You are on page 1of 6

ตะลุยข้อสอบ “ความรู้และลักษณะการเป็ นข้าราชการที่ดี” วิชา พ.ร.บ.

วิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ (จาก e-Book ของสานักงาน ก.พ.)

๑. กฎหมายกลางทีเ่ กีย่ วกับวิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครองเรียกว่าอะไร


๑. พระราชบัญญัตวิ ิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๒๕
๒. พระราชบัญญัตวิ ิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
๓. พระราชบัญญัตปิ กครองกลาง พ.ศ. ๒๕๒๕
๔. พระราชบัญญัตปิ กครองกลาง พ.ศ. ๒๕๓๙
๒. กฎหมายทีเ่ กีย่ วกับวิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครองในต่างประเทศ ได้มี
วิวัฒนาการทีย่ าวนานกว่า ๑๒๐ ปี ประเทศใดทีเ่ ป็ นประเทศแรกทีจ่ ัดทา
กฎหมายดังกล่าว
๑. สหรัฐอเมริกา
๒. เยอรมัน
๓. สเปน
๔. อังกฤษ
๓. เพือ่ เป็ นการอานวยความเป็ นธรรมให้กับประชาชน และป้ องกันทุจริตและ
ประพฤติมิชอบในวงราชการมาตรา ๑๓ กาหนดห้าม “เจ้าหน้าที”่ ทีม่ คี วามไม่
เป็ นกลางกรณีใดบ้างทีจ่ ะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้
๑. เป็ นคู่กรณีเอง
๒. เป็ นคู่หมั้นหรือคู่สมรสของคู่กรณี
๓. เป็ นเจ้าหนีห้ รือลูกหนี้ หรือ เป็ นนายจ้างของคู่กรณี
๔. ถูกทุกข้อ
๔. ในการปฏิบัตหิ น้าทีก่ ารงานของข้าราชการและเจ้าหน้าทีข่ องรัฐส่วนราชการ
กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เพือ่ ให้การบริการประชาชนนั้น
ลักษณะงานส่วนใหญ่ทปี่ ฏิบัตจิ ะเกีย่ วข้องกับภารกิจใด
๑. การดูแลและรักษาความสะอาด
๒. การดูแลและความสะดวกของผู้บังคับบัญชา

1 ติวเฉลยในช่องยูทป
ู พี่แมง ป. พร้อมเก็งข้อสอบให้ดว้ ย ฟรีๆ
๓. การรับส่งหนังสือราชการทางปกครอง
๔. การปฏิบัตริ าชการทางปกครอง
๕. พระราชบัญญัตใิ ดเป็ นการกาหนดขั้นตอนและวิธีการในการพิจารณาทาง
ปกครอง เพือ่ เป็ นเครื่องมือช่วยประกอบการปฏิบัตหิ น้าที่
๑. พระราชบัญญัตวิ ิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง
๒. พระราชบัญญัตกิ ารรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
๓. พระราชบัญญัตสิ ภาองค์กรชุมชน
๔. พระราชบัญญัตกิ ารมาตรฐานแห่งชาติ
๖. ข้อใดมิใช่ความหมายของ “วิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง” ตามมาตรา ๕
๑. การออกคาสั่งทางปกครอง
๒. การป้ องกันทุจริต
๓. การออกกฎ
๔. การดาเนินการใดๆ ในทางปกครอง
๗. ข้อใดหมายถึง “เจ้าหน้าที”่ ผู้ดาเนินการในการปฏิบัตริ าชการทางปกครอง
๑. บุคคลทีเ่ ป็ นข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าทีอ่ งค์การมหาชน หรือ
เจ้าหน้าทีร่ ัฐอื่นๆ ของรัฐ
๒. นิตบิ ุคคลอื่นทีไ่ ด้รับมอบอานาจให้ดาเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตาม
กฎหมาย
๓. คณะบุคคลซึง่ ใช้อานาจทางปกครองตามทีก่ ฎหมายกาหนด
๔. ถูกทุกข้อ
๘. ข้อใดมิใช่องค์ประกอบสาคัญของ “เจ้าหน้าที”่ ซึง่ จะเป็ นผู้ใช้อานาจทาง
ปกครอง

2 ติวเฉลยในช่องยูทป
ู พี่แมง ป. พร้อมเก็งข้อสอบให้ดว้ ย ฟรีๆ
๑. จะต้องเป็ นผู้มีอานาจในเรื่องนั้น
๒. จะต้องเป็ นผู้ได้รับแต่งตัง้ โดยชอบด้วยกฎหมาย
๓. จะต้องเป็ นผู้ทาหน้าทีช่ ัดเจน
๔. จะต้องเป็ นผู้มีความเป็ นกลางในเรื่องนั้น
๙. ข้อใด คือ ความหมายของหลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทาทาง
ปกครอง
๑. กระทาเพราะมีตาแหน่งเป็ นอธิบดีหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
๒. กระทาโดยมีกฎหมายให้อานาจภายในขอบเขตทีก่ ฎหมายกาหนดโดยไม่ขัด
หรือแย้งต่อกฎหมาย
๓. กระทาเพราะมีผู้บังคับบัญชาสั่งให้ทา
๔. กระทาตามความต้องการของประชาชนผู้ขอรับบริการ
๑๐. ข้อใดเป็ นการกระทาทีโ่ ดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
๑. กระทาโดยไม่มีอานาจ
๒. กระทานอกเหนืออานาจหน้าที่
๓. กระทาโดยไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
๔. ถูกทุกข้อ
๑๑. อธิบดีไม่ต่อสัญญาลูกจ้างชั่วคราวทัง้ ทีล่ ูกจ้างผู้นั้นมีคะแนนประเมินสูงกว่า
ลูกจ้างอีกสองคนทีไ่ ด้รับการต่อสัญญาจ้าง กรณีดังกล่าวเป็ นตัวอย่างคดีประเภทใด
๑. คดีอาญาเกีย่ วกับการกระทาของเจ้าหน้าที่
๒. คดีแพ่งเกีย่ วกับการกระทาละเมิดต่อทรัพย์สิน
๓. คดีปกครองเกีย่ วกับหลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทาทาง
ปกครอง
๔. คดีแรงงานเกีย่ วกับการผิดสัญญาจ้าง

