ิ
หน้ าที่โดยสุจริตได้ รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาปรับใช้ เพื่อ
มุ่งเน้ นในเรื่องการเสริมสร้ างให้ ผ้ ใู ต้ บงั คับบัญชามีวินัย และมุ่งเน้ นการ ป้องกันมิให้ ผ้ อู ยู่ใต้ บงั คับบัญชากระทาผิดวินัย

วินัยตามพระราชบัญญัติระเบียบข้ าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551


วินัยข้ าราชการมีความสาคัญทังต่ ้ อตัวข้ าราชการเอง และงานราชการ ผู้บงั คับบัญชาของข้ าราชการจึง มีหน้ าที่ที่ต้อง
เสริมสร้ าง พัฒนาให้ ผ้ ใู ต้ บงั คับบัญชามีวินัย และป้องกันมิให้ ผ้ ใู ต้ บงั คับบัญชากระทาผิดวินัย ตลอดทังด
้ าเนินการทางวินัยแก่ผ้ ู
อยู่ใต้ บงั คับบัญชาเมื่อมีการกระทาผิดวินัย สาหรับสาเหตุของการกระทาผิด วินัยนั ้นมีทงสาเหตุ ั้ ภายนอก เช่นความไม่ร้ ู,งานกับ
คนไม่สมดุลกัน,อบายมุขต่าง ๆ ตัวอย่างไม่ดี,โอกาสเปิ ด ช่องล่อใจ, การปล่อยปละละเลยของผู้บงั คับบัญชา,ความขัดแย้ ง
ระหว่างบุคคล เป็ นต้ น ส่วนสาเหตุภายในเช่น ไม่เข้ าใจ,ตามใจ,ไม่ใส่ใจ,ชะล่าใจ,เผลอใจ,ล่อใจ,ไม่มีจิตใจ,จาใจ,เจ็บใจ,ตังใจ ้
เป็ นต้ น
เมื่อมีการกระทาผิดวินัย จะต้ องมีการลงโทษทางวินัย ตามพ.ร.บ.ระเบียบข้ าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ กาหนด
โทษทางวินัยข้ าราชการพลเรือน ไว้ ๕ สถานคือ

มาตรา 88
(๑) ภาคทัณฑ์
(๒) ตัดเงินเดือน ซึ่งตามกฎ ก.พ.ว่าด้ วยการดาเนินการทางวินัย พ.ศ.๒๕๕๖ กาหนดให้ ตดั เงินเดือน ได้ ครัง้ หนึ่งใน
อัตราร้ อยละ ๒ หรือร้ อยละ ๔ ของเงินเดือนที่ได้ รับในวันที่มีคาสัง่ ลงโทษเป็ นเวลาหนึ่งเดือน สองเดือน หรือสามเดือน
(๓) ลดเงินเดือน ซึ่งตามกฎ ก.พ.ว่าด้ วยการดาเนินการทางวินัย พ.ศ.๒๕๕๖ กาหนดให้ ลดเงินเดือน ได้ ครัง้ หนึ่งใน
อัตราร้ อยละ ๒ หรือร้ อยละ ๔ ของเงินเดือนที่ผ้ นู ั ้นได้ รับในวันที่มีคาสั่งลงโทษ
(๔) ปลดออก
(๕) ไล่ออก
มาตรา ๘๔ ข้ าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดไม่ปฏิบตั ิตามข้ อปฏิบตั ิตามมาตรา ๘๑ และมาตรา ๘๒ หรือฝ่ าฝื นข้ อห้ าม
ตามมาตรา ๘๓ ผู้นั ้น เป็ นผู้กระทาผิดวินัย

พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙

โดยแยกการกระทาละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ออกเป็ น ๒ ประเภท คือ กรณี เจ้ าหน้ าที่กระทาละเมิดต่อบุคคลภายนอก และกรณี
เจ้ าหน้ าที่กระทาละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ
➢ กรณีเจ้ าหน้ าที่กระทาละเมิดต่อบุคคลภายนอก
(๒.๑) แยกความรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ ออกจากการกระทาละเมิดที่มิใช่เป็ นการปฏิบตั ิหน้ าที่ โดย
หากเป็ นการกระทาละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ ที่มิใช่เป็ นการปฏิบตั ิหน้ าที่ เจ้ าหน้ าที่ผ้ นู ั ้นจะต้ องรับผิดเป็ นการส่วนตัว แต่หากเป็ น
การกระทา ของเจ้ าหน้ าที่ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ กฎหมายกาหนดให้ หน่วยงานของรัฐชดใช้ ค่าสินไหมทดแทน ความเสียหายที่
เกิดขึ ้นให้ แก่ผ้ ไู ด้ รับความเสียหายไปก่อน
(๒.๒) กาหนดหลักเกณฑ์ในการที่หน่วยงานของรัฐจะใช้ สิทธิไล่เบี ้ย ให้ เจ้ าหน้ าที่ชดใช้ เงินคืนให้ แก่หน่วยงานของรัฐภาย
หลังจากที่หน่วยงานของรัฐได้ ชดใช้ ค่าสินไหม ทดแทนความเสียหายที่เกิดขึ ้นให้ แก่ผ้ ไู ด้ รับความเสียหายไปก่อน โดยหน่วยงาน
ของรัฐจะใช้ สิทธิ ไล่เบี ้ยโดยเรียกให้ เจ้ าหน้ าที่ผ้ กู ระทาละเมิดชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนคืนให้ แก่หน่วยงานของรัฐได้ เฉพาะเป็ น
การกระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรงเท่านั ้น ส่วนหน่วยงานของรัฐ จะใช้ สิทธิไล่เบี ้ยได้ มากน้ อยเพียงใดนั ้น ก็
จะต้ องคานึงถึงข้ อเท็จจริงเป็ นกรณี ๆ ไป โดยหน่วยงาน ของรัฐไม่จาต้ องเรียกร้ องให้ เจ้ าหน้ าที่ชดใช้ จนเต็มจานวนความ
เสียหาย
(๒.๓) กาหนดหลักเกณฑ์ในการใช้ สิทธิไล่เบี ้ยกรณีการกระทา ละเมิดเกิดขึ ้นจากการกระทาของเจ้ าหน้ าที่หลายคน มิให้ นา
หลักความรับผิดอย่างลูกหนี ้ร่วม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้ โดยเจ้ าหน้ าที่แต่ละคนจะรับผิดเพียงใดนั ้นให้
ขึ ้นอยู่กับ ข้ อเท็จจริงเป็ นกรณีไป โดยหน่วยงานของรัฐไม่จาต้ องได้ รับชดใช้ จนเต็มจานวนความเสียหาย

➢ กรณีเจ้ าหน้ าที่กระทาละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ


กาหนดหลักเกณฑ์ ในการที่หน่วยงานของรัฐจะเรี ยกให้ เจ้ าหน้ าที่ผ้ กู ระทาละเมิดชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนแก่หน่วยงาน ของรัฐ
ได้ แต่เฉพาะกรณีที่เจ้ าหน้ าที่ผ้ นู ั ้นกระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรงเท่านั ้น และในกรณีที่เจ้ าหน้ าที่กระทา
ละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น เมื่อหน่วยงานของรัฐที่ผ้ นู ั ้นสังกัด อยู่ได้ ชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนให้ แก่หน่วยงานของรัฐที่ถูก
กระทาละเมิดแล้ ว หน่วยงานของรัฐที่ผ้ นู ั ้น สังกัดจะใช้ สิทธิไล่เบี ้ยได้ มากน้ อยเพียงใดนั ้นต้ องคานึงถึงข้ อเท็จจริงเป็ นกรณี ๆ ไป
โดยหน่วยงาน ของรัฐไม่จาต้ องเรียกร้ องให้ เจ้ าหน้ าที่ชดใช้ จนเต็มจานวนความเสียหาย
แนวการนามาปรับใช้

ถ้ าเจ้ าหน้ าที่รัฐไม่ปฏิบตั ิหน้ าที่ตามที่กฎหมายกาหนดตามพระราชบัญญัติค้ มุ ครองเด็ก พศ.2546 ควรมีการออกกฏข้ อบัญญัติ