3 ติวเฉลยในช่องยูทป
ู พี่แมง ป. พร้อมเก็งข้อสอบให้ดว้ ย ฟรีๆ
๑๒. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของคาสั่งทางปกครอง
๑. เป็ นการกระทาของเจ้าหน้าทีท่ มี่ ีอานาจตามกฎหมาย
๒. เป็ นการใช้อานาจทางปกครองตามกฎหมายในการออกคาสั่ง
๓. เป็ นการกระทาโดยเลือกปฏิบัตติ ่อประชาชน
๔. มีผลกระทบต่อสิทธิหน้าทีข่ องบุคคล
๑๓. องค์ประกอบทีว่ ่ามีผลบังคับใช้เฉพาะกรณีมุ่งชีใ้ ห้เห็นถึงความแตกต่างระหว่าง
เรื่องใดกับเรื่องใด
๑. คาสั่งทางปกครองและกฎ
๒. บทลงโทษและลดโทษ
๓. การโยกย้ายและการเลื่อนตาแหน่ง
๔. คาสั่งทางปกครองและเหตุผลประกอบ
๑๔. รู ปแบบของคาสั่งทางปกครองรู ปแบบใดทีใ่ ช้กันมากทีส่ ุดในการปฏิบัตริ าชการ
ทางปกครอง
๑. คาสั่งด้วยวาจา
๒. คาสั่งเป็ นหนังสือ
๓. คาสั่งจากป้ ายประกาศ
๔. คาสั่งสัญญาณมือหรือนกหวีด
๑๕. การเกิดผลของคาสั่งทางปกครอง มาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง บัญญัตวิ ่าอย่างไร
๑. คาสั่งทางปกครองมีผลใช้ยันต่อบุคคลตัง้ แต่ขณะทีผ่ ู้นั้นได้รับแจ้งคาสั่งเป็ น
ต้นไป
๒. คาสั่งทางปกครองย่อมมีผลตราบเท่าทีย่ ังไม่มีการเพิกถอนหรือสิน้ ผลลง
โดยเงือ่ นไขเวลาหรือเหตุอ่นื
๓. คาสั่งทางปกครองจะสิน้ สุดเมื่อมีเอกสารพยานหลักฐานต่างๆ
๔. คาสั่งทางปกครองจะต้องกระทาโดยเจ้าหน้าทีซ่ งึ่ มีอานาจในเรื่องนั้น
4 ติวเฉลยในช่องยูทป
ู พี่แมง ป. พร้อมเก็งข้อสอบให้ดว้ ย ฟรีๆ
๑๖. พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัตทิ อ้ งถิน่ ระเบียบ
ข้อบังคับ หรือบทบัญญัตอิ ื่นทีม่ ีผลเป็ นการบังคับใช้เป็ นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายให้
ใช้บังคับแก่กรณีใด หรือ บุคคลใดเป็ นการเฉพาะ จากนิยามข้างต้นตรงกับข้อใด
๑. คาสั่งทางปกครอง
๒. บทนิยาม
๓. กฎ
๔. สิทธิข้อกฎหมาย
๑๗. ข้อใดเป็ นกฎหมายลูกบทหรือเป็ นกฎหมายลาดัลรองทีฝ่ ่ ายบริหารออกตาม
พระราชบัญญัตเิ พือ่ ใช้เป็ นกฎเกณฑ์ในทางปฏิบัติ
๑. กฎกระทรวง
๒. พระราชกฤษฎีกา
๓. ข้อบังคับ
๔. ประกาศกระทรวง
๑๘. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของคู่กรณี
๑. ผู้ยนื่ คาขอ
๒. ผู้คัดค้านคาขอ
๓. ผู้พจิ ารณาคดี
๔. ผู้อยู่ในบังคับหรือจะอยู่ในบังคับของคาสั่งทางปกครอง
๑๙. คาสั่งทางปกครองกระทาโดยใคร
๑. ผู้พพ
ิ ากษาเจ้าของคดี
๒. เจ้าหน้าทีซ่ ง่ึ มีอานาจหน้าทีใ่ นเรื่องนั้น
๓. ผู้บังคับบัญชา
๔. คณะกรรมการกฤษฎีกา

5 ติวเฉลยในช่องยูทป
ู พี่แมง ป. พร้อมเก็งข้อสอบให้ดว้ ย ฟรีๆ
๒๐. การอุทธรณ์หรือโต้แย้งคาสั่งทางปกครองทีไ่ ม่มีกฎหมายเฉพาะกาหนดขั้นตอน
และระยะเวลาอุทธรณ์หรือโต้แย้งไว้ตามมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง คู่กรณีจะต้องอุทธรณ์
คาสั่งนั้นภายในกีว่ ันนับตัง้ แต่ได้รับคาสั่งดังกล่าว
๑. ๙๐ ๒. ๖๐ ๓. ๔๐ ๔. ๑๕

6 ติวเฉลยในช่องยูทป
ู พี่แมง ป. พร้อมเก็งข้อสอบให้ดว้ ย ฟรีๆ

You might also like