ทางวินัยให้ ชดั เจน ชัดแจ้ ง องค์ประกอบของการกระทาอันเป็ นละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ตามพระราชบัญญัติ ความรับผิดทาง
ละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๕๙ มีอยู่ ๓ ประการคือ
➢ ประการที่หนึ่ง ต้ องมีการกระทาละเมิดเกิดขึ ้น การพิจารณาว่า การกระทาใดเป็ นการกระทาโดยละเมิดหรือไม่นั ้น
จะต้ องพิจารณาตามบทบัญญัติแห่งประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้ วยละเมิด มาตรา ๔๒๐ “ผู้ใดจงใจหรือ
ประมาทเลินเล่อ ทาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้ เขาเสียหายถึงแก่ ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี
ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั ้นทาละเมิดจาต้ องใช้ ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการ นั ้น”
➢ ประการที่สอง ต้ องเป็ นการกระทาละเมิดโดยเจ้ าหน้ าที่ ซึ่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ พ.ศ.
๒๕๓๙ มาตรา ๔ กาหนดบทนิยาม “เจ้ าหน้ าที่” และ “หน่วยงานของรัฐ”
➢ ประการที่สาม ต้ องเป็ นการกระทาในการปฏิบต ั ิหน้ าที่ การกระทา ละเมิดในการปฏิบตั ิหน้ าที่เป็ นกรณีที่กฎหมาย
กาหนดให้ เจ้ าหน้ าที่ของรัฐมีอานาจหน้ าที่อย่างใด อย่างหนึ่ง และการดาเนินการตามอานาจหน้ าที่นั ้นได้ ก่อให้ เกิด
ความเสียหายแก่บุคคลอื่นหรือแก่รัฐ ขึ ้นโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ หน้ าที่อาจเกิดจากระเบียบ ข้ อบังคับ หรือ
คาสัง่ ของผู้บงั คับบัญชา ที่ชอบด้ วยกฎหมายก็ได้ ซึ่งการกระทาหรือละเว้ นการกระทาในหน้ าที่ดงั กล่าว หากก่อให้ เกิด
ความ เสียหายแก่บุคคลอื่นหรือแก่รัฐก็เป็ นการกระทาละเมิดในการปฏิบตั ิหน้ าที่

โดยหากพฤติกรรมของเจ้ าหน้ าที่รัฐเข้ าข่ายตามที่กล่าวมาข้ างต้ นควรมีบทลงโทษทางอาญาตาม พระราชบัญญัติระเบียบ


ข้ าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 และ พระราชบัญญัติความรั บผิด ทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
โดยมีอานาจของผู้บงั คับบัญชาในการลงโทษทางวินัยไม่ร้ายแรง การลงโทษทางวินัยไม่ร้ายแรง พระราชบัญญัติระเบียบ
ข้ าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 กาหนดไว้ ในมาตรา 96 ดังนี ้

“ข้ าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้ ผ้ บู งั คับบัญชาซึ่งมีอานาจสัง่ บรรจุตามมาตรา 57


สัง่ ลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนตามควรแก่กรณีให้ เหมาะสมกับ ความผิด
ในกรณีมีเหตุอนั ควรลดหย่อน จะนามาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได้ แต่สาหรับการลงโทษ ภาคทัณฑ์ให้ ใช้
เฉพาะกรณีกระทาผิดวินัยเล็กน้ อย
ในกรณีกระทาผิดวินัยเล็กน้ อยและมีเหตุอนั ควรงดโทษ จะงดโทษให้ โดยให้ ทาทัณฑ์บนเป็ น หนังสือหรือว่ากล่าว
ตักเตือนก็ได้
การลงโทษตามมาตรานี ้ ผู้บงั คับบัญชาซึ่งมีอานาจสัง่ บรรจุตามมาตรา 57 จะมีอานาจสัง่ ลงโทษผู้ อยู่ใต้ บงั คับบัญชา
ในสถานโทษและอัตราโทษใดได้ เพียงใด ให้ เป็ นไป ตามที่กาหนดในกฎ ก.พ.”

You might also